Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 5

สาระหน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวิตในสังคม / ครูแมว สายทิพย์

การบริหารการเมืองการปกครองไทยในปัจจุบัน
รัฐธรรมนูญ

อํานาจอธิปไตย

นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ

รัฐสภา รัฐบาล
ศาลรั ฐธรรมนูญ ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง ศาลทหาร
นายกรั ฐมนตรี
สภาผู้แทนราษฎร
ชัÊ นต้ น ชัÊ นต้ น ชัÊ นต้ น
วุฒ ิสภา รัฐมนตรีอืÉนอีกไม่ เกิน 35 อุทธรณ์ สู งสุ ด ศาลทหารกลาง
ฎีกา ศาลทหารสู งสุ ด

ส่ วนกลาง ส่ วนภูมิภาค ส่ วนท้ องถิÉน

กระทรวง จังหวัด รู ปแบบทัวÉ ไป (อบจ., อบต. และเทศบาล) องค์ กรอิสระตามรั ฐธรรมนูญ


อําเภอ กกต.
กรม รู ปแบบพิเศษ (กทม. และเมืองพัทยา)
ผู้ตรวจการแผ่ นดิน
ตําบล ค.ต.ง.
[62]
คณะกรรมการสิ ทธิมนุษยชนแห่ งชาติ
หมู่บ้าน
ป.ป.ช.
สาระหน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวิตในสังคม / ครูแมว สายทิพย์

1. ฝ่ายนิติบัญญัติ 2. ฝ่ายบริหาร
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) คณะรัฐมนตรี (ครม.)
จํานวน 500 คน ตามบทเฉพาะกาล = 250 คน คณะรัฐมนตรีประกอบด้วยบุคคลไม่เกิน 36 คน
หลัง 5 ปี (หลังวุฒิสมาชิกตามบทเฉพาะกาลหมดวาระ) = 200 คน - นายกรัฐมนตรี ซึ่งเป็นหัวหน้าคณะรัฐมนตรี 1 คน
- รัฐมนตรีอื่นนอกจากนายกฯ อีกไม่เกิน 35 คน
ที่มา 1. การเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง - ส.ว. ตามบทเฉพาะกาล (เริ่มวาระ 11 พฤษภาคม 2562 - สิ้นสุดวาระ - ในสถานการณ์การเมืองปกติ เมือ่ มีการเลือกตั้งทั่วไปแล้ว พรรคการเมืองที่มี
จํานวน 350 คน 11 พฤษภาคม 2567) จํานวนมากที่สุดจะได้เป็นแกนนําในการจัดตั้งรัฐบาล
2. สมาชิกซึ่งมาจากบัญชีรายชื่อของ 6 คน+194 คน + 50 คน ที่มาของนายกรัฐมนตรี (ตามรัฐธรรมนูญ ปี พ.ศ. 2560)
พรรคการเมืองจํานวน 150 คน 1. นายกฯ ต้องแต่งตั้งจากบุคคลซึง่ สภาผู้แทนราษฎรให้ความเห็นชอบ โดยสภา
ผู้แทนราษฎรจะพิจารณาจากบุคคลซึ่งมีคณ ุ สมบัติและไม่มลี ักษณะต้องห้ามตามที่
รัฐธรรมนูญกําหนด และเป็นผูม้ ีชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อผู้ที่พรรคการเมืองมีมติเสนอชื่อ
ให้สภาผู้แทนราษฎรพิจารณาให้ความเห็นชอบเป็นนายกรัฐมนตรีไม่เกิน 3 รายชื่อ
ซึ่งพรรคการเมืองแจ้งไว้ต่อคณะกรรมการการเลือกตั้งในการสมัครรับเลือกตั้งทั่วไป
ตาม ม.88 เฉพาะจากบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองที่มสี มาชิกได้รบั เลือกเป็น ส.ส.
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเท่าทีม่ ีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร
- ส.ว. ชุดปกติ 2. การเสนอชื่อผู้สมควรได้รับการแต่งตั้งเป็น นายกฯ เพื่อให้สภาผู้แทนราษฎร
1. มาจากการเลือกกันเองของบุคคลซึ่งมีความรู้ ความเชี่ยวชาญ พิจารณาให้ความเห็นชอบนั้น ต้องมีสมาชิกรับรองไม่น้อยกว่า 1 ใน 10 ของจํานวน
ประสบการณ์ อาชีพ ลักษณะ หรือประโยชน์ร่วมกัน หรือทํางานหรือเคย สมาชิกทั้งหมดเท่าทีม่ ีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร
ทํางานด้านต่างๆ ที่หลากหลายของสังคม ในแต่ละกลุ่มอาชีพ โดยในการ 3. มติของสภาผู้แทนราษฎรที่เห็นชอบการแต่งตั้งบุคคลใดให้เป็นนายกรัฐมนตรี
แบ่งกลุ่มต้องแบ่งในลักษณะที่ทําให้ประชาชนซึ่งมีสิทธิสมัครรับเลือกทุก ต้องกระทําโดยการลงคะแนนโดยเปิดเผย และมีคะแนนเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่งของ
คนสามารถอยู่ในกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งได้ จํานวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร
2. การแบ่งกลุ่ม จํานวนกลุม่ และคุณสมบัติของบุคคลในแต่ละกลุ่ม การ 4. ผู้ทูลเกล้าฯ เพื่อให้ K. ลงพระปรมาภิไธย คือ ประธานสภาผู้แทนราษฎร
สมัครและการรับสมัครการคัดเลือก หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกกันเอง (ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผูล้ งนามรับสนองพระบรมราชโองการ)
การได้รับเลือก ฯลฯ ให้เป็นไปตาม พ.ร.ป. ว่าด้วยการได้มาซึ่งสมาชิก
วุฒิสภา
[63]
สาระหน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวิตในสังคม / ครูแมว สายทิพย์

1. ฝ่ายนิติบัญญัติ 2. ฝ่ายบริหาร
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) คณะรัฐมนตรี (ครม.)
อํานาจ 1. การเสนอและพิจารณากฎหมาย 1. การกลั่นกรองกฎหมาย คณะรัฐมนตรีที่จะเข้าบริหารราชการแผ่นดินต้องแถลงนโยบายต่อรัฐสภา ภายใน 15 วันนับ
หน้าที่ 2. การพิจารณาอนุมัติหรือไม่อนุมัติพระ 2. การพิจารณาอนุมัติหรือไม่อนุมัติพระราชกําหนด แต่วันเข้ารับหน้าที่ ซึ่งแนวนโยบายนั้นต้องสอดคล้องกับหน้าที่ของรัฐ แนวนโยบายแห่งรัฐ และ
ราชกําหนด 3. การเสนอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญร่วมกับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ยุทธศาสตร์ชาติ และต้องชี้แจงแหล่งที่มาของรายได้ที่จะนํามาใช้จา่ ยในการดําเนินนโยบาย โดยไม่
3. การเสนอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ 4. การให้ความเห็นชอบการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ มีการลงมติความไว้วางใจ
4. การให้ความเห็นชอบการแก้ไขเพิ่มเติม 5. การควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน 1. การกําหนดนโยบายในการบริหารราชการแผ่นดินซึ่งต้องสอดคล้องกับหน้าที่ของรัฐ
รัฐธรรมนูญ 6. การให้ความเห็นชอบบุคคลที่จะดํารงตําแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ แนวนโยบายแห่งรัฐ และยุทธศาสตร์ชาติ
5. การควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน 7. การให้ความเห็นชอบบุคคลที่จะดํารงตําแหน่งในองค์กรอิสระ 2. การบริหารราชการแผ่นดินตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ กฎหมายและนโยบายที่แถลงไว้
6. การให้ความเห็นชอบผู้ดํารงตําแหน่ง 8. การยื่นเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยการสิ้นสุดสมาชิกภาพของ ส.ส., ส.ว., ต่อรัฐสภา
นายกรัฐมนตรี กรรมาธิการ ที่เสนอ แปรญัตติ หรือกระทําด้วยประการใดๆ ที่มีผลทําให้มีส่วน 3. การเสนอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ
7. การยื่นเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยการ เกี่ยวข้องกับการใช้งบประมาณ 4. การเสนอร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญและร่างพระราชบัญญัตติ ่อรัฐสภา
สิ้นสุดสมาชิกภาพของ ส.ส. ส.ว. 9. การยื่นเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยการสิ้นสุดสมาชิกภาพของสมาชิกวุฒิสภา 5. การถวายคําแนะนําในการตราพระราชกําหนดในกรณีฉุกเฉินที่มีความจําเป็นรีบด่วนอันมิ
กรรมาธิการ ที่เสนอ แปรญัตติ หรือกระทํา 10. การตราข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา อาจจะหลีกเลี่ยงได้
ด้วยประการใดๆ ที่มีผลทําให้มีสว่ นเกี่ยวข้อง 11. การตราข้อบังคับเกี่ยวกับประมวลจริยธรรมของสมาชิกวุฒิสภาและกรรมาธิการ 6. การถวายคําแนะนําในการตราพระราชกฤษฎีกาโดยไม่ขัดต่อกฎหมาย
กับการใช้งบประมาณ 7. การทําหนังสือสัญญากับต่างประเทศ
8. การยื่นเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยการ หน้าที่และอํานาจของวุฒิสภาตามบทเฉพาะกาล 8. แต่งตั้งคณะกรรมการ เพื่อแก้ไขปรับปรุงกฎหมายในการปฏิรูปด้านกระบวนการยุติธรรม
สิ้นสุดสมาชิกภาพของ ส.ส. นอกเหนือจากหน้าทีแ่ ละอํานาจตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแล้ว ให้วุฒิสภาตาม 9. แต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อดําเนินการศึกษาและจัดทําข้อเสนอแนะและร่างกฎหมายที่
9. การตราข้อบังคับการประชุมสภา บทเฉพาะกาลมีหน้าที่และอํานาจติดตาม เสนอแนะ และเร่งรัดการปฏิรูปประเทศ เกี่ยวข้องในการดําเนินการปฏิรูปด้านการศึกษา
ผู้แทนราษฎร เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามหมวด 16 การปฏิรูปประเทศ และการจัดทําและดําเนินการ
10. การตราข้อบังคับเกี่ยวกับประมวล ตามยุทธศาสตร์ชาติ ในการนี้ ให้คณะรัฐมนตรีแจ้งความคืบหน้าในการดําเนินการตาม
จริยธรรมของสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรและ แผนการปฏิรูปประเทศต่อรัฐสภาเพื่อทราบทุก 3 เดือน
กรรมาธิการ
วาระ - อายุของสภาผู้แทนราษฎรมีกําหนด - วุฒิสภามีกําหนดคราวละ 5 ปีนับแต่วันประกาศผลการเลือกตั้ง - คราวละ 4 ปี
คราวละ 4 ปีนับแต่วันเลือกตั้ง นายกรัฐมนตรีจะดํารงตําแหน่งรวมกันแล้วเกิน 8 ปีมิได้ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นการ
ดํารงตําแหน่งติดต่อกันหรือไม่ แต่มิให้นับรวมระยะเวลาในระหว่างทีอ่ ยู่ปฏิบัติหน้าที่
ต่อไปหลังพ้นจากตําแหน่ง

[65]
สาระหน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวิตในสังคม / ครูแมว สายทิพย์

3. อํานาจตุลาการ
หลักการทั่วไป
1. การพิจารณาพิพากษาอรรถคดีเป็นอํานาจของศาล ซึ่งต้องดําเนินการให้เป็นไปตามกฎหมายและในพระปรมาภิไธย
พระมหากษัตริย์ ผู้พิพากษาและตุลาการย่อมมีอิสระในการพิจารณาอรรถคดีตามรัฐธรรมนูญและกฎหมายให้เป็นไปโดยรวดเร็ว เป็น
ธรรม และปราศจากอคติทั้งปวง
2. การจัดตั้งศาลให้ทําโดยพระราชบัญญัติ การจัดตั้งศาลใหม่หรือกําหนดวิธีพิจารณาเพื่อพิจารณาพิพากษาคดีใดคดีหนึ่งหรือที่
มีข้อหาฐานใดฐานหนึ่งโดยเฉพาะแทนศาลที่มีตามกฎหมายสําหรับพิจารณาพิพากษาคดีนั้นๆ จะกระทําไม่ได้
3. ที่มาโดยการแต่งตั้งของคณะกรรมการตุลาการ (ก.ต.) ไม่ใช่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ทั้งนี้เพื่อมิให้อํานาจบริหาร
ก้าวก่ายอํานาจตุลาการ พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งและให้ผู้พิพากษาและตุลาการพ้นจากตําแหน่งเพราะความตาย เกษียณอายุ ตาม
วาระ หรือพ้นจากราชการเพราะถูกลงโทษ ให้นําความกราบบังคมทูลเพื่อทรงทราบ
4. ผู้พิพากษาและตุลาการต้องถวายสัตย์ปฏิญาณต่อพระมหากษัตริย์ก่อนเข้ารับหน้าที่
5. ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับหน้าที่และอํานาจระหว่างศาลยุติธรรม ศาลปกครอง หรือศาลทหาร ให้คณะกรรมการซึ่ง
ประกอบด้วยประธานศาลฎีกาเป็นประธาน ประธานศาลปกครองสูงสุด หัวหน้าสํานักตุลาการทหาร และผู้ทรงคุณวุฒิอื่นอีกไม่เกิน 4 คน
ตามที่กฎหมายบัญญัติ เป็นกรรมการพิจารณาวินิจฉัยชี้ขาด หลักเกณฑ์และวิธีการชี้ขาดปัญหาเกี่ยวกับหน้าที่และอํานาจระหว่างศาล ให้
เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ
6. ให้ศาลแต่ละศาล ยกเว้นศาลทหาร มีหน่วยงานที่รับผิดชอบงานธุรการที่มีความเป็นอิสระในการบริหารงานบุคคล
การงบประมาณ และการดําเนินการอื่น โดยให้มีหัวหน้าหน่วยงานคนหนึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาขึ้นตรงต่อประธานของแต่ละศาล ตามที่
กฎหมายบัญญัติ
7. ให้ศาลยุติธรรมและศาลปกครองมีระบบเงินเดือนและค่าตอบแทนเป็นการเฉพาะตามความเหมาะสมตามที่กฎหมายบัญญัติ

ประเทศไทยในปัจจุบันใช้ระบบศาลคู่ อันเป็นระบบที่มีศาลหลักในการพิจารณาคดีทั่วไปจํานวนสองศาล คือ ศาลยุติธรรม


และศาลปกครอง

[66]
สาระหน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวิตในสังคม / ครูแมว สายทิพย์

3. ฝ่ายตุลาการ
1. ศาลรัฐธรรมนูญ 2. ศาลยุติธรรม 3. ศาลปกครอง 4. ศาลทหาร
มีอํานาจพิจารณาคดีทั้งปวง ยกเว้นคดีที่ศาลรัฐธรรมนูญ หรือกฎหมายบัญญัติให้อยู่ จําแนกคดีที่อยู่ในอํานาจพิจารณาพิพากษาของศาล เขตอํานาจของศาลทหาร
ในอํานาจของศาลอื่น ซึ่งระบบศาลยุติธรรม แบ่งออกเป็น 3 ชั้น คือ ปกครองได้ 6 ประเภทคดี 1. พิจารณาจากบุคคล
1. ศาลชั้นต้น เป็นศาลที่รบั พิจารณาคดีในเบื้องต้น ทั้งคดีแพ่ง คดีอาญา และคดี 1. คดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หน่วยงานทางปกครองหรือ คนที่ต้องถูกพิจารณาคดีที่ศาลทหาร ก็คือ
พิเศษอื่นๆ เจ้าหน้าที่ของรัฐกระทําการโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย ไม่ ทหาร นักเรียนทหาร พลเรือนที่สงั กัดอยู่ใน
- ศาลแพ่ง - ศาลแพ่งกรุงเทพใต้ ว่าจะเป็นการออกกฎ คําสั่ง หรือการกระทําอื่นใด เช่น ราชการทหาร บุคคลซึ่งอยู่ในความควบคุมของ
- ศาลแพ่งธนบุรี - ศาลอาญา - ศาลอาญากรุงเทพใต้ การฟ้องขอให้เพิกถอนคําสั่งทางปกครองที่ออกโดยไม่มี เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารโดยชอบด้วยกฎหมาย เชลย
- ศาลอาญาธนบุรี - ศาลจังหวัด - ศาลแขวง อํานาจ ศึก
- ศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบ 2. คดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หน่วยงานทางปกครองหรือ
- ศาลชํานัญพิเศษ เจ้าหน้าที่ของรัฐละเลยต่อหน้าที่ตามที่กฎหมาย 2. พิจารณาจากประเภทคดี
*ศาลแรงงาน *ศาลภาษีอากร กําหนดให้ต้องปฏิบัตหิ รือปฏิบตั ิหน้าที่ดังกล่าวล่าช้าเกิน - ความคิดที่กฎหมายทหาร หรือความผิด
*ศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ สมควร อาญาอื่น
*ศาลล้มละลาย 3. คดีพิพาทเกี่ยวกับการทําละเมิดหรือความรับผิดอย่าง - ความผิดอาญาตามบัญชีต่อท้ายกฎอัยการ
*ศาลเยาวชนและครอบครัว อื่นของหน่วยงานทางปกครอง หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐอัน ศึก ในกรณีมีการประกาศใช้กฎอัยการศึกและ
2. ศาลชั้นอุทธรณ์ เป็นศาลที่มีอํานาจพิจารณาคดีที่ฝ่ายโจทก์หรือจําเลยอุทธรณ์ เกิดจากการใช้อํานาจตามกฎหมาย หรือจากกฎ คําสั่ง ประกาศให้คดีบางประเภทอยู่ในอํานาจของศาล
คําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลชั้นต้น ทางปกครอง หรือคําสั่งอื่น หรือจากการละเลยต่อ ทหาร ซึ่งจะมีอํานาจเหนือบุคคลทุกประเภท ทั้ง
- ศาลอุทธรณ์ - ศาลอุทธรณ์ภาค (1-9) หน้าที่ตามที่กฎหมายกําหนดให้ตอ้ งปฏิบัติหรือปฏิบตั ิ พลเรือน และทหาร
- ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ หน้าที่ล่าช้าเกินควร
3. ศาลฎีกา เป็นศาลสูงสุด มีอาํ นาจพิจารณาพิพากษาคดีทฝี่ ่ายโจทก์หรือจําเลยขอ 4. คดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง ลําดับชั้นของศาลทหาร : 3 ชั้น
ฎีกาคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลอุทธรณ์ คําพิพากษาของศาลฎีกาเป็นที่สุด ซึ่งทุก 5. คดีที่กฎหมายให้หน่วยงานทางปกครองหรือ 1. ศาลทหารชั้นต้น
ฝ่ายต้องเคารพและปฏิบตั ิตาม โดยไม่มสี ิทธิที่จะโต้แย้งได้อีก เจ้าหน้าที่ของรัฐฟ้องคดีต่อศาลเพือ่ บังคับให้บุคคลต้อง 2. ศาลทหารกลาง
กระทําหรือละเว้นกระทําอย่างหนึง่ อย่างใด 3. ศาลทหารสูงสุด
แผนกพิเศษในศาลฎีกา
1. แผนกคดีเยาวชนและครอบครัว 2. แผนกคดีแรงงาน 3. แผนกคดีภาษีอากร 6. คดีพิพาทเกี่ยวกับเรื่องที่มีกฎหมายกําหนดให้อยู่ใน
4. แผนกคดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ 5. แผนกคดีล้มละลาย เขตอํานาจศาลปกครอง
6. แผนกคดีอาญาของผูด้ ํารงตําแหน่งทางการเมือง 7. แผนกคดีพาณิชย์และเศรษฐกิจ [67]
8. แผนกคดีสิ่งแวดล้อม 9. แผนกคดีผู้บริโภค 10. แผนกคดีเลือกตั้ง

You might also like