Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 1

28 มิถุนายน 2023 Latest: ปารังคโต (บาลีวันละคํา 3,955) 

นาสฺมเส (บาลีวันละคํา 3,954)


อุปนิกขิต (บาลีวันละคํา 3,953)
อุทิศ (บาลีวันละคํา 3,952)
สกรรถ (บาลีวันละคํา 3,951)

 ห"าห$ก บา'(นละ,  บทความจากค2ทอง5อย  ห7ง8อของค2 รอบ;<บธรรมธารา >จกรรมชมรม พอดแคสD เFยว<บเรา   

บาลีวันละคํา  

มารยาสาไถย (บาลีวันละคํา 1,683)


 12 มกราคม 2017  tppattaya2343@gmail.com ,
 บาลีวันละคํา มารยาสาไถย

มารยาสาไถย

อ่านว่า มาน-ยา-สา-ไถ

ประกอบด้วย มารยา + สาไถย

(๑) “มารยา
มารยา” เป็นคําที่แผลงมาจาก “มายา
มายา”

“มายา
มายา” ในภาษาบาลีมีรากศัพท์มาจาก –

(1) มย (อสูร) + ณ ปัจจัย, ลบ ณ , ยืดเสียง อะ ที่ ม -(ย) เป็น อา (มย


มย > มาย
มาย) + อา ปัจจัย
เครือ
่ งหมายอิตถีลิงค์

: มย + ณ = มยณ > มย > มาย + อา = มายา แปลตามศัพท์ว่า “กลลวงของอสูร (ที่ใช้เพื่อลวง


เทวดา)”

ความหมายนี้สืบเนื่องมาจากตํานาน “เทวาสุ สงคราม” (การรบระหว่างเทวดากับอสูร) ซึ่ง


เทวาสุร สงคราม
พวกอสูรใช้เล่ห์กลต่างๆ เพื่อจะเอาชนะเทวดา

เผ่าพวกอสูร มีคําเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “มย


มย” (มะ-ยะ) กลลวงของอสูรจึงมีชื่อเรียกว่า “มายา
มายา”

(2) มา (ธาตุ = กะ, ประมาณ) + ย ปัจจัย + อา ปัจจัยเครือ


่ งหมายอิตถีลิงค์

: มา + ย = มาย + อา = มายา แปลตามศัพท์ว่า “อาการที่เทียบความดีของตนกับความดี


เยี่ยมอืน
่ ” หมายความว่า เอาความดีของตนซึ่งมีเล็กน้อยหรือไม่มีเลยไปแสดงอาการให้เข้าใจ
ว่ามีความดีมาก = ลวงเขาให้เข้าใจผิด

“มายา
มายา” ในบาลีใช้ในความหมายดังนี้ :

(1) รูปลวง, การล่อลวง, การหลอกลวง, การโกง, การหน้าไหว้หลังหลอก (deceptive


หมวดหมู่บทความ
appearance, fraud, deceit, hypocrisy)
กิจกรรมชมรม (3)
(2) สูตรลึกลับ, กลวิเศษ, มายา, เล่ห์กระเท่ห์ (mystic formula, magic, trick)
บทความเกี่ยวกับศาสนา-ภาษา-สังคม (1,032)

(3) การตบตา, การเล่นกล (jugglery, conjuring) บาลีวันละคํา (3,955)

รอบรูก
้ ับธรรมธารา (23)
มายา
มายา” ในภาษาไทยแผลงเป็น “มารยา
มารยา”
เรือ
่ งสั้นของทองย้อย (17)

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554 บอกไว้ว่า –


บทความตามเวลาที่เขียน
“มารยา
มารยา : (คํานาม) การลวง, การแสร้งทํา, เล่ห์กล, เช่น เจ้ามารยา มารยามาก ทํามารยา.
(แผลงมาจากมายา).” เ"อกเ%อน

(๒) “สาไถย
สาไถย”
ความเห็นล่าสุด
บาลีเป็น “สาเฐยฺ
สาเฐยฺย ” (สา-เถ็ย-ยะ) รากศัพท์มาจาก สฐ + ณฺ ย ปัจจัย

สฐ” (สะถะ) รากศัพท์มาจาก ส9ฺ (ธาตุ = โกง, ลวง) + อ ปัจจัย


1) “สฐ ธรรมธารา
1,155 %&ดตาม
: ส9ฺ + อ = สฐ (ปุงลิงค์) แปลตามศัพท์ว่า “ผู้คดโกง” หมายถึง มีเล่ห์เหลี่ยม, คดโกง, ฉ้อฉล
(crafty, treacherous, fraudulent)
!ดตามเพจ แช+

2) สฐ + ณฺ ย ปัจจัย มีขั้นตอนการแปลงรูปดังนี้ :

– สฐ + ณฺ ย = สฐณฺ ย

– ลบ ณ = สฐณฺ ย > สฐย

– ทีฆะ อะ ที่ ส -(ฐ) เป็น อา “ด้วยอํานาจปัจจัยเนื่องด้วย ณ ” = สฐย > สาฐย

– ซ้อน ยฺ = สาฐย > สาฐยฺ ย

– แปลง –ยฺ
ยฺย (อยฺ
อยฺย ) เป็น เอยฺ ย = สาฐยฺ ย > สาเฐยฺ ย ผู้ดูแล

สาเฐยฺย ” (นปุงสกลิงค์) แปลตามศัพท์ว่า “ภาวะแห่งผู้คดโกง” หมายถึง ความคดโกง, ความ


“สาเฐยฺ เข้าสู่ระบบ
คิดคดทรยศ (craft, treachery) เข้าฟีด

แสดงความเห็นฟีด
“สาเฐยฺ
สาเฐยฺย ” บางแห่งสะกดเป็น “สาเถยฺ
สาเถยฺย ” ในภาษาไทยใช้เป็น “สาไถย
สาไถย”
WordPress.org
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554 บอกไว้ว่า –

“สาไถย
สาไถย : (คํานาม) การแสร้งทําให้เขาหลงผิดเข้าใจผิด, มักใช้เข้าคู่กับคํา มารยา เป็น มารยา
สาไถย. (ป. สาเฐยฺย; ส. ศา]ฺย).”

มายา + สาเฐยฺ ย = มายาสาเฐยฺ ย > มารยาสาไถย แปลตามศัพท์ว่า “ความหลอกลวงและ


ความคดโกง”

ในภาษาไทย พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554 บอกไว้ว่า –

“มารยาสาไถย
มารยาสาไถย : (คํานาม) การทําให้เขาหลงผิดหรือเข้าใจผิด เช่น เขาทํามารยาสาไถย.”

ในทางธรรม “มายา
มายา” (มารยา
มารยา) และ “สาเถยฺ
สาเถยฺย ” (สาไถย
สาไถย) เป็นมละ (มลทิน) สองข้อในมละ 9
และเป็นอุ ป กิ เ ลส (เครือ
่ งเศร้าหมองจิต) สองข้อในอุปกิเลส 16

ในภาษาไทย “มารยาสาไถย
มารยาสาไถย” มักใช้เป็นลักษณะการแสดงออกของสตรีเพศ แต่ในทางธรรม
“มายา
มายา” และ “สาเถยฺ
สาเถยฺย ” เป็นกิเลสที่เกิดแก่มนุษย์ทว
ั่ ไปไม่เลือกเพศ

…………..

ดูก่อนภราดา!

: ถ้ า อยากรู ้ว ่ า ถู ก หลอกลวงเป็ น อย่ า งไร

: ก็ จ งลองหลอกใจตั ว เองดู

12-1-60

Related posts:

!นทาค& (บา()นละ, 2,574) -มมาวาจา (บา()นละ, 1ม - 2มา (บา()นละ,


3,559) 3,628)

 จํานวนผู้เข้าชม : 87

Facebook Twitter Line

← สิกขมานา (บาลีวันละคํา 1,682) ตถาคโต →

Copyright © 2023 ธรรมธารา. All rights reserved. 


Theme: ColorMag by ThemeGrill. Powered by WordPress.

You might also like