Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 24

คู่มือการปฏิบัตงิ านของเจ้าหน้าที่

เกี่ยวกับพระราชบัญญัติมาตรการกากับและติดตามจับกุมผู้หลบหนีการปล่อยชั่วคราวโดยศาล
พ.ศ. ๒๕๖๐

พระราชบัญญัติมาตรการกากับและติดตามจับกุมผู้หลบหนีการปล่อยชั่วคราวโดยศาล
1
พ.ศ. ๒๕๖๐ .กาหนดให้มีมาตรการกากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวขึ้น โดยมุ่งประสงค์ที่จะเสริมสร้าง
ประสิทธิภาพในการป้องกันการหลบหนีหรือภัยอันตรายหรือความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นในระหว่างที่ผู้ต้องหา
หรือจาเลยได้รับการปล่อยชั่วคราวจากศาล โดยศาลมีอานาจแต่งตั้งผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราว
ให้มีหน้าที่ในการสอดส่องดูแล รับรายงานตัว หรือให้คาปรึกษา เพื่อคอยกาชับหรือตักเตือนให้ผู้ต้องหา
หรือจาเลยปฏิบัติตามเงื่อนไขของศาลอย่างเคร่งครัด หรือให้คาปรึกษาเพื่อปรับเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรม
ของผู้รับคาปรึกษาให้เป็นไปในทางที่ดีขึ้น ซึ่งนอกจากจะทาให้สังคมได้รับความปลอดภัยยิ่งขึ้นแล้ว
ยังมีส่ว นช่ว ยลดความจาเป็นในการเรียกหลักประกันลงด้วย ส่งผลให้ผู้ต้องหาหรือจาเลยที่ยากจน
ซึ่งไม่อาจหาหลักประกันมาวาง ย่อมมีโอกาสที่จะได้รับการปล่อยชั่วคราวเช่นเดียวกับผู้ต้องหาหรือจาเลยอื่น
อันเป็นการลดความเหลื่อมล้าในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมได้อีกทางหนึ่ง ประกอบกับ ได้มีระเบียบ
คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม ว่าด้วยคุณสมบัติ ลักษณะต้องห้าม การแต่งตั้งและการปฏิบัติหน้าที่
ของผู้ ก ากั บดูแลผู้ถู กปล่ อยชั่ วคราว การจ่ายค่าตอบแทนและค่ าใช้ จ่ายของผู้ ก ากั บดูแลผู้ถู กปล่ อยชั่ วคราว
ค่าพาหนะแก่ผู้ถูกปล่อยชั่วคราวที่ยากไร้ เงินสินบนแก่ผู้แจ้งความนาจับ และเงินรางวัลแก่เจ้าหน้าที่ผู้จับ
ผู้ถูกปล่อยชั่ว คราวโดยศาลที่หลบหนี พ.ศ. ๒๕๖๑2 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๔3
กาหนดหลักเกณฑ์เพื่อรองรับการดาเนิ นงานที่ เกี่ ยวข้ อง รวมทั้งได้มี คาแนะนาของประธานศาลีีกาว่ าด้ วย
การใช้มาตรการกากับดูแลในระหว่างปล่อยชั่วคราว พ.ศ. ๒๕๖๔4 เพื่อจัดวางระบบการใช้มาตรการ
กากับดูแลให้มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับหลักการและวัตถุประสงค์ของกีหมาย รวมทั้งส่งเสริมให้มี
การใช้แพร่หลายมากขึ้น
ดังนั้น เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในเรื่องดังกล่าวให้เป็นไปด้วย
ความเรียบร้อยและเป็นไปในแนวทางเดียวกัน สานักกีหมายและวิชาการศาลยุติธรรมได้จัดทาคู่มือการปฏิบัติงาน
ของเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับพระราชบัญญัติมาตรการกากับและติดตามจับกุมผู้หลบหนีการปล่อยชั่วคราวโดยศาล
พ.ศ. ๒๕๖๐ มีรายละเอียดดังนี้

๑. การจัดทาบัญชีรายชื่อบุคคลที่อาจได้รับแต่งตั้งเป็นผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวประจาศาล
สานักงานศาลยุติธรรมได้ทาบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) กับกรมการปกครอง
กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เพื่อขอความร่วมมือในการให้
บุคลากรทาหน้าที่ผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราว โดยการดาเนินงานในขั้นตอนนี้เป็นการเตรียมความพร้อม
ของศาลเพื่อให้ได้มาซึ่งรายชื่อบุคคลที่จะปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวตามคาสั่งศาล
หรือเป็นผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวประจาศาล ในกรณีที่ศาลเห็นว่ามีความจาเป็นต้องมีบุคคลกากับดูแล
ให้ผู้ถูกปล่อยชั่วคราวปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ศาลกาหนด โดยมีขั้นตอนดาเนินงาน ดังนี้

1
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษีีกา เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๙๘ ก วันที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๖๐
2
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษีีกา เล่ม ๑๓๕ ตอนที่ ๗ ก วันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑
3
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษีีกา เล่ม ๑๓๘ ตอนที่ ๑๓ ก วันที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๖๔
4
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษีีกา เล่ม ๑๓๘ ตอนที่ ๓๙ ก วันที่ ๑๑ มิถุนายน ๒๕๖๔
-2-

๑) ผู้รับผิดชอบราชการศาลประสานความร่ วมมือกับฝ่ายปกครอง ได้แก่ ผู้ว่าราชการจังหวัด


นายอาเภอ หรือสานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ในเขตพื้นที่ หรือจัดการประชุม
ร่วมกับหน่วยงานดังกล่าว เพื่อดาเนินการตามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ตามที่สานักงานศาลยุติธรรม
ได้ทาบันทึกข้อตกลงดังกล่าวกับกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษย์ โดยชี้แจงแนวทางปฏิบัติและขอความร่วมมือเกี่ยวกับการกากับดูแลในชั้นปล่อยชั่วคราว
ของศาลยุติธรรม ได้แก่ การช่วยยืนยันข้อมูลเกี่ยวกับประวัติส่วนตัวของผู้ต้องหาหรือจาเลยที่ขอปล่อยชั่วคราว
การช่วยกากับดูแลผู้ต้องหาหรือจาเลยที่ได้รับการปล่อยชั่วคราว และการช่วยเป็นผู้รับรายงานตัวตามกาหนดนัด
ของศาล
นอกจากนี้ ศาลอาจประสานขอความร่วมมือจากหน่วยงานราชการอื่นในพื้นที่ที่มีอาสาสมัคร
เช่น ส านั กงานสาธารณสุขจั งหวัดหรื อส านั กงานคุมประพฤติ เป็ นต้ น ให้ ส่งรายชื่ออาสาสมั ครมาจัดทาเป็ น
บัญชีผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวด้วยก็ได้
ทั้งนี้ เพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปด้วยความรวดเร็ว อาจดาเนินการร่วมกับศาลในเขตจังหวัด
เดียวกันก็ได้ ได้แก่ ศาลจังหวัด ศาลแขวง และศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัด
๒) ศาลมีหนังสือส่งไปยังแต่ละอาเภอและสานักงานพัฒนาสังคมและความมั่น คงของ
มนุษย์จังหวัด เพื่อขอให้จัดส่งข้อมูลส่วนตัวของกานัน ผู้ใหญ่บ้าน อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์ ได้แก่ ชื่อ-สกุล รูปถ่าย ที่อยู่ ช่องทางที่สามารถติดต่อได้โดยสะดวกและรวดเร็ว เช่น หมายเลขโทรศัพท์
ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) บัญชีผู้ใช้แอปพลิเคชัน และประสบการณ์การทางาน เพื่อเป็นข้อมูลประกอบ
การพิจารณาในการขึ้นทะเบียนเป็นผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวประจาศาล ซึ่งตามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ
(MOU) ถือว่าบุคคลดังกล่าวมีความพร้อมและเหมาะสมที่จะปฏิบัติหน้าที่ เป็นผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราว
ในการทาหน้าที่สอดส่องดูแลหรือรับรายงานตัวผู้ถูกปล่อยชั่วคราวตามที่ศาลมอบหมาย
หลังจากนั้นให้มีหนังสือเพื่อแจ้งให้บุคคลนั้นเพื่อทราบว่าตนเองได้รับการขึ้นทะเบียน
เป็นผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวประจาศาล หากมีเหตุขัดข้องขอให้แจ้งศาลทราบภายในเวลาที่ศาลกาหนด
พร้อมกับจัดส่งทะเบียนผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวประจาศาลเพื่อให้ผู้ว่าราชการจังหวัด นายอาเภอ
หรือพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด แล้วแต่กรณี ในฐานะผู้บังคับบัญชาของบุคคลดังกล่าว
ทราบด้วย
๓) ศาลอาจจัดอบรมให้ความรู้แก่บุคคลที่ได้รับการขึ้นบัญชี เพื่อให้ทราบถึงความสาคัญ
ของการเป็นผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวตามคาสั่งศาล หน้าที่และความรับผิดชอบ รวมถึงสิทธิในการได้รับ
ค่าตอบแทนและค่าใช้จ่ายตามระเบียบฯ โดยอาจจัดอบรมผ่านแอปพลิเคชันที่ใช้ประชุมออนไลน์ เช่น
Google Meet หรือ ZOOM พร้อมกับจัดทาสื่อวีดทิ ัศน์เพื่อสามารถศึกษาและรับชมย้อนหลังด้วยก็ได้
ในกรณีศาลจัดอบรมเอง การเชิญกานัน ผู้ใหญ่บ้าน และอาสาสมัครพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษย์เพื่อเข้ารับการอบรม ควรแจ้งให้ผู้ว่าราชการจังหวัด นายอาเภอ พัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด แล้วแต่กรณี ในฐานะผู้บังคับบัญชาของบุคคลดังกล่าวทราบด้วย
ในกรณีศาลเข้าร่วมกับฝ่ายปกครองในวัน เวลา และสถานที่ ซึ่งฝ่ายปกครองจัดประชุม
ผู้นาชุมชน ให้ศาลติดต่อประสานกับฝ่ายปกครองเพื่อทราบวัน เวลา และสถานที่ดังกล่าว สาหรับจัดอบรม
ให้ความรู้แก่กานันและผู้ใหญ่บ้านในคราวเดียวกัน
-3-

ในกรณีศาลเข้าร่วมกับสานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดในวัน เวลา
และสถานที่ซึ่งสานั กงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดจัดประชุมอาสาสมั ครพั ฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์ ให้ศาลติดต่อประสานกับสานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด
เพื่อทราบวัน เวลา และสถานที่ดังกล่าว สาหรับจัดอบรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์ในคราวเดียวกัน
๔) นอกจากผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวในกรณีกานัน ผู้ใหญ่บ้าน และอาสาสมัคร
พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ซึ่งทาหน้าที่สอดส่องดูแลหรือรับรายงานตัว ผู้ถูกปล่อยชั่วคราว
ตามที่กล่าวข้างต้นแล้ว ยังมีผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวที่มีหน้าที่ให้คาปรึกษา ได้แก่ นักจิตวิทยา5
นักสังคมสงเคราะห์ จิตแพทย์ของหน่วยงานของรัฐหรือเอกชน และผู้มีอาชีพดังกล่าวที่เกษียณอายุแล้ว
ซึ่งบุคคลเหล่านี้ไม่ต้องผ่านการอบรม เพราะเป็นผู้มีความเชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ในการให้คาปรึกษา
อยู่แล้ว กับบุคคลที่ผ่านการอบรมการให้คาปรึกษาทางจิตสังคมตามหลักสูตรที่สานักงานศาลยุติธรรม
จัดหรือรับรอง6.นอกจากนี้ มีหน่วยงานที่มีผู้ให้คาปรึกษาทางจิตสังคม เช่น กระทรวงการพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุ ษย์ หรือในภูมิภาค ได้แก่ สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด
เป็นต้น ดังนี้ ศาลอาจจัดทาทะเบียนผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวประจาศาลที่มีหน้าที่ให้คาปรึกษา
ตามวิธีการดาเนินงานที่กล่าวมาข้างต้นด้วยก็ได้

๒. การแต่งตั้งผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวตามคาสั่งศาล
๑) เมื่อผู้ต้องหา จาเลย หรือผู้มีประโยชน์เกี่ยวข้องได้ยื่นคาร้องขอปล่อยชั่วคราว หากศาล
มีคาสั่งอนุญาตให้ปล่อยชั่วคราวโดยกาหนดเงื่อนไขให้ผู้ถูกปล่อยชั่วคราวปฏิบัติเพื่อป้องกันการหลบหนี
หรือภัยอันตรายหรือความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นตามมาตรา ๑๐๘ วรรคสาม แห่งประมวลกีหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา และเห็นว่ามีความจาเป็นต้องมีบุคคลกากับดูแลให้ผู้ถูกปล่อยชั่ว คราวปฏิบัติตามเงื่อนไข
ที่ศาลกาหนด ศาลอาจมีคาสั่งแต่งตั้งบุคคลใดที่มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามระเบียบฯ
เป็นผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราว ทั้งในกรณีที่เป็นการปล่อยชั่วคราวโดยไม่มีประกัน มีประกัน หรือมีประกัน
และหลักประกัน โดยเงื่อนไขที่ศาลอาจกาหนดให้ผู้ถูกปล่อยชั่วคราวปฏิบัติ ตามคาแนะนาของประธานศาลีีกา
ว่าด้วยการใช้มาตรการกากับดูแลในระหว่างปล่อยชั่วคราว พ.ศ. ๒๕๖๔ เช่น

5
การประชุมคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม ครั้งที่ ๖/๒๕๖๓ เมื่อวันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๖๓ มีมติเห็นชอบกับความเห็นของคณะอนุกรรมการ
กลั่นกรองเรื่องเสนอคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม คณะที่ ๓ (ฝ่ายกีหมาย) ว่า ไม่สมควรแต่งตั้งนักจิตวิทยาประจาศาลเป็นผู้กากับดูแล
ผู้ถูกปล่อยชั่วคราว ไม่ว่าจะเป็นการแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ในศาลต้นสังกัดหรือในศาลอื่นก็ตาม เนื่องจากภารกิจหน้าที่ดังกล่าวไม่ เหมาะสมที่จะ
มอบหมายให้แก่ข้าราชการศาลยุติธรรมซึ่งมีภารกิจหน้าที่ตามตาแหน่งงานประจาในศาลยุติธรรมอยู่แล้ว เพราะอาจสร้างความเสียหายหรือส่งผล
กระทบต่อการปฏิบัติงานประจาได้ และขาดคุณสมบัติทางด้านความเหมาะสมที่จะปฏิบัติหน้าที่ผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวตามข้อ ๕ (๒)
6
สานักงานศาลยุติธรรมได้ลงนามบันทึกข้อตกลงว่าด้วยความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระบบการให้คาปรึกษาทางจิตสังคมแก่ผู้ต้องหาคดียาเสพติด
และคดี ความรุ นแรงในครอบครั วในระบบศาลกั บหน่ วยงานภาครั ฐ ได้ แก่ กรมสุ ขภาพจิ ต กรมคุ มประพฤติ ส านั กงานกิ จการสตรี และสถาบั นครอบครั ว
สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) พัฒนาหลักสูตร
“การอบรมการให้คาปรึกษาทางจิตสังคม” โดยมีสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เป็นผู้จัดการอบรม โดยใช้วิทยากรจาก
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข โดยผู้เข้ารับการอบรมต้องผ่านการทดสอบจึงจะได้รับประกาศนียบัตร ปัจจุบันมีศาลยุติธรรมบางแห่งได้ดาเนิน
โครงการคลินิ กการให้ ค าปรึ กษาด้ านจิ ตสั งคม เช่ น ศาลอาญาธนบุ รี ศาลจั งหวั ดนนทบุ รี ศาลจั งหวั ดเชี ยงใหม่ ศาลจั งหวั ดปทุ มธานี ศาลอาญาตลิ่ งชั น
ศาลอาญากรุงเทพใต้ เป็ นต้น ซึ่งสานักงานศาลยุติธรรมได้รับรองหลักสูตรดังกล่าวแล้ว ดังนั้น ผู้ให้คาปรึกษาทางจิ ตสังคมที่ผ่านการอบรมและได้ขึ้นทะเบี ยน
กับศาลดังกล่าว สามารถทาหน้าที่ให้คาปรึกษาทางจิตสังคมได้ และศาลยุติธรรมอื่นที่ไม่ได้จัดให้มีโครงการคลินิกการให้คา ปรึกษาทางจิตสังคม
สามารถขอใช้บัญชีผู้ผ่านการอบรมและขึ้นทะเบียนเป็นผู้ให้คาปรึกษากับศาลดังกล่าวได้ โดยถือว่าเป็นผู้สมัครใจ มีความพร้อมและเหมาะสม ที่จะ
ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ศาลมอบหมาย
-4-

- ให้มาศาลตามกาหนดนัด
- ห้ามยุ่งเหยิงกับพยานหลักฐาน
- ห้ามเดินทางออกนอกประเทศหรือออกนอกพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง
- ห้ามพบหรือเข้าใกล้ผู้เสียหาย
- ห้ามออกจากที่อยู่อาศัย
- การเปลี่ยนแปลงหรือย้ายที่อยู่อาศัยต้องแจ้งให้ศาลทราบ
- ห้ามเข้าไปในสถานที่บางแห่ง
- ห้ามคบหาสมาคมกับบุคคลบางประเภท
- ให้รายงานตัวต่อผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวหรือบุคคลที่ศาลกาหนด
- ให้เข้ารับคาปรึกษาหรือการบาบัดรักษาความบกพร่องทางร่างกายหรือจิตใจ
- ให้เข้ารับการตรวจร่างกายเพื่อหาสารเสพติด
- ห้ามทากิจกรรมหรือประกอบอาชีพบางอย่าง
- ห้ามพกพาอาวุธปืน
- ห้ามกระทาการตามที่ถูกกล่าวหาหรือฟ้องร้อง
ทั้งนี้ ผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวที่ศาลแต่งตั้งอาจมีคนเดียวหรือหลายคนก็ได้ โดยคานึงถึงความจาเป็น
และความเหมาะสม7
อนึ่ง นอกจากศาลเห็นว่ามีความจาเป็นต้องมีบุคคลกากับดูแลให้ผู้ต้องหาหรือจาเลยปฏิบัติ
ตามเงื่อนไขที่ศาลกาหนดแล้ว ผู้ต้องหาหรือจาเลยเองก็อาจเสนอขอให้ศาลแต่งตั้งผู้กากับดูแลตนมาในคาร้อง
ขอปล่ อยชั่ วคราวและอาจเสนอตั วบุ คคลที่ จะขอให้ ศาลแต่ งตั้งเป็ นผู้ก ากั บดู แลมาด้ วยก็ ได้ หากศาลเห็ นว่ า
เป็นกรณีที่พึงมีผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวอาจไต่สวนเพื่อให้มีข้อมูลในการแต่งตั้งบุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัติ
ที่เหมาะสมจะปฏิบัติหน้าที่และไม่เข้าลักษณะต้องห้ามตามระเบียบฯ ก็ได้
๒) ในกรณีที่ศาลเห็นว่ามีความจาเป็นต้องมีบุคคลกากับดูแลให้ผู้ถูกปล่อยชั่วคราวปฏิบัติ
ตามเงื่อนไขที่ศาลกาหนดดังกล่าว ให้เจ้าหน้าที่ติดต่อประสานไปยังบุคคลที่ได้รับการขึ้นทะเบียนฯ ตามช่องทาง
ที่แจ้งไว้ เช่น หมายเลขโทรศัพท์ ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) แอปพลิเคชัน LINE เป็นต้น หรือบุคคลอื่น
ที่อาจมิ ได้อยู่ ในบั ญชี รายชื่ อเป็ นผู้ ก ากับดู แลผู้ ถูกปล่อยชั่วคราวประจาศาลแต่ ศาลเห็ นว่ามี ความเหมาะสม
หรือบุคคลซึ่งผู้ต้องหาหรือจาเลยเสนอต่อศาลก็ได้ เช่น ครู อาจารย์ แล้วแต่กรณี และในกรณีที่มีความจาเป็น
จะแต่งตั้งบุคคลซึ่งไม่อยู่ในเขตศาลเป็นผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราว ก็อาจประสานไปยังบุคคลดังกล่าวเอง
โดยตรงหรือให้ศาลที่บุคคลดังกล่าวมีภูมิลาเนาอยู่ในเขตของศาลนั้นประสานงานให้ก็ได้8
มีข้อสังเกตว่า บิดามารดาหรือผู้ปกครองของเด็กหรือเยาวชนซึ่งรับมอบตัวเด็กหรือเยาวชน
ไปในการปล่อยชั่วคราวตามคาสั่งศาลตามมาตรา ๑๒๖ แห่งพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและ
วิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ เป็นกรณีที่บิดามารดาหรือผู้ปกครองต้องรับมอบตัวเด็ก
หรือเยาวชนไปเพื่อสอดส่องดูแลในระหว่างที่ได้รับการปล่อยชั่วคราวมิให้มีการหลบหนีหรือก่อภัยอันตรายขึ้น
ซึ่งเป็นบทบาทหน้าที่เดียวกับผู้ประกัน จึงต้องด้วยลักษณะทานองเดียวกับการเป็นผู้ประกันซึ่งต้องห้าม
เป็นผู้กากับดูแลตามระเบียบฯ ข้อ ๖ (๒) จึงไม่สามารถได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราว
และไม่สามารถเบิกค่าตอบแทนหรือค่าใช้จ่ายได้

7
ระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมฯ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๔ ข้อ 7 วรรคสอง
8
คาแนะนาของประธานศาลีีกาว่าด้วยการใช้มาตรการกากับดูแลในระหว่างปล่อยชั่วคราว พ.ศ. ๒๕๖๔ ข้อ ๙ วรรคสอง
-5-

๓) หากผู้ต้องหาหรือจาเลยไม่มีภูมิลาเนาในท้องที่ของศาล ในการแต่งตั้งผู้กากับดูแล
ผู้ถูกปล่อยชั่วคราว ศาลอาจประสานขอรายชื่อผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวจากศาลที่ผู้ต้องหาหรือจาเลย
มีภูมิลาเนาแล้วติดต่อประสานไปยังผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวโดยตรงก็ได้
๔) ให้เจ้าหน้าที่สอบถามข้อมูลจากบุคคลที่ได้รับการขึ้นทะเบียนฯ เกี่ยวกับประวัติหรือ
ความประพฤติของผู้ต้องหาหรือจาเลย และแจ้งข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับพฤติการณ์แห่งการกระทา
ความผิดที่ถูกกล่าวหา พร้อมกับสอบถามความยินยอมในการที่ศาลจะแต่งตั้งเป็นผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราว
สาหรับผู้ต้องหาหรือจาเลยรายนี้ หากไม่ได้รับความยินยอม ให้บันทึกเหตุผลไว้และเสนอศาล ทั้งนี้ ตามระเบียบฯ
ได้กาหนดคุณสมบัติของผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราว ว่าต้องเป็นผู้สมัครใจและมีความพร้อมและเหมาะสม
ที่จะปฏิบัติหน้ าที่ตามที่ศาลมอบหมาย9 ซึ่งจะต้องพิจารณาเป็นกรณีไป ดังนั้น ก่ อนการแต่งตั้งผู้กากับดูแล
ผู้ ถู กปล่ อยชั่ วคราวแต่ ละราย พึ งสอบถามความยิ นยอมสมั ครใจและความพร้ อมในการท าหน้ าที่ ก ากั บดู แล
ผู้ถูกปล่อยชั่วคราวแต่ละรายก่อนเสมอ
ในกรณี ที่ ต้ อ งมี ก ารส่ ง ค าร้ อ งขอปล่ อ ยชั่ ว คราวไปยั ง ศาลชั้ น อุ ท ธรณ์ ห รื อ ศาลีี ก า
ศาลชั้นต้นควรสอบถามความสมัครใจของบุคคลที่อยู่ในข่ายที่อาจได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้กากับดูแลไว้ล่วงหน้า
และรายงานให้ศาลชั้นอุทธรณ์หรือศาลีีกาทราบ เพื่อป้องกันการเกิดปัญหาที่ศาลชั้นต้นไม่สามารถตั้ง
ผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวตามคาสั่งของศาลชั้นอุทธรณ์หรือศาลีีกาได้ในวันที่มีคาสั่ง
๕) ในกรณีที่บุคคลนั้นยินยอมเป็นผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราว ให้เจ้าหน้าที่จัดทารายงาน
ข้อมูลที่ได้จากการสอบถามเสนอศาลพิจารณา เมื่อศาลมีคาสั่งแต่งตั้งเป็นผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวแล้ว
ให้จัดเก็บรายงานดังกล่าวไว้ในซองปิดผนึกรวมไว้ในสานวน หลังจากนั้นให้แจ้งคาสั่งศาลให้บุคคลที่จะได้รับ
การแต่ งตั้งทราบเบื้องต้ นโดยทางโทรศัพท์ สื่ออิ เล็กทรอนิกส์ หรื อวิธีการอื่นใด และมีหนั งสือแจ้งคาสั่งศาล
ไปยังบุคคลนั้ น พร้อมกับรายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติหน้าที่ การรายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ การขอรับ
ค่าตอบแทนและค่าใช้จ่ายตามระเบียบฯ และแบบเอกสารคาร้องที่เกี่ยวข้อง ปรากฏตามเอกสารแนบท้ายคู่มือฯ
๖) ในกรณีที่บุคคลนั้นไม่ยินยอมเป็นผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราว เช่น เห็นว่ามีพฤติการณ์รนุ แรง
หรือไม่รู้จักผู้ต้องหาหรือจาเลย เป็นต้น ให้ติดต่อประสานไปยังบุคคลที่ขึ้นทะเบียนฯ รายอื่น โดยดาเนินการ
ตามข้อ ๔) และข้อ ๕)
หากยังไม่มีบุคคลใดยินยอมเป็นผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวสาหรับผู้ต้องหาหรือจาเลยรายนี้
ให้ติดต่อประสานไปยังอาสาสมัครคุมประพฤติ โดยรายชื่อได้จากการมีหนังสือขอความอนุเคราะห์รายชือ่
ไปยังสานั กงานคุมประพฤติ เพื่อให้ข้อมูลและสอบถามความยินยอมในการที่ศาลจะแต่งตั้งเป็นผู้กากับดูแล
ผู้ถูกปล่อยชั่วคราว เมื่อได้รับความยินยอมแล้ว ก็ให้ดาเนินการตามวิธีการที่กล่าวข้างต้น
๗) ในกรณีที่มีการส่งคาร้องขอปล่อยชั่วคราวไปยังศาลชั้นอุทธรณ์หรือศาลีีกา และ
ศาลชั้ น อุท ธรณ์ ห รือ ศาลีีกามีคาสั่งอนุญาตให้ ปล่อยชั่วคราวโดยให้ศ าลชั้ นต้น แต่ง ตั้งผู้ กากั บดูแ ล
ผู้ถูกปล่อยชั่วคราว ให้ศาลชั้นต้นดาเนินการแต่งตั้งผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราว10 ตามวิธีการที่กล่าวข้างต้น
ทั้งนี้ ถ้ามีเหตุขัดข้องที่ศาลชั้นต้นยังไม่สามารถแต่งตั้งผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวได้ เช่น ศาลชั้นต้น
ยังไม่สามารถติดต่อบุคคลที่เหมาะสมหรือยินยอมที่จะเป็นผู้กากับดูแล เช่นนี้ย่อมไม่เป็นเหตุขัดข้องในการ
ปล่อยชั่วคราว แต่ต้องดาเนินการแต่งตั้งผู้กากับดูแลให้เสร็จสิ้นโดยเร็ว และรายงานเหตุขัดข้องให้ศาลชั้นอุทธรณ์

9
ระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมฯ พ.ศ. ๒๕๖๑ ข้อ ๔ (๒) และข้อ ๕ (๒)
10
ระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมฯ พ.ศ. ๒๕๖๑ ข้อ 10
-6-

หรือศาลีีกาทราบ หากพฤติการณ์เป็นที่เห็นได้ว่าไม่สามารถแต่งตั้งผู้กากับดูแลได้อย่างแน่นอน เจ้าหน้าที่ต้อง


รายงานผู้พิพากษาทราบโดยเร็ว เพราะศาลชั้นต้นต้องรายงานให้ศาลชั้นอุทธรณ์หรือศาลีีกาทราบเพื่อพิจารณาสั่ง
เกี่ยวกับเงื่อนไขการปล่อยชั่วคราวต่อไป

๓. การปฏิบัติหน้าที่ของผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราว
ศาลอาจสั่ ง ให้ ผู้ ก ากั บ ดู แ ลผู้ ถู ก ปล่ อ ยชั่ ว คราวมี ห น้ า ที่ เ พี ย งอย่ า งหนึ่ ง อย่ า งใดหรื อ
11
ทั้งหมดก็ได้ ได้แก่
๑) หน้าที่สอดส่องดูแล ในกรณีที่ศาลกาหนดเงื่อนไขในการปล่อยชั่วคราวให้ผู้ถูกปล่อยชั่วคราว
ต้องปฏิบัติ เช่น ห้ามออกนอกราชอาณาจักร ห้ามออกนอกเขตอาเภอ/จังหวัด ห้ามไปยุ่งเกี่ยวหรือมั่วสุมกับ
ผู้มีพฤติการณ์เกี่ยวข้องกับยาเสพติด หรือห้ามออกนอกบ้านในเวลากลางคืน เป็นต้น เป็นภารกิจที่มีความเสี่ยง
และยุ่งยากมากกว่าหน้าที่รับรายงานตัว โดยต้องคอยกาชับหรือตักเตือนให้ผู้ถูกปล่อยชั่วคราวปฏิบตั ติ าม
เงื่อนไขของศาลอย่างเคร่งครัด และคอยสอดส่องพฤติกรรมว่าปฏิบัติตามเงื่อนไขของศาลครบถ้วนหรือไม่
ถ้าพบพฤติกรรมที่เสี่ยงจะผิดเงื่อนไขของศาล สามารถเข้าไปแนะนาตักเตือนได้ และถ้าพบพฤติกรรม
อันควรสงสั ยว่ าเป็ นการผิ ดเงื่ อนไข จะต้ องแจ้งให้ เจ้าหน้าที่ทราบโดยเร็ วตามช่องทางสื่ อสารที่ ตกลงกันไว้
เช่น โทรศัพท์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ แอปพลิเคชัน LINE.เป็นต้น และให้เจ้าหน้าที่จัดทารายงานเสนอศาล
เพื่อพิจารณาสั่งตามเห็นสมควรต่อไป
๒) หน้ าที่รั บรายงานตั ว ในกรณีที่ ศาลก าหนดเงื่ อนไขให้ ผู้ถู กปล่อยชั่ วคราวต้ องรายงานตั ว
เป็นระยะเพื่ อป้องกันการหลบหนี โดยรับรายงานตัว ณ สถานที่ตามวั นเวลาที่ ศาลกาหนดให้มารายงานตั ว
เช่น สถานที่ทาการของกานัน ผู้ใหญ่บ้าน หรือสานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด
แล้วแต่กรณี โดยให้บันทึกข้อมูลลงในแบบการรับรายงานตัวผู้ถูกปล่อยชั่วคราว พร้อมทั้งถ่ายรูปผู้กากับดูแล
ผู้ถูกปล่อยชั่วคราวและผู้ถูกปล่อยชั่วคราวคู่กับใบลงชื่อรายงานตัวเพื่อเป็นหลักฐานว่าได้มีการรับรายงานตัว
เป็นที่เรียบร้ อยแล้ ว และส่งรายงานผลการปฏิ บัติหน้าที่ต่อเจ้าหน้าที่ศาลทราบทุกครั้งตามช่องทางสื่อสาร
ที่ตกลงกันไว้ ในกรณีที่ผู้ถูกปล่อยชั่วคราวไม่มารายงานตัวตามวันเวลาที่กาหนดและไม่ได้แจ้งเหตุขัดข้อง
ให้ทราบ จะต้องแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบโดยเร็วตามช่องทางสื่อสารที่ตกลงกันไว้ดังกล่าว และให้เจ้าหน้าที่
จัดทารายงานเสนอศาลเพื่อพิจารณาสั่งตามเห็นสมควรต่อไป
๓) หน้ าที่ ให้ ค าปรึ กษา มี หน้ าที่ สั มภาษณ์ ให้ ความช่ วยเหลื อเพื่ อปรั บเปลี่ ยนพฤติ กรรม
ของผู้ รั บค าปรึ กษาเปลี่ ยนแปลงในทางที่ ดี ขึ้ น โดยการให้ ค าปรึ กษาเป็ นรายครั้ ง ถ้ าพบว่ าการให้ ค าปรึ กษา
ครั้งใดไม่มีความก้าวหน้าหรือผู้ถูกปล่อยชั่วคราวมีแนวโน้มที่จะหลบหนี กระทาความผิดหรือก่อเหตุร้าย
จะต้องแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบโดยเร็วตามช่องทางสื่อสารที่ตกลงกันไว้ และให้เจ้าหน้าที่จัดทารายงาน
เสนอศาลเพื่อพิจารณาสั่งตามเห็นสมควรต่อไป
อนึ่ง ในกรณีที่ผู้ถูกปล่อยชั่วคราวมีพฤติการณ์ที่จะหลบหนีหรือได้หลบหนี เช่น ไม่มารายงานตัว
ตามวันเวลาที่กาหนดและไม่ได้แจ้งเหตุขัดข้องให้ทราบ และศาลใช้ดุลพินิจมีคาสั่งให้ออกหมายจับ ให้เจ้าหน้าที่
ดาเนินการตามหนังสือสานักงานศาลยุติธรรม ด่วนที่สุด ที่ ศย ๐๑๖/ว ๕๙ ลงวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๖๒
เรื่อง ประกาศสานักงานศาลยุติธรรม เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการดาเนินงานเกี่ยวกับหมายจับผ่านระบบ

11
ระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมฯ พ.ศ. ๒๕๖๑ ข้อ 8
-7-

อิเล็กทรอนิกส์ (AWIS)12 และหนังสือสานักงานศาลยุติธรรม ที่ ศย ๐๒๕/ว ๘๑ (ป) ลงวันที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๖๒


เรื่อง แนวทางปฏิบัติงานออกหมายจับผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (AWIS) กล่าวคือ
(๑) ในกรณีที่ผู้พิพากษาออกหมายจับเอง เช่น จาเลยหลบหนีในระหว่างปล่อยชั่วคราว
หรือไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขคุมความประพฤติ เมื่อได้มีคาสั่งออกหมายจับแล้ว ให้เจ้าหน้าที่ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้อง
กับการออกหมายจับดาเนินการตามคาสั่ง โดยบันทึกข้อมูลและพิมพ์หมายจับในระบบ AWIS แล้วเสนอ
ผู้พิพากษาลงลายมือชื่อ
(๒) ให้เจ้าหน้าที่สแกนหมายจับเป็นไฟล์ PDF และอัปโหลดลงระบบ AWIS
- ถ้าจาเลยหรือบุคคลที่จะถูกจับมีภูมิลาเนาหรือถิ่นที่อยู่ในกรุงเทพมหานคร ให้ส่งหมายจับ
ไปยังผู้บัญชาการตารวจนครบาล หากอยู่ในต่างจังหวัด ให้ส่งหมายจับไปยังผู้บังคับการตารวจภูธรจังหวัดนั้น ๆ
และจะส่งหมายจับไปให้หัวหน้าส่วนราชการอื่นที่เกี่ยวข้องด้วยก็ได้ โดยมีหนังสือนาส่งแยกส่งถึงหัวหน้าแต่ละ
ส่วนราชการ เช่น ผู้บังคับการกองทะเบียนประวัติอาชญากร คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
- แจ้งคาสั่งศาลและส่งหมายจับไปยังเจ้าพนักงานศาลที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ดาเนินการ
ตามอานาจหน้าที่ในส่วนที่เกี่ยวข้องตามกีหมายต่อไป13
(๓) การรายงานการปฏิบัติตามหมายจับกรณีเจ้าพนักงานจับบุคคลตามหมายจับได้แล้ว
เมื่อผู้พิพากษาสอบบุคคลผู้ถูกออกหมายจับว่าเป็นบุคคลตามหมายจับจริง ให้เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล
การจับกุมในระบบ AWIS โดยให้หัวหน้าส่วนงานและผู้อานวยการฯ กากับดูแลให้มีการบันทึกข้อมูล
การจับกุมดังกล่าวให้ข้อมูลเป็นปัจจุบัน
(๔) ในกรณีผู้พิพากษามีคาสั่งเพิกถอนหมายจับ ให้เจ้าหน้าที่แก้ไขข้อมูลในระบบ AWIS
โดยต้องระบุเหตุผลในการเพิกถอนหมายจับ และแจ้งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ

๔. การขอรับค่าตอบแทนและค่าใช้จ่ายของผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราว
๑) เมื่อผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวได้ปฏิบัติหน้าที่จนเสร็จสิ้น หรือที่ได้ปฏิบัติหน้าที่
ตามสมควรแก่กรณีแม้ผู้ถูกปล่อยชั่วคราวหลบหนีหรือไปก่อภัยอันตรายหรือความเสียหายขึ้น ให้มีสิทธิ
ได้รับค่าตอบแทนและค่าใช้จ่ายตามหลักเกณฑ์และอัตราที่กาหนด โดยให้ ยื่นคาร้องต่อศาลชั้นต้นที่ได้ออก
หมายปล่อยภายในสามสิบวันนับแต่วันที่เสร็จสิ้นการปฏิบัติหน้าที่หรือวันที่ได้รับแจ้งจากศาล และให้
ศาลมีอานาจสั่งจ่ายค่าตอบแทนแก่ผู้มีสิทธิรับเงินตามที่เห็นสมควร14
คาว่า “ปฏิบัติหน้ าที่จนเสร็จสิ้น" เป็นไปตามหลักการปล่อยชั่วคราวตามประมวลกีหมาย
วิธีพิจารณาความอาญา ผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวมีสิทธิได้ค่าตอบแทนในทุกชั้นของการดาเนินคดี
ในชั้นศาล เช่น ชั้นฝากขังระหว่างสอบสวน ชั้นพิจารณา ชั้นอุทธรณ์ หรือชั้นีีกา ทั้งนี้ ในชั้นฝากขัง

12
ระบบงานฐานข้อมูลหมายจับ (Arrest Warrant Information System : AWIS)
13
พระราชบัญญัติเจ้าพนักงานตารวจศาล พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๕ เจ้าพนักงานตารวจศาลมีหน้าที่และอานาจ ดังต่อไปนี้
...
(๔) ปฏิบัติตามคาสั่งศาลในการแจ้ งให้พ นัก งานฝ่ายปกครองหรือ ตารวจจั บผู้ต้อ งหาหรือจ าเลยที่ได้รับการปล่อ ยชั่วคราวโดยศาลแล้ว หนี
หรือจะหลบหนี หรือถ้ามีเหตุจาเป็นที่ไม่สามารถขอความช่วยเหลือจากพนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจได้ทันท่วงที ก็ให้มีอานาจจับผู้ต้องหาหรือ
จาเลยนั้นได้ และเมื่อจับได้แล้ว ให้นาผู้ถูกจับไปยังศาลโดยเร็ว
(๕) เมื่อศาลได้ออกหมายจับผู้ที่ไม่ปฏิบัติตามหมายเรียกหรือคาสั่งศาล ให้ศาลมีคาสั่งตั้งเจ้าพนักงานตารวจศาลเป็นผู้จัดการตามหมายจับ และ
หากศาลเห็นสมควร ศาลอาจให้พนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจเป็นผู้จัดการตามหมายจับด้วยโดยมีเจ้าพนักงานตารวจศาลเป็ นผู้สนับสนุนก็ได้
14
พระราชบัญญัติมาตรการกากับและติดตามจับกุมผู้หลบหนีการปล่อยชั่วคราวโดยศาล พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๖ และระเบียบคณะกรรมการบริหาร
ศาลยุติธรรมฯ พ.ศ. ๒๕๖๑ ข้อ ๑๑ ข้อ ๑๒
-8-

การปฏิบัติหน้าที่เสร็จสิ้นเมื่อมีการยื่นฟ้องต่อศาลหรือพนักงานอัยการมีคาสั่งไม่ฟ้อง ส่วนในชั้นพิจารณา
การปฏิบัติหน้าที่ของผู้กากับดูแลเสร็จสิ้นเมื่อศาลมีคาพิพากษา หรือคาสั่งจาหน่ายคดี
หากการปล่ อยชั่วคราวสิ้นสุดลงซึ่งเป็นผลให้การกากับดูแลยุติไปในตั วก่อนครบก าหนดเวลา
ที่ศาลนัดหมายไว้กับผู้กากับดูแล เช่น ในชั้นฝากขัง พนักงานอัยการมีคาสั่ง ฟ้องหรือไม่ฟ้องผู้ต้องหา
ก่อนครบกาหนดฝากขัง เจ้าหน้าที่ศาลต้องแจ้งให้ผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวทราบด้วย เพื่อให้ดาเนินการ
ยื่น คาขอรับค่าตอบแทนและค่าใช้จ่าย ในกรณีเช่นนี้ระยะเวลาในการยื่นคาร้องขอรับค่าตอบแทน
เริ่มนับแต่วันที่ผู้กากับดูแลได้รับแจ้งจากศาล
ส่วนความว่า “...หรือวันที่ได้รับแจ้งจากศาล” หมายถึง แจ้งให้ทราบว่าการกากับดูแลสิ้นสุด
เช่น ผู้ถูกปล่อยชั่วคราวหลบหนีหรือผิดเงื่อนไขจนศาลยกเลิกคาสั่งอนุญาตให้ปล่อยชั่วคราว เป็นกรณี
มีการนาตัวผู้ถูกปล่อยชั่วคราวมาส่งศาลแล้วศาลออกหมายขังหรือกรณีที่ศาลเห็นว่าไม่ควรปล่อยชัว่ คราว
ต่อไปอี ก ไม่ ว่ าด้ วยเหตุ ใดก็ ตาม หรือพนักงานอัยการฟ้องจาเลยก่อนครบก าหนดฝากขั ง ซึ่ งศาลควรแจ้งให้
ผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวทราบด้วย
สาหรับผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวที่มีหน้าที่ให้คาปรึกษา มีสิทธิรับค่าตอบแทนและ
ค่าใช้จ่ายเมื่อเสร็จสิ้นการปฏิบัติหน้าที่ให้คาปรึกษาเป็นรายครั้ง
๒) ค่าตอบแทนผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราว ได้แก่
(๑) หน้าที่ในการรับรายงานตัว ให้กาหนดค่าตอบแทนไม่น้อยกว่า ๒,๐๐๐ บาท และ
ไม่เกิน ๕,๐๐๐ บาท
(๒) หน้ าที่ ในการสอดส่ องดู แล ไม่ ว่ าจะมี หน้ าที่ รั บรายงานตั วด้ วยหรื อไม่ ให้ ก าหนด
ค่าตอบแทนไม่น้อยกว่า ๒,๐๐๐ บาท และไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท
(๓) หน้าที่ให้คาปรึกษา ให้กาหนดค่าตอบแทนเป็นรายครั้ง ๆ ละ ๒,๐๐๐ บาท รวมแล้ว
ไม่เกิน ๓๐,๐๐๐ บาท
การกาหนดค่าตอบแทนตาม (๑) และ (๒) ศาลจะพิจารณาโดยคานึงถึงลักษณะและ
ความยากง่ายของภารกิจ ตลอดจนระยะเวลาที่ต้องดาเนินการประกอบด้วย เช่น การที่ผู้กากับดูแล
ผู้ถูกปล่อยชั่วคราวต้องกากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวหลายคน ศาลก็จะมาพิจารณาประกอบในการกาหนด
ค่าตอบแทน
กรณีผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวมีหน้าที่เกินกว่าหนึ่งหน้าที่ มีสิทธิได้รับค่าตอบแทน
ในอัตราที่สูงกว่าเพียงอัตราเดียว
๓) การจ่ายค่าตอบแทนให้แยกเป็นแต่ละคดี ถ้าเป็นผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราว
ในหลายคดีจะได้รับค่าตอบแทนเป็นรายคดี หรือถ้าเป็นผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวของจาเลยหลายคน
ในคดีเดียวกันก็จะได้รับค่าตอบแทนรวมเป็นเงินจานวนเดียวตามความเหมาะสมตามอัตราที่ระเบียบฯ
กาหนดไว้
๔) หลักฐานประกอบคาร้องขอรับค่าตอบแทนของผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราว ได้แก่
แบบการทาหน้าที่สอดส่องดูแล รับรายงานตัว การให้คาปรึกษา แล้วแต่กรณี สาเนาบัตรประจาตัวประชาชน
หรือบัตรที่ทางราชการออกให้ และสาเนาสมุดบัญชีเงินฝากที่ประสงค์จะให้ศาลโอนเงินเข้าบัญชี และ
รับรองสาเนาถูกต้อง โดยสามารถจัดส่งเอกสารดังกล่าวให้แก่เจ้าหน้าที่ด้วยตนเองหรือทางไปรษณีย์
-9-

อนึ่ง ตามหนังสือสานักงานศาลยุติธรรม ด่วน ที่ ศย ๐๒๕/ว 124 (ป) ลงวันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๖๔
แจ้งว่า ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ สานักงานศาลยุติธรรมได้นา
วิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์มาใช้ ทาให้คู่ความหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องไม่ต้องเดินทางมาศาล เช่น ทนายความ
พยาน ล่าม ผู้ประนี ประนอม ผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่ วคราว เป็นต้น โดยการเบิกจ่ายเงินรางวัล ค่าตอบแทน
ค่าป่วยการหรือค่าใช้จ่ายอื่นของบุคคลดังกล่าว ให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทารายงานเจ้าหน้าที่เพื่อรับรอง
การปฏิบัติงานของบุคคลดังกล่าวประกอบหลักฐานการปฏิบัติหน้าที่ เสนอเรื่องเบิกจ่ายเงินต่อศาลเพื่อมีคาสั่ง
แทนการให้บุคคลดังกล่าวเดินทางมายื่นคาร้องที่ศาล หรือให้ส่งเอกสารคาขอเบิกจ่ายดังกล่าวมาทางไปรษณีย์
ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) โทรสาร (Fax) หรือยื่นเอกสารผ่านระบบ CIOS ได้
๕) ผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวอาจขออนุญาตดาเนินการและการขอรับค่าใช้จ่าย
ในการปฏิบัติหน้าที่เมื่อมีพฤติการณ์พิเศษซึ่งก่อให้เกิดความจาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องดาเนินการอย่างหนึง่ อย่างใด
อันมีค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติหน้าที่ของผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราว มิเช่นนั้นจะไม่มีตัวผู้ต้องหามาศาล
เช่น กรณีที่ต้องเรียกรถพยาบาลหรือจ่ายค่ารักษาพยาบาลเบื้องต้นสาหรับผู้ต้องหาที่เกิดเจ็บป่วยกะทันหั น
หรือค่ารักษาพยาบาลผู้เสียหายหากถูกผู้ต้องหาทาร้ายกะทันหัน เป็นต้น หากผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราว
ได้ทดรองค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ไปก็ให้มาขอเบิกจากศาลได้15
ผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวอาจยื่นคาร้องขออนุญาตดาเนินการดังกล่าวต่อศาลชั้นต้น
ที่ออกหมายปล่อยในโอกาสแรกที่กระทาได้ หากศาลมีคาสั่งอนุญาต ให้กาหนดค่าใช้จ่ายที่ผู้กากับดูแล
ผู้ถูกปล่อยชั่วคราวขอรับได้ตามที่จาเป็นและสมควร ทั้งนี้ ในการขอรับค่าใช้จ่าย ให้ยื่นคาร้องต่อศาลชั้นต้น
ที่ได้ออกหมายปล่อยภายในสามสิบวันนับแต่วันที่เสร็จสิ้นการปฏิบัติหน้าที่หรือวันที่รับแจ้งจากศาล16
ตามข้อ ๑๔ วรรคท้าย
6) ศาลอาจแจ้งให้ ผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวทราบถึงสิทธิที่จะได้รับเงินค่าตอบแทน
และค่าใช้จ่ายภายหลังจากปฏิบัติหน้าที่เสร็จสิ้นแล้ว 17 โดยเฉพาะในกรณีที่การปล่อยชั่วคราวสิ้นสุดลง
ก่อนเวลาที่ศาลได้แจ้งให้ผู้กากับดูแลทราบในตอนแรก ซึ่งทาให้ผู้กากับดูแลไม่ทราบว่าการปฏิบัติหน้าที่
ของตนเสร็จสิ้นแล้ว และมีสิทธิขอรับเงินค่าตอบแทนได้ทันที

๕. ค่าพาหนะแก่ผู้ถูกปล่อยชั่วคราวที่ยากไร้
๑) ศาลสามารถกาหนดค่าพาหนะแก่ผู้ถูกปล่อยชั่วคราวที่ยากไร้ ซึ่งเป็นมาตรการ
ช่วยเหลือผู้ต้องหาในกรณีที่ผู้ถูกปล่อยชั่วคราวซึ่งอยู่ภายใต้การกากับดูแลเป็นผู้ยากไร้และไม่มคี า่ พาหนะ
สาหรับการเดินทางไปศาลหรือเพื่อปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ศาลกาหนด ศาลมีอานาจสั่งจ่ายค่าพาหนะแก่ผู้นั้น
ตามความจาเป็น โดยยื่นคาร้องต่อศาลชั้นต้นที่ออกหมายปล่อยหรือศาลที่เดินทางไปถึง ดังนั้น ศาลชั้นต้น
ที่ออกหมายปล่อยหรือศาลที่เดินทางไปถึงจึงเป็นผู้มีอานาจอนุมัติในการจ่ายค่าพาหนะ แล้วแต่กรณี18

15
ระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมฯ พ.ศ. ๒๕๖๑ ข้อ ๑๓
16
ระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมฯ พ.ศ. ๒๕๖๑ ข้อ ๑๔ วรรคท้าย
17
คาแนะนาของประธานศาลีีกาว่าด้วยการใช้มาตรการกากับดูแลในระหว่างปล่อยชั่วคราว พ.ศ. ๒๕๖๔ ข้อ ๑๐
18
พระราชบัญญัติมาตรการกากับและติดตามจับกุมผู้หลบหนีการปล่อยชั่วคราวโดยศาล พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๕ วรรคสอง และระเบียบคณะกรรมการ
บริหารศาลยุติธรรมฯ พ.ศ. ๒๕๖๑ ข้อ ๑๕ และข้อ ๑7
- 10 -

ผู้ถูกปล่อยชั่วคราวที่จะมีสิทธิขอรับค่าพาหนะสาหรับการเดินทางไปศาลหรือเพื่อปฏิบัติตาม
เงื่อนไขที่ศาลกาหนด ต้องเป็นผู้ที่ยากไร้และต้องอยู่ภายใต้การกากับดูแลในการปล่อยชั่วคราว ไม่ว่าจะมี
การตั้ งผู้ก ากับดู แลตามระเบียบ ก.บ.ศ. หรื อไม่ ก็ ตาม เช่ น การกาหนดเงื่อนไขให้ผู้ ถูกปล่อยชั่วคราวปฏิ บั ติ
โดยอยู่ภายใต้การกากับดูแลของเจ้าหน้าที่ศาล
๒) กรณีผู้ถูกปล่อยชั่วคราวซึ่งเป็นผู้ยากไร้ต้องเดินทางไปศาลอื่นที่ไม่ใช่ศาลที่พิจารณาคดี
เช่น ไปเพื่อสืบพยานโดยระบบการประชุมทางจอภาพ (Video.Conference) ก็มีสิทธิขอรับค่าพาหนะนี้ได้
โดยยื่นคาร้องต่อศาลที่เดินทางไปถึง
๓) ผู้ถูกปล่อยชั่วคราวที่อยู่ภายใต้การกากับดูแลซึ่งเป็นผู้ยากไร้และไม่มีค่าพาหนะ
มีสิทธิได้รับค่าพาหนะเป็นรายครั้ง โดยผู้ถูกปล่อยชั่วคราวมีสิทธิขอรับค่าพาหนะได้ทันทีหรือในภายหลังก็ได้
แต่ต้องไม่เกินสามสิบวันนับแต่การปล่อยชั่วคราวสิ้นสุด ในกรณีที่ผู้ถูกปล่อ ยชั่วคราวมีที่พักอาศัยอยู่ใน
เขตอ านาจศาลหรือในจังหวั ดเดียวกั น ไม่ เกิ นครั้งละ ๓๐๐ บาท กรณี นอกเขตอานาจศาลหรื อคนละจั งหวั ด
ไม่เกินครั้งละ ๕๐๐ บาท ซึ่งสานักการคลังได้ให้ความเห็นว่า คาว่า “ครั้งละ” หมายถึง ค่าพาหนะทั้งการเดินทาง
ไปและกลับรวมกันนับเป็นหนึ่งครั้ง

๖. เงินสินบนแก่ผู้แจ้งความนาจับและเงินรางวัลแก่เจ้าหน้าที่ผู้จับผู้ถูกปล่อยชั่วคราวโดยศาลที่หลบหนี
๑) ศาลอาจกาหนดวงเงินรางวัลแก่เจ้าหน้าที่ผู้จับในอัตราไม่เกินร้อยละห้าสิบของวงเงิน
ประกันตัวตามที่ศาลกาหนดหรือตามบัญชีมาตรฐานกลางหลักประกันการปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจาเลย19
หากวงเงินประกันตัวตามที่ศาลกาหนดหรือตามบัญชีเกณฑ์มาตรฐานกลางมีวงเงินไม่เท่ากัน ให้ศาลถือตาม
วงเงินประกันตัวตามที่ศาลกาหนดก่อน ไม่ว่าจะมากกว่าหรือต่ากว่าบัญชี เกณฑ์มาตรฐานกลางก็ตาม
เนื่องจากในการปล่อยชั่วคราวศาลจะพิจารณาจากลักษณะเฉพาะของแต่ละคดี
๒) กรณีศาลสั่งปล่อยชั่วคราวโดยไม่มีหลักประกัน ศาลต้องพิจารณาเงินรางวัลตาม
บัญชีเกณฑ์มาตรฐานกลางตามคาแนะนาของประธานศาลีีกาเกี่ยวกับมาตรฐานกลางสาหรับการปล่อยชั่วคราว
ผู้ต้องหาหรือจาเลย พ.ศ. ๒๕๖๓ เท่านั้น
๓) ศาลต้องเป็น ผู้พิจ ารณากาหนดจานวนเงิน สินบนและรางวั ล ให้ชัด เจนเพื่อส่งให้
เจ้าหน้าที่การเงินดาเนินการต่อ ไม่พึงสั่งเพียงว่า “จ่ายตามระเบียบ”
๔) หัวหน้าส่วนราชการศาลยุติธรรมจะกาหนดหลักเกณฑ์ในการจ่ายเงิน สินบนดังกล่าว
เพือ่ ให้เป็นมาตรฐานเดียวกันในแต่ละศาลก็ได้
๕) ในกรณีที่ผู้แจ้งความนาจับหรือเจ้าหน้าที่ผู้จับหลายราย ให้สั่งแบ่งจ่ายเงินสินบนหรือ
เงินรางวัลแก่ผู้มีสิทธิได้รับเท่ากันทุกราย 20 กล่าวคือ ศาลพึงกาหนดเงินเพียงจานวนเดียว แต่สั่งให้
ผู้แจ้งความนาจับหรือเจ้าหน้าที่ผู้จับทุกคนมีสิทธิได้รับส่วนแบ่งจากเงินดังกล่าวเท่านั้น

19
ระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมฯ พ.ศ. ๒๕๖๑ ข้อ ๒๑
20
พระราชบัญญัติมาตรการกากับและติดตามจับกุมผู้หลบหนีการปล่อยชั่วคราวโดยศาล พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๘ วรรคสอง และระเบียบคณะกรรมการ
บริหารศาลยุติธรรมฯ พ.ศ. ๒๕๖๑ ข้อ ๒๓
- 11 -

๖) หลักฐานประกอบคาร้องขอรับเงินสินบนของผู้แจ้งความนาจับ ได้แก่ หนังสือรับรอง


จากเจ้าหน้าที่ผู้จับ หนังสือรับรองจากผู้บังคับบัญชาของเจ้าหน้าที่ผู้จับระดับหัวหน้าสถานีหรื อเทียบเท่า
สาเนาบัตรประจาตัวประชาชนหรือบัตรที่ทางราชการออกให้ พร้อมรับรองสาเนาถูกต้อง และสาเนา
สมุดบัญชีเงินฝากที่ประสงค์จะให้ศาลโอนเงินเข้าบัญชี
หลักฐานประกอบคาร้องขอรับเงินรางวัลของเจ้าหน้าที่ผู้จับ ได้แก่ บันทึกการจับกุมและ
เอกสารที่เกี่ยวข้อง กรณีเจ้าหน้าที่ผู้จับไม่ใช่หัวหน้าชุดในการจับกุม ต้องมีหนังสือรับรองจากผู้บังคับบัญชา
ระดับหัวหน้าสถานีหรือเทียบเท่ามาแสดงด้วย แต่หากเจ้าหน้าที่ผู้จับเป็นหัวหน้าชุดในการจับเองไม่ต้อง
มีหนังสือรับรองดังกล่า ว สาเนาบัตรประจาตัวประชาชนหรือบัตรที่ทางราชการออกให้ พร้อมรับรอง
สาเนาถูกต้อง และสาเนาสมุดบัญชีเงินฝากที่ประสงค์จะให้ศาลโอนเงินเข้าบัญชี21
๗) ตามหนังสือสานักงานศาลยุติธรรม ที่ ศย ๐๒๙/ว ๑๗๖ (ป) ลงวันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๖๒
เรื่อง แนวทางการติดตามจับกุ มผู้หลบหนีการปล่ อยชั่วคราวโดยศาล สาหรับเจ้าพนักงานต ารวจศาล แจ้งว่ า
พระราชบัญญัติเจ้าพนักงานตารวจศาล พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๕ (๔) กาหนดให้เจ้าพนักงานตารวจศาล
มีหน้าที่และอานาจปฏิบัติตามคาสั่งศาลในการแจ้งให้พนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจจับผู้ต้องหาหรือจาเลย
ที่ได้รับการปล่อยชั่วคราวโดยศาลแล้วหนี หรือจะหลบหนี หรือถ้ามีเหตุจาเป็ นที่ไม่สามารถขอความช่วยเหลือ
จากพนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจได้ทันท่วงที ก็ให้มีอานาจจับผู้ต้องหาหรือจาเลยนั้นได้ และเมื่อจับได้แล้ว
ให้นาผู้ถูกจับไปยังศาลโดยเร็วซึ่งเน้นภารกิจในการอานวยการและประสานงานในการติดตามจับกุมกับ
พนั กงานฝ่ ายปกครองหรือต ารวจ การมี เจ้ าพนักงานต ารวจศาลจึ งช่ วยท าให้ การปฏิ บั ติหน้ าที่ของพนั กงาน
ฝ่ายปกครองหรือต ารวจมี ประสิ ทธิภาพมากขึ้ น จึงไม่ถื อว่าขัดต่ อเจตนารมณ์ของกีหมายในการกาหนดให้
เจ้าพนักงานตารวจศาลมีสิทธิได้รับเงินรางวัลในการจับกุมผู้หลบหนีการปล่อยชั่วคราว อีกทั้งในการปฏิบัติหน้าที่
ให้เจ้าพนักงานตารวจศาลเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกีหมายอาญา แม้กีหมายจะใช้การเทียบเคียง
เฉพาะ “หน้าที่และอานาจ” ระหว่างเจ้าพนักงานตารวจศาลกับพนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจ ไม่ได้เทียบเคียง
“สถานะ” ด้วย แต่เมื่อกีหมายให้อานาจหน้าที่ในการจับกุมผู้หลบหนีการปล่อยชั่ วคราวโดยศาลแก่
เจ้ าพนั กงานต ารวจศาล เมื่อใดก็ตามที่เจ้าพนั กงานต ารวจศาลใช้อ านาจตามกีหมายในการติ ดตามจับกุ ม
ผู้หลบหนีการปล่อยชั่วคราวโดยศาล ย่อมทาให้เจ้าพนักงานตารวจศาลเป็น “พนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจ
ตามประมวลกีหมายวิธีพิจารณาความอาญาซึ่งจับกุมผู้ต้องหาหรือจาเลยที่ได้รับการปล่อยชั่วคราวโดยศาล
ซึ่งหลบหนี” โดยปริยายและถือเป็น “เจ้าหน้าที่ผู้จับ” โดยเมื่อได้ปฏิบัติหน้าที่ติดตามจับกุมผู้หลบหนี
การปล่อยชั่วคราวโดยศาลและได้ส่งตัวบุคคลดังกล่าวต่อศาลแล้ว ย่อมมีสิทธิขอรับเงินรางวัลได้ตามที่กาหนด
ในกีหมายและระเบียบ22
สาหรับเงินสินบนของผู้แจ้งความนาจับ กรณีเป็นเจ้าพนักงานตารวจศาล สานักงานศาลยุติธรรม
เคยมีหนังสือตอบข้อหารือสานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค ๙ ว่า ตามพระราชบัญญัติมาตรการกากับและ
ติดตามจับกุมผู้หลบหนีการปล่อยชั่วคราวโดยศาล พ.ศ. ๒๕๖๐ “ผู้แจ้งความนาจับ” หมายความว่า บุคคลเดียว
หรือหลายคนซึ่งชี้ช่องหรือแจ้งเบาะแสแก่ทางราชการ จนทางราชการสามารถจับกุมผู้ต้องหาหรือจาเลย
ที่ได้รับการปล่อยชั่วคราวโดยศาลซึ่งหลบหนีได้ แต่ต้องมิใช่เจ้าหน้าที่ผู้จับ ผู้ประกัน บุคคลซึ่งเป็นหลักประกัน
หรือบุคคลซึ่งเป็นเจ้าของหลักประกันในการขอปล่อยชั่ วคราวผู้ต้องหาหรือจาเลยนั้น จากบทนิยามดังกล่าว
การเป็นผู้แจ้งความนาจับได้ต้องมีพฤติการณ์ในการชี้ช่องหรือแจ้งเบาะแสแก่ทางราชการ แต่ไม่รวมถึง
21
ระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมฯ พ.ศ. ๒๕๖๑ ข้อ 19
22
พระราชบัญญัติมาตรการกากับและติดตามจับกุมผู้หลบหนีการปล่อยชั่วคราวโดยศาล พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๓ มาตรา ๗ และระเบียบคณะกรรมการ
บริหารศาลยุติธรรมฯ พ.ศ. ๒๕๖๑ ข้อ 18
- 12 -

การชี้ ช่องหรือแจ้งเบาะแสโดยเจ้ าหน้ าที่ผู้จั บ ซึ่งคาว่ า “เจ้าหน้าที่ ผู้จับ” มีบทนิยามว่าหมายถึง “พนั กงาน
ฝ่ายปกครองหรื อตารวจตามประมวลกีหมายวิธีพิจารณาความอาญาซึ่งจับกุมผู้ต้องหาหรื อจาเลยที่ได้รั บ
การปล่อยชั่วคราวโดยศาลซึ่งหลบหนี และให้หมายความรวมถึงราษีรผู้จับตามที่เจ้าพนักงานผู้จัดการ
ตามหมายจับขอความช่วยเหลือด้วย” ดั งนั้ น เจ้าพนั กงานต ารวจศาลซึ่ งสานักงานศาลยุ ติ ธรรมได้มี หนั งสื อ
ฉบับข้างต้นว่าเป็นเจ้าหน้าที่ผู้จับ จึงไม่อาจอยู่ในฐานะ “ผู้แจ้งความนาจับ” ที่จะมีสิทธิได้รับเงินสินบน
ตามพระราชบัญญัติฯ มาตรา ๗ ได้

๗. การเบิกจ่ายเงิน
๑. การเบิกจ่ายเงินตามระเบียบนี้ทั้งหมด ให้เบิกจ่ายจากเงินค่าปรับตามคาพิพากษา
ในคดีอาญาทุกคดี ไม่ใช่เงินที่ได้จากคดีที่ผู้ได้รับการปล่อยชั่วคราวเป็นผู้ต้องหาหรือจาเลยตามมาตรา ๙
แห่ งพระราชบั ญญั ติ ฯ โดยรายละเอี ยดเกี่ ยวกั บการเบิ กจ่ าย สามารถดาวน์ โหลดรายละเอี ยดได้ ที่ เว็ บไซต์
ส านั กการคลั ง http://www.of.coj.go.th.ตามหนั งสื อส านั กงานศาลยุ ติ ธรรม ที่ ศย ๐๑๒/ว ๒๐ (ป)
ลงวันที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ เรื่อง แนวปฏิบัติในการจ่ายเงินตามระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม
ว่าด้วยคุณสมบัติ ลักษณะต้องห้าม การแต่งตั้งและการปฏิบัติหน้าที่ของผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวฯ
พ.ศ. ๒๕๖๑ และหนั งสื อส านั กงานศาลยุ ติ ธรรม ที่ ศย ๐๑๒/ว ๒๔๖ (ป) ลงวั นที่ ๘ พฤศจิ กายน ๒๕๖๒
เรื่อง ซักซ้อมความเข้าใจการนาเงินค่าธรรมเนียมศาล เงินค่าปรับ และเงินค่าปรับผู้ประกันส่งเป็นรายได้แผ่นดิน
และการขอรับเงินเพื่อจ่ายคืนให้แก่คู่ความหรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องซึ่งมีสิทธิรับเงินหรือจ่ายให้แก่บุคคลหรือ
ส่วนราชการอื่นตามที่กีหมายกาหนด (เพิ่มเติม) โดยมีแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการขอรับเงินเพื่อจ่ายคืนให้แก่
คู่ความหรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องซึ่งมีสิทธิรับเงินหรือจ่ายให้แก่บุคคลหรือส่วนราชการอื่นตามที่กีหมายกาหนด
(ระหว่างเดือน)
หากมีเงิ นค่าปรั บในคดี อาญาไม่เพียงพอต่อการจ่ายเงินค่าตอบแทน ค่าใช้ จ่าย ค่ าพาหนะ
เงินสินบน เงินรางวัล แก่ผู้มีสิทธิตามระเบียบฯ ให้ดาเนินการขอรับเงินจากหน่วยงานในสังกัดสานักงาน
ศาลยุติธรรมตามแนวหนังสือสานักงานศาลยุติธรรม ที่ ศย ๐๑๒/ว ๘๔ ลงวันที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๘
เรื่อง การนาเงินค่าธรรมเนียมศาลและค่าปรับจากศาลหนึ่งมาจ่ายคืนอีกศาลหนึ่ง
๒. ตามหนังสือสานักงานศาลยุติธรรม ด่วน ที่ ศย ๐๒๕/ว 124 (ป) ลงวันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๖๔
แจ้งว่า ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ สานักงานศาลยุติธรรมได้นา
วิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์มาใช้ ทาให้คู่ความหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องไม่ต้องเดินทางมาศาล เช่น ทนายความ
พยาน ล่าม ผู้ประนี ประนอม ผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราว เป็นต้น โดยการเบิกจ่ายเงินรางวัล ค่าตอบแทน
ค่าป่วยการหรือค่าใช้จ่ายอื่นของบุคคลดังกล่าว ให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทารายงานเจ้าหน้าที่เพื่อรับรอง
การปฏิบัติงานของบุคคลดังกล่าวประกอบหลักฐานการปฏิบัติหน้าที่ เสนอเรื่องเบิกจ่ายเงินต่อศาลเพื่อมีคาสั่ง
แทนการให้บุคคลดังกล่าวเดินทางมายื่นคาร้องที่ศาล หรือให้ส่งเอกสารคาขอเบิกจ่ายดังกล่าวมาทางไปรษณีย์
ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) โทรสาร (Fax) หรือยื่นเอกสารผ่านระบบ CIOS ได้
- 13 -

อนึ่ง สานักกีหมายและวิชาการศาลยุติธรรมได้จัดทาข้อพิจารณาเกี่ยวกับพระราชบัญญัติ
มาตรการกากับและติดตามจับกุมผู้หลบหนีการปล่อยชั่วคราวโดยศาล พ.ศ. ๒๕๖๐ (ฉบับปรับปรุง) ขึ้น
รายละเอียดตามหนังสือสานักงานศาลยุติธรรม ด่วนที่สุด ที่ ศย ๐๑๖/ว ๘๔๖ ลงวันที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๖๔
หรือสามารถสืบค้นข้อมูลได้ที่เว็บไซต์สานักกีหมายและวิชาการศาลยุติธรรม https://jla.coj.go.th

สานักกีหมายและวิชาการศาลยุติธรรม
สานักงานศาลยุติธรรม
กันยายน ๒๕๖๔

คลิปวิดีโอประชาสัมพันธ์
กฎหมายและระเบียบ แบบเอกสารและคาร้อง ผู้กากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราว

You might also like