Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 3

ระบบซังคินโคไทในยุคเอโดะ

อิเอยาสึได้ ทาการปราบปรามแคว้ นต่าง ๆ ทั่วญี่ป่ นุ จนสามารถรวมชาติให้ เป็ นปึ กแผ่นขึ ้นมาได้ หลังจากรวมประเทศ
ได้ สาเร็จ ตระกูลโทกุกาวะก็ได้ สร้ างระบบหนึ่งขึ ้นมาเพื่อป้องกันไม่ให้ เหล่าเจ้ าแคว้ นหรือไดเมียวมีอานาจมากเกินไป จน
สามารถกลับมาทาการแข็งเมืองกับโชกุนได้ อีก ระบบนั ้นเรี ยกว่า "ซังคินโคไต"โดยที่หารู้ไม่ว่าในอนาคตระบบนี ้จะทาให้
อานาจของโชกุนสัน่ คลอนแทนที่จะเข้ มแข็ง
ในระบบซังคินโคไต โชกุนได้ ทาการแบ่งไดเมียวหรือเจ้ าแคว้ นไว้ สามจาพวก พวกแรกเรียกว่า "ชิมปั นไดเมียว"ซึ่งก็คือ
ไดเมียวที่เป็ นญาติพี่น้องกับตระกูลโทกุกาวะ พวกที่สองเรียกว่า"ฟุไดไดเมียว" หรือไดเมียววงใน ซึ่งเป็ นกลุ่มไดเมียวที
ช่วยเหลือตระกูลโทกุกาวะในการรบกับตระกูลโทโยโทมิตอนช่วงท้ ายของยุคเซ็นโกคุ พวกที่สามเรียกว่า"โทซามะไดเมียว"
หรือไดเมียววงนอก ซึ่งก็คือไดเมียวที่ช่วยเหลือตระกูลโทโยโทมิรบกับตระกูลโทกุกาวะ หรือจะว่ากันง่าย ๆ ก็คือตระกูลได
เมียวที่เป็ นปฏิปักษ์ กับตระกูลโชกุน
ระบบซังคินโคไตบัญญิติให้ เหล่าฟุไดไดเมียวและชิมบันไดเมียวครองเมืองที่อยู่ละแวกใกล้ กับเอโดะของโชกุน และส่ง
เหล่าโทซามะไดเมียวไปปกครองเมืองที่ห่างไกลจากโชกุน โดยที่ก็มีฟุไดเมียวบางกลุ่มถูกส่งไปยังดินแดนใกล้ ๆ กับโทซา
มะไดเมียวเพื่อคอยสอดส่องการกระทาของโทซามะไดเมียวแทนโชกุน
นอกจากนี ้เหล่าฟุไดไดเมียวและโทซามะไดเมียวก็ยงั ต้ องสลับกันไปประจากันที่เอโดะปี เว้ นปี ไม่ให้ ขาด ส่วนปี ที่ไม่ได้ ไป
ประจาอยู่ก็ให้ ส่งลูกหลานหรือคนในตระกูลไปเป็ นตัวประกัน
ระบบนี ้มีความพยายามที่บนั่ ทอนสภาพทางเศรษฐกิจของเหล่าไดเมียว (ไม่เว้ นแต่ฟุไดไดเมียวที่ใกล้ ชิดกับโชกุน)
เพราะการที่เหล่าไดเมียวจะเดินทางมายังเอโดะนั ้นก็ต้องใช้ เงินมากมายมหาศาลในการเดินทาง และยังต้ องใช้ เงินสร้ าง
จวนของตนเองในเอโดะอีก นอกจากนีด้ ้ วยความที่ว่าทังเหล่ ้ าไดเมียวและซามูไรที่ติดตามในเอโดะพยายามที่อวดอิทธิฤทธิ์
ต่อกันเพื่อแสดงให้ เห็นว่าใครใหญ่กว่ากัน จึงใช้ เงินมากมายไปในการทากิจกรรมต่าง ๆ ที่บ่งบอกถึงสถาะนะทางสังคมที่
สูงกว่า เช่น การแสดงคาบูกิ และเที่ยวที่อโคจรกับเหล่าเกอิชา
อย่างที่กล่าวไปในตอนที่แล้ วว่าระบบซังคินโคไตหรือระบบตัวประกันถูกคิดค้ นขึ ้นมาเพื่อป้องกันไม่ให้ เหล่าไดเมี ยว
แข็งเมือง และนอกจากนี ้ก็ยงั มีเจตนาที่จะบัน่ ทอนเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของเหล่าไดเมียวด้ วย โดยทาให้ เหล่าไดเมียว
ต้ องเดินทางไปเป็ นตัวประกันที่เอโดะ ซึ่งทาให้ เสียเงินมากมายไปในการเดินทางและการใช้ ชีวิตในเอโดะ
เมื่อต้ องออกเดินทางเหล่าไดเมียวและซามูไรก็ต้องพักผ่อนตามรายทาง ทาให้ ธุรกิจโรงแรมเฟื่ องฟูขึ ้นเป็ นอย่างมาก แต่
อาจจะเกิดปั ญหาในการใช้ จ่ายเล็กน้ อยเพราะแต่ละแคว้ นต่างมีเงินตราเป็ นของตนเอง ฉะนั ้นจึงต้ องเกิดการแลกเปลื่ยน
เงินตราขึ ้น จุด ๆ นี ้เองที่ทาให้ เกิดชนชันพ่
้ อค้ ามากขึ ้น
ในสมัยนั ้นญี่ป่ นุ อยู่ในระบบฟิ วดัล ไดเมียวได้ รับส่วยจากชาวนาซึ่งส่วนใหญ่ก็เป็ นพวกผลิตผลทางการเกษตร
โดยเฉพาะข้ าว ไดเมียวและซามูไรต้ องใช้ ข้าวเป็ นของแลกเปลื่ยนกับเงิน เหล่าพ่อค้ าหัวใสจึงมักจะเอาเปรียบไดเมียวและ
ซามูไรในเรื่องอัตราการแลกเปลื่ยน จนเก็บสะสมความมัง่ คัง่ ขึ ้นเรื่อย ๆ
เหล่าไดเมียวและซามูไรถูกพ่อค้ าเอาเปรียบในเรื่องการแลกเปลื่ยนและการค้ าขาย จนทาให้ ยากจนลง ถึงขนาดที่ว่าต้ อง
ลดค่าใช้ จ่ายที่เกี่ยวกับซามูไรผู้ติดตามลง โดยจ่ายข้ าวให้ แค่ครึ่งเดียว (ในสมัยก่อนสมัยก่อนซามูไรได้ ค่าจ้ างเป็ นข้ าว) จน
เมื่อเหล่าเจ้ านายของซามูไรเสียสถานะถึงขันล้ ้ มละลายก็ทาให้ เกิดโรนินหรือซามูไรไร้ นาย และนอกจากนี ้ก็ยงั มีโรนินบาง
ส่วนผันตัวไปเป็ นพ่อค้ าซะเองด้ วย
เมื่อเหล่าไดเมียวยากจนลงก็ต้องไปหยิบยืมเงินจากเหล่าพ่อค้ าอีกเป็ นวงจรอย่างนี ้เรื่อย ๆ (ส่วนนึงที่ไดเมียวจนลง
เป็ นเพราะเหล่าไดเมียวไม่ปรับตัวตามสภาพเศรษฐกิจของตนเองเพราะเคยชินกับการกินหรูอยู่สบาย) หนัก ๆ เข้ าก็ถึง
ขนาดที่โชกุนยังเป็ นลูกหนี ้ของพ่อค้ า
ชนชันพ่
้ อค้ าก็เริ่มกลายชนชันที
้ ่มีอานาจมากขึ ้นและพยายามเลื่อนสถานะทางสังคมของตนเอง โดยการส่งบุตรหลาน
ให้ ไปเป็ นบุตรบุญธรรมของพวกซามูไร อย่างไรก็ตามยังมีอีกสิ่งหนึ่งที่ขดั ขวางความเจริญของพวกพ่อค้ า นั ้นก็คือนโยบาย
ซะโกกุหรือนโยบายปิ ดประเทศของรัฐบาลโชกุนซึ่งทาให้ เหล่าพ่อค้ าไม่สามารถค้ าขายกับต่างประเทศได้ (อันที่จริงแล้ ว
พ่อค้ าสามารถค้ าขายกับชาวดัชต์ได้ ที่เกาะเดชิม่าแต่นั ้นก็ไม่เพียงพอกับความต้ องการเสียแล้ ว)
ในเวลาต่อมาเหล่าพ่อค้ าจึงเป็ นผู้สนับสนุนให้ ไดเมียวบางแคว้ นล้ มล้ างระบบโชกุนเพื่อที่จะได้ ไม่ขดั ต่อความเจริญ
ของตน และยังมีองค์จกั รพรรดิ์ให้ การสนับสนุนกลาย ๆ อีกด้ วย
ณ ตอนนี ้พ่อค้ ารวมถึงไดเมียวและซามูไรบางส่วนที่ไม่พอใจในระบบโชกุนต่างเป็ นกาลังหลักในการที่จะโค่นล้ ม
ระบบโชกุน แต่ว่าเหล่าไดเมียวที่คิดจะล้ มล้ างระบบโชกุนยังไม่สบโอกาสที่จะก่อการ
แล้ วเหตุการณ์ใดเล่าที่จะเป็ นชนวนที่ทาให้ เกิดการแข็งเมืองต่อโชกุน ?

สภาพเศรษฐกิจญี่ปนหลั ุ่ งสงครามโลกครัง้ ที่สอง-ปั จจุบัน


หลังสงครามโลกครัง้ ที่สอง ญป.ก็ม่งุ พัฒนาการค้ าเต็มที่ เน้ นที่เศรษฐกิจ ทาให้ เศรษฐกิจในตอนนั ้นค่อยๆดีขึ ้น จน
กลายเป็ นประเทศที่มีเศรษฐกิจใหญ่เป็ นอันดับสองของโลก รองจากสหรัฐฯ
ช่วงปี 1970-1980 ไม่ว่ายังไงเศรษฐกิจของญป.ก็ยงั เติบโตขึ ้นเรื่ อยๆ เป็ นประเทศการค้ า , มหาอานาจการส่งออก
1985 การประชุมพลาซ่าแอคคอร์ ด สหรัฐฯขอให้ ญป.แข็งค่าเงินเยน ซึ่งส่งผลกระทบต่อการส่งออก, ค่าแรงสูงขึ ้น,
สินค้ าที่ผลิตในญป.แพงขึ ้น
ช่วงหลังปี 1980 ยุคเฮเซบูม อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเฉลี่ยสูงกว่า 5% ( จากสามเสาศักดิ์สิทธิ์ ) จนได้ รับ
ขนานนามว่า ‘JAPAN AS NUMBER ONE’ ถึงแม้ เศรษฐกิจจะเจริ ญเติบโต แต่ก็เป็ นหนี ้สาธาณะถึง200%
ปี 1988เศรษฐกิจฟองสบู่จากการที่สถาบันจูเซนปล่อยกู้อสังหาฯ และฟองสบู่ได้ แตกเมื่อปี 1991เนื่องจากสถาบัน
การเงินล้ มละลาย , มีหนี ้ที่ไม่ก่อให้ เกิดรายได้ มหาศาล , คนว่างงานจานวนมาก ในตอนนั ้นคนฆ่าตัวตายก็เยอะ กลายเป็ น
จุดเริ่มต้ นของทศวรรศที่สญู หาย
ญี่ป่ นุ ต้ องเจอปั ญหาเศรษฐกิจถึงสามครัง้
ครัง้ แรก 1997 วิกฤตการณ์การเงินของภูมิภาคเอเชีย จากการที่สถาบันทางการเงินล้ มละลาย ทาให้ เกิดการหดตัวทาง
การเงินที่รุนแรง
ครัง้ สอง 2000 ภาวการณ์ถดถอยของสินค้ าเซมิคอนดักเตอร์ ทั่วโลก ทาให้ การส่งออกเครื่องไฟฟ้าลดลง บวกกับปั ญหาเงิน
ฝื ด
ครัง้ สาม 2008 การล้ มละลลายขอธนาคารเพื่อการลงทุน Lehman Brother ยอดการส่งออกรถยนต์ลดลง การลดการ
ผลิตเครื่องจักร ส่งผลให้ เกิดการว่างงานจานวนมาก และปั ญหาสังคม
สาเหตุที่แก้ ปัญหาเศรษฐกิจไม่ได้ เพราะปั ญหาเงินฝื ด การลดขนาดของบริษัท การลดลงของประชากร
แก้ ปัญหาโดย ลูกศร3ดอก ของอดีตนายกฯอาเบะ
เศรษฐกิจปั จจุบนั เป็ นอย่างไร? ตอนนี ้อยู่อนั ดับสาม รองจจากสหรัฐฯและจีน

ระบบการจ้ างงานของญี่ปนหลัุ่ งสงครามโลกครัง้ ที่สอง-ปั จจุบัน


หลังสงครามโลกครัง้ ที่สองเศรษฐกิจของญี่ป่ นุ เติบโตในระดับที่สงู จาก ‘สามเสาศักดิ์สิทธ์’ ; 1.การจ้ างงานตลอดชีพ,
2.การเลื่อนขันแบบอาวุ
้ โส, 3.สหภาพแรงงานในสถานประกอบการ
ที่จ้างงานแบบสามเสา เพราะว่า บริษัทขาดแคลนแรงงานที่มีทกั ษะฝี มือ, ต้ องการพนักงานที่มีความจงรักภักดีอยู่กับ
องค์กรระยะยาวเพื่อขยายกิจการ, ให้ ความสาคัญกับทรัพยากรมนุษย์, เน้ นการสร้ างความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันภายใน
องค์กร
ทฤษฎีตลาดแรงงานภายใน เน้ นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์กลยุทธ์พฒ ั นาคนแบบบูรณาการ ( จบการศึกษา, เข้ า
ทางาน, เกษียณ ) ทาให้ พนักงานเข้ าสู่ตลาดแรงงานเร็ ว ไม่จาเป็ นต้ องเรียนจบสูง
แต่หลังจากที่ญป.เข้ าสู่ยุคเศรษฐกิจตกต่า (1988ภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่) ธรรมเนียมกรจ้ างงานแบบเดิม ก็คือ รับ
สมัครนศ.จบใหม่ปีละครัง้ /ฝึ กอบรมในองค์กร , การจ้ างตามอาวุโส/เลื่อนขันตามอายุ
้ งาน , การจจ้ างงานตลอดชีพ ก็
เปลี่ยนเป็ น การจ้ างงานพนักงานไม่ประจาสูงขึ ้น , ใช้ ระบบค่าจ้ างตามผลงาน , อัตราการเข้ าร่ วมสหภาพแรงงานลดลง
ซึ่งการจ้ างงานพนักงานไม่ประจาเพิ่มขึ ้น ได้ ส่งผลเสียต่อญป. เช่น ต้ องแบกรับความรู้สึกไม่มนั่ คงในชีวิต ความไม่เท่า
เทียม ความจน , อยู่ในสภาพทางานยังไงก็จน , ปั ญหาความเลื่อมล ้าในสังคม
การจ้ างงานปั จจุบนั เป็ นยังไง

อุปสรรคในการทางานนอกบ้ านของผู้หญิงญี่ปนุ่
ตังแต่
้ ปี1986มีพรบ.ความเท่าเทียมกันทางเพศในการจ้ างงาน เพื่อห้ ามกีดกันผญ. แต่ก็แก้ ไขแล้ วใช้ จริงจังในปี 2006
แต่ผญ.ญป.ก็ยงั เจอปั ญหาที่มาจากวัฒนธรรมอนุรักษ์ นิยม ที่ไม่เอื ้อต่อการแบ่งเบาภาระทางบ้ านของผญ.
โดยเฉพาะภาระการเลี ้ยงลูกที่เป็ นหน้ าที่ของผญ. ในขณะที่สถานรับเลี ้ยงเด็กในญป.มีจานวนน้ อย ราคาก็แพง ผญ.
จานวนมากเลยต้ องทิ ้งความก้ าวหน้ าในงาน โดยการลาออกมาเลี ้ยงลูกและทางานบ้ าน
ด้ านทัศนคติของบริษัทที่ถึงแม้ จะยอมลงทุนในการฝึ กอบรมพนักงาน แต่ก็ยงั ติดอยู่ที่ค่านิยมที่ไม่ไว้ วางใจจ้ าง
พนักงานหญิงในระยะยาว เพราะผญ.มักจะลาออกเมื่อแต่งงานหรือมีลกู
ค่าแรงที่ผญ.ได้ น้อยกว่าผช. ในตาแน่งงานเดียวกัน ทาให้ ผญ.ไม่มีแรงจูงใจ และการเลื่อนตาแหน่งผู้บริหารที่
ระดับสูงๆก็เป็ นเรื่องที่ยากมาก
เรื่องของสภาพร่างกาย, ทางานดึกอาจเกิดอันตราย, เรื่องความปลอดภัย, การเดินทางไกลผญ.ดูลาบากมากกว่าผช.

You might also like