โครงงานภาษาไทยกลุ่ม

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 15

โครงงานภาษาไทย

เรื่ อง ปริศนาคาทายน่ ารู้ในท้ องถิ่น

จัดทาโดย
นายพีรัชชัย ไพรสี สัน เลขที่ ๙
นางสาวจินดา ปัญญามีศรี เลขที่ ๑๖
นางสาวจิราพร ปรพันธ์ สิทธิ์ เลขที่ ๑๙
นางสาวอัจฉราพร ไพรวันเพ็ญ เลขที่ ๒๔
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๖/๒

เสนอ
ครูศิริจันทร์ อารีพนม

โครงงานนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของรายวิชาโครงงานภาษาไทย ท๓๓๒๐๑


กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๖
โรงเรียนเฉลิมรัชวิทยคม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาแม่ ฮ่องสอน
บทที่๑ บทนา

ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
จากการเรี ยนรายวิชาภาษาไทยมีเนื้ อหาลากหลายที่ควรศึกษาโดยเฉพาะเรื่ องปริ ศนาคาทายปัจจุบนั
เยาวชนนิยมคานาปริ ศนาคาทายมาทายกันอยู่เสมอส่ วนใหญ่จะนามาจากหนังสื อเรี ยนหรื อจากการเล่าของ
รุ่ นสู่ รุ่นเป็ นคถามที่น่าสนใจน่าติดตาม สนุกสนานกับการทายปริ ศนาคาทาย เนื่องจากปริ ศนาคาทาย เป็ นคา
ที่ใช้สัมผัสคาคล้องจอง ทาให้จดจาได้ง่าย และในแต่ละท้องถิ่นจะมีปริ ศนาคาถายเป็ นภาษาถิ่นที่แตกต่างกับ
กลุ่มของข้าพระเจ้ามีความสนใจศึกษาเกี่ยวกับปริ ศนาคาทาย จึงจัดทาโครงงานเรื่ อง ปริ ศนาคาทาย
น่ารู ้ เพื่อการสึ กษาค้นคว้า รวบรวมปริ ศนาคาถายในท้องถิ่นภาคเหนื อเป็ นการอนุรักษ์และเผยแพร่ ปริ ศนาคา
ทายในท้องถิ่นภาคเหนือ
วัตถุประสงของการศึกษา
๑. เพื่อศึกษาค้นคว้ารวบรวมปริ ศนาคาทายในท้องถิ่นภาคเหนื อ
๒. เพือ่ ได้เรี ยนรู ้ปริ ศนาคาทายในท้องถิ่นภาคเหนื อ
๓. เพื่ออนุรักษ์และเผยแพร่ ปริ ศนาคาทายในท้องถิ่นภาคเหนื อ
ขอบเขต
ปริ ศนาคาทายในท้องถิ่นในภาคเหนือ
ระยะเวลาในการศึกษา
16 พฤษภาคม 2566-30 กันยายน 2566
บทที่ ๒ เอกสารที่เกีย่ วข้ อง

การศึกษาเรื่อง “ศึกษาคาทายปริศนาคาทายน่ารูใ้ นท้องถิ่น”ผูจ้ ดั ทาได้ศกึ ษาและค้นคว้าเอกสารที่เกี่ยวข้อง


โดยมีเนือ้ หาตามดาดับ ดังนี ้
๑. เอกสารทีเ่ กี่ยวข้อง
ปริศนาคาทาย คือปัญหาหรือคาถามซึ่งผูถ้ ามอาจจะถามตรง ๆ หรือ ถามทางอ้อม คาถามอาจจะใช้
ถ้อยคาธรรมดา หรือจะมีสมั ผัสแบบ ภาษา ร้อยกรองก็ได้ภาษาที่ใช้นนั้ เป็ นภาษาสัน้ ๆ ง่าย ๆ กระชับความ
แต่ยากแก่ การตีความในตัวปริศนาอยู่บา้ ง ส่วนคาตอบ มักจะเป็ นสิ่งที่พบเห็นใน ชีวิตประจาวันในสมัยนัน้
ๆ และในบางคาถามมักจะมีเค้าหรือแนวทาง สาหรับคาตอบ ซึ่งผูต้ อบจะต้องใช้ความสังเกต ความคิดและ
ไหวพริบในการคิดหาคาตอบ
๒.เอกสารทีเ่ กี่ยวกับตาบล
สภาพทั่วไป
๑.๑ที่ตงั้
(ที่ตงั้ องค์การบริหารส่วนตาบลกองก๋อย พิกดั ที่ LV 108910 สูงกว่าระดับนา้ ทะเล 700 เมตร)
องค์การบริหารส่วนตาบลกองก๋อย ได้รบั การยกฐานะจากสภาตาบล เป็ นองค์การบริหารส่วนตาบล
(ลาดับที่ 1952 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย)
เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 ตัง้ อยู่ในพืน้ ที่เขตป่ าสงวนแห่งชาติ “ ป่ าแม่ยวมฝั่งซ้าย โซน ซี ”
อยู่ทางทิศทางตะวันออกของอาเภอสบเมยจังหวัดแม่ฮ่องสอน ห่างจากอาเภอสบเมยประมาณ 84
กิโลเมตร
การเดินทางเข้าสู่อาเภอสบเมยต้องผ่านเขตตาบลบ่อสลี อาเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่
และต้องผ่าน เขตอาเภอแม่สะเรียงเนื่องจากไม่มีถนนสายหลักจากตาบลเข้าสูอ่ าเภอโดยตรง

๑.๒เนือ้ ที่
-
๑.๓ภูมิประเทศ
ภูมิประเทศขององค์การบริหารส่วนตาบลกองก๋อย ประมาณ 95% เป็ นภูเขาสูงชัน มีพนื ้ ที่ราบระหว่างหุบ
เขาประมาณ 5%
ของพืน้ ที่ตาบลดังนัน้ หมู่บา้ นต่างๆ ในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลกองก๋อย จึงตัง้ อยู่ในภูเขาสูงชันและ
บริเวณหุบเขาเป็ นส่วนใหญ่
มีแหล่งนา้ สาคัญที่ผ่านเช่น ลาห้วยนา้ แม่ลิด , ลาห้วยนา้ แม่โถ , ลาห้วยแม่แพน้อย , ห้วยแม่วอน , ห้วย
แม่ลอย , ห้วยบอน ,
ห้วยกองนา , ห้วยอึนกื๋น และลาธารขนาดเล็กตามหุบเขา

๑.๔จานวนหมู่บา้ น
จานวนหมู่บา้ นในเขต อบต. เต็มทัง้ หมู่บา้ น 9 หมู่ ได้แก่
หมู่ท่ี 1 บ้านกองก๋อย ประกอบด้วย หมู่บา้ นบริวาร 1 หย่อมบ้าน คือ บ้านสัน
หมู่ท่ี 2 บ้านผาเยอ ประกอบด้วย หมู่บา้ นบริวาร 1 หย่อมบ้าน คือ บ้านผาเยอน้อย
หมู่ท่ี 3 บ้านแม่แพหลวง
หมู่ท่ี 4 บ้านห้วยเกี๋ยง ประกอบด้วย หมู่บา้ นบริวาร 5 หย่อมบ้าน คือ บ้านห้วยเกี๋ยง บ้านห้วยเกี๋ยง
น้อยบ้านห้วยไก่ป่า ,
บ้านห้วยช้างหลวง, บ้านห้วยช้างน้อย
หมู่ท่ี 5 บ้านแม่แพน้อย
หมู่ท่ี 6 บ้านห้วยวอก ประกอบด้วย หมู่บา้ นบริวาร 2 หย่อมบ้านคือ บ้านสบแปะ,บ้านห้วย
บุก
หมู่ท่ี 7 บ้านท่าฝาย
หมู่ท่ี 8 บ้านทะโลง (ได้รบั การจัดตัง้ เป็ นหมู่บา้ น เดือนสิงหาคม 2546) ประกอบด้วย หมู่บา้ น
บริวาร 1 หย่อมบ้าน คือ บ้านทะโลงใต้
หมู่ท่ี 9 บ้านกองต๊อก (ได้รบั การจัดตัง้ เป็ นหมู่บา้ น เดือนสิงหาคม 2546) ประกอบด้วย หมู่บา้ น
บริวาร 2 หย่อมบ้าน คือ บ้านผาอันเหนือ,
บ้านผาอันใต้
๑.๕ท้องถิ่นอื่นในตาบล
ไม่มี
๑.๖ประชากร
มีจานวน 5796 คน
๓.เอกสารที่เกี่ยวข้องกับปริศนาคาทายในท้องถิ่น
ปริศนาคาทาย คือปัญหาหรือคาถามซึ่งผูถ้ ามอาจจะถามตรง ๆ หรือ ถามทางอ้อม คาถามอาจจะใช้
ถ้อยคาธรรมดา หรือจะมีสมั ผัสแบบ ภาษา ร้อยกรองก็ได้ภาษาที่ใช้นนั้ เป็ นภาษาสัน้ ๆ ง่าย ๆ กระชับความ
แต่ยากแก่ การตีความในตัวปริศนาอยู่บา้ ง ส่วนคาตอบ มักจะเป็ นสิ่งที่พบเห็นใน ชีวิตประจาวันในสมัยนัน้
ๆ และในบางคาถามมักจะมีเค้าหรือแนวทาง สาหรับคาตอบ ซึ่งผูต้ อบจะต้องใช้ความสังเกต ความคิดและ
ไหวพริบในการคิดหาคาตอบ

ลักษณะของปริศนาคาทาย
ปริศนาคาทายมีองค์ประกอบหลัก ๒ ส่วนคือ ปริศนา และคาเฉลย ปริศนาเป็ นส่วนที่อธิบายหรือบอกใบ้คา
เฉลย แต่ในขณะเดียวกัน คาอธิบายในปริศนาก็ลวงให้ผฟู้ ั งหลงทางด้วย ลักษณะที่
ทัง้ "แนะ" และ "ลวง" ดังกล่าวทาให้ปริศนาคาทายมีความน่าสนใจ กล่าวคือ เมื่อแรกได้ยินข้อปริศนา คน
ฟั งมักถูกลวงให้คิดผิดทาง จนเกิดความฉงนงงงวย แต่เมื่อได้ทราบคาเฉลยแล้ว ก็จะคิดได้ถูกแนวทาง
ปริศนาที่ดเู หมือนลึกลับและน่าฉงนนัน้ ก็กลับกลายเป็ นเรื่องพืน้ ๆ ที่ไม่มีอะไรชวนสงสัย ลักษณะดังกล่าว
ทาให้ปริศนาคาทายสามารถดึงดูดความสนใจของผูค้ นเป็ นจานวนมาก นอกจากลักษณะเด่นดังกล่าว
แล้ว ปริศนาคาทายมีลกั ษณะเด่นทางเนือ้ หาและลักษณะเด่นทางภาษาที่น่าสนใจดังนี ้
ลักษณะเด่นทางเนือ้ หา
ปริศนาคาทายนัน้ มีเนือ้ หาหลากหลาย แต่เมื่อพิจารณาโดยรวมแล้วสามารถสรุปลักษณะเด่นทางเนือ้ หาได้
เป็ น ๓ ประการ คือ เนือ้ หาเกิดจากการสังเกตสิ่งแวดล้อมรอบตัว เนือ้ หาเกิดจากความใส่ใจภาษา และ
เนือ้ หาเกิดจากความคิดสร้างสรรค์ท่แี หวกขนบ
๑) เนือ้ หาเกิดจากการสังเกตสิ่งแวดล้อมรอบตัว
เนือ้ หาส่วนใหญ่ของปริศนาคาทายของไทยเกิดจากการสังเกตสิ่งแวดล้อมรอบตัว ไม่ว่าจะเป็ นสิ่งของ
เครื่องใช้ พืชพรรณธรรมชาติ ความใส่ใจและช่างสังเกต ทาให้ผคู้ ิดปริศนาสามารถนาลักษณะเด่นที่
น่าสนใจของสิ่งต่างๆ รอบตัวมาผูกขึน้ เป็ นปริศนา ดังในตัวอย่างต่อไปนี ้
อะไรเอ่ย ต้นเท่าลาเรือ ใบห่อเกลือไม่มิด (เฉลย : ต้นมะขาม)
ปริศนานีเ้ กิดจากการสังเกตธรรมชาติ ทาให้เห็นลักษณะที่ดเู หมือนจะตรงกันข้ามกันของต้นมะขาม
กล่าวคือ ลาต้นใหญ่มาก แต่ใบเล็กมากจนไม่สามารถห่อเกลือได้

๒) เนือ้ หาเกิดจากความใส่ใจภาษา
นอกเหนือจากการสังเกตสิ่งแวดล้อมรอบตัวแล้ว คนไทยยังใส่ใจต่อภาษาที่ใช้เรียกสิ่งต่างๆ ด้วยความใส่ใจ
ดังกล่าว ทาให้สงั เกตเห็นลักษณะที่น่าสนใจบางอย่าง ที่สามารถนามาผูกเป็ นปริศนาได้ ดังตัวอย่าง
ต่อไปนี ้
อะไรเอ่ย เจ๊กขาย ไทยเขียน (เฉลย : เทียนไข)
ปริศนานีแ้ สดงให้เห็นว่า คนไทยใส่ใจต่อภาษา ทาให้สงั เกตเห็นความสัมพันธ์ระหว่างกลุม่ เสียงในภาษา ๒
กลุม่ คือ "ไทยเขียน" และ "เทียนไข" ซึ่งเป็ นเสียงที่เกิดจากการผวนคาอันเป็ นลักษณะการเล่นกับภาษาที่
โดดเด่นอย่างหนึ่งในวัฒนธรรมไทย

ปริศนาผะหมี หรือโจ๊กเป็ นปริศนาที่ให้ความสาคัญกับภาษาเป็ นอย่างยิ่ง ปริศนากลุม่ นีผ้ กู ขึน้ จากการ


สังเกตคาต่างๆ จนทาให้เห็นว่า คาเหล่านัน้ มีลกั ษณะเด่นบางอย่างร่วมกัน ซึ่งสามารถนามาสร้างเป็ น
ปริศนาได้ และนาคาต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กนั มารวมเป็ นหมวดหมู่ เพื่อใช้เล่นทายดังในตัวอย่างนี ้
นามนางยักษ์ รักพระ อภัยท่าน
(ผีเสือ้ สมุทร)
นามแหล่งธาร ขานไข กว้างใหญ่แสน
(มหาสมุทร)
นามนาวา ค้าของ ล่องข้ามแดน
(เรือเดินสมุทร)
นามถิ่นที่ พระสี่แขน แม้นบรรทม
(เกษียรสมุทร) (ประสิทธิ์ ประสิว)

ความใส่ใจภาษาทาให้ผคู้ ิดปริศนานีส้ งั เกตเห็นว่าในภาษาไทยมีคาที่ลงท้ายด้วย "สมุทร" อยู่กลุม่ หนึ่ง จึง


ได้นามาผูกเป็ นปริศนา
๓) เนือ้ หาเกิดจากความคิดสร้างสรรค์ท่แี หวกขนบ

เนือ้ หาของปริศนาคาทายสร้างขึน้ จากความคิดสร้างสรรค์ท่แี หวกขนบ ไม่ได้อิงกับความรูต้ ามแบบแผน


ลักษณะดังกล่าว ทาให้ปริศนาคาทายต่างจากปัญหาทั่วๆ ไป และปัญหาทางวิชาการ ดังจะเห็นได้จาก
ตัวอย่างนี ้

ปัญหาวิชาการ : สองบวกสอง ได้อะไร (คาตอบ : สี่)


ปริศนาคาทาย : สองบวกสอง ได้อะไร (เฉลย : กระต่าย พูดพร้อมยกมือที่ชนู วิ ้ ชีแ้ ละนิว้ กลางทัง้ สอง
ข้างขึน้ ไปวางไว้เหนือศีรษะ)

จะเห็นว่า คาถามทัง้ สองมีเนือ้ ความเหมือนกัน แต่ปัญหาวิชาการมีเนือ้ หาอิงกับความรูท้ างคณิตศาสตร์


ในขณะที่ปริศนาคาทายอิงกับความคิดสร้างสรรค์ท่แี หวกขนบ ในตัวอย่างแรกซึ่งเป็ นคาถามเชิงวิชาการนัน้
ผูฟ้ ั งต้องใช้ความรูท้ างคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาว่า เมื่อรวมจานวน "สอง" กับ "สอง" ผลลัพธ์จะได้เท่าไร
คาตอบคือ "สี่" ในทางตรงกันข้ามสาหรับปริศนาคาทายนัน้ ใช้แนวคิดนอกกรอบในการผูกปริศนา
กล่าวคือ "สอง" ในปริศนานี ้ มิได้หมายถึง ตัวเลขในทางคณิตศาสตร์ แต่หมายถึง จานวนนิว้ มือ
และ "บวก" ในที่นมี ้ ิได้ตอ้ งการทราบผลรวมของจานวนนิว้ มือ หากแต่ตอ้ งการทายว่า อากัปกิรยิ าที่เกิดจาก
การรวมมือทัง้ สองที่ชสู องนิว้ เข้าด้วยกัน สามารถตีความถึงอะไรได้บา้ ง"สอง" ในที่นคี ้ ือ "สองนิว้ " ซึ่งสื่อ
ถึง "หูกระต่าย"
ปัญหาวิชาการ : อะไรอยู่ใต้สะพานพุทธ (คาตอบ : แม่นา้ เจ้าพระยา)
ปริศนาคาทาย : อะไรเอ่ยอยู่ใต้สะพานพุทธ (เฉลย : สระอุ)

ปัญหาวิชาการข้างต้นนัน้ อิงกับความรูท้ างภูมิศาสตร์ ดังนัน้ คาตอบที่ถกู ต้องคือ แม่นา้ เจ้าพระยา ในทาง


กลับกัน ปริศนาคาทายที่ใช้คาถามเดียวกัน ไม่ได้สร้างขึน้ จากพืน้ ความรูต้ ามแบบแผนอย่างปัญหาวิชาการ
หากแต่ม่งุ ที่จะถามลักษณะ ที่เกี่ยวกับรูปเขียนของคาว่า "สะพานพุทธ" เป็ นสาคัญ

สาหรับเนือ้ หาหลักของปริศนาผะหมีและโจ๊กนัน้ ส่วนหนึ่งเกิดจากความคิดสร้างสรรค์ในการจัดหมวดหมู่


คาต่างๆ ในภาษาไทย ดังที่ได้กล่าวไปแล้ว การจัดหมวดหมู่โดยพิจารณาจากลักษณะร่วมทางภาษานับได้
ว่า เป็ นความคิดสร้างสรรค์อย่างหนึ่ง ดังตัวอย่างนี ้
ดารานา งามแท้ เล่นแม่เบีย้ (มะหมี่)
ช่วยชมเชียร์ ภูษา ผ้าลายสี (มัดหมี่)
อาหารจีน กินได้ หลายเส้นดี (บะหมี่)
ลพบุรี มีนาม เด่นอาเภอ (บ้านหมี่)
(ประสิทธิ์ ประสิว)
ในปริศนานี ้ หากพิจารณาในโลกของความเป็ นจริงจะพบว่า "มะหมี่" "มัดหมี่" "บะหมี่" และ "บ้านหมี่" นัน้
ไม่ได้มีความเกี่ยวข้องกันแต่อย่างใด อย่างไรก็ดี หากมองโดยใช้เกณฑ์ทางด้านรูปภาษา เราก็จะพบ
ลักษณะความสัมพันธ์ท่โี ดดเด่นระหว่างคาทัง้ สี่คือ ลงท้ายด้วยคาว่า "หมี่" เหมือนกัน ซึ่งความคิดเชิง
สร้างสรรค์ ในการมองความสัมพันธ์ระหว่างคาเรียกสิ่งต่างๆ เหล่านี ้ ทาให้เห็นลักษณะเด่นที่สามารถ
นามาใช้ในการผูกปริศนาขึน้
ลักษณะเด่นทางภาษา
ลักษณะเด่นอีกส่วนหนึ่งของปริศนาคาทายคือ ลักษณะเด่นทางภาษา ภาษามีส่วนประกอบหลัก ๒ ส่วน
คือ รูปภาษา และความหมาย ดังนัน้ ในการพิจารณาลักษณะเด่นทางภาษาของปริศนาคาทาย จึงควร
พิจารณาใน ๒ ส่วนดังกล่าว
ก. ลักษณะเด่นทางรูปภาษา
ลักษณะเด่นทางรูปภาษาของปริศนาคาทายมีหลายอย่าง อาทิเช่น การเล่นเสียงสัมผัส การซา้ คา และการ
ใช้คาผวน
๑) การเล่นเสียงสัมผัส
การเล่นเสียงสัมผัสเป็ นลักษณะเด่นอย่างหนึ่งของปริศนาคาทายไทย ปริศนา "อะไรเอ่ย" มักจะมีลกั ษณะ
เป็ นร้อยแก้ว ที่มีสมั ผัสคล้องจอง สัมผัสที่ใช้มีทงั้ สัมผัสสระและสัมผัสพยัญชนะ สัมผัสที่พบมากคือ สัมผัส
สระ ดังเช่นในตัวอย่างต่อไปนี ้

อะไรเอ่ย หน้างอคออ่อน กินก่อนทุกวัน (เฉลย : ทัพพี)


ในปริศนานีม้ ีเสียงสัมผัสสระระหว่างคาว่า "งอ" กับ "คอ" และระหว่างคาว่า "อ่อน" กับ "ก่อน" นอกจากนีย้ งั
มีเสียงสัมผัสพยัญชนะ ระหว่างคาว่า "กิน" กับ "ก่อน"
อะไรเอ่ย ตาสองชัน้ ฟั นสองหน คนสามขา (เฉลย : แว่นตา ฟั นปลอม ไม้เท้า)
สัมผัสสระที่พบในปริศนานีเ้ กิดจากคาว่า "ชัน้ " กับ "ฟั น" และ คาว่า "หน" กับ "คน" นอกจากนีย้ งั มีสมั ผัส
พยัญชนะระหว่างคาว่า "คน" และ "ขา"
บทที่๓ วิธีการดาเนินการและอุปกรณ์
อุปกรณ์และวัสดุที่ใช้ในการศึกษา
๑. หนังสือที่เกี่ยวข้องกับคาปริศนาคาทายภาคเหนือ
๒. อินเตอร์เน็ตสืบค้น
๓. ปากกา
๔. แฟ้มเก็บเอกสาร
๕. อุปกรณ์ต่างๆ
วิธีการศึกษา
การศึกษาปริ ศนาคาทายทรงภาคเหนือคณะผูศ้ ึกษามีวิธีการดาเนินการศึกษาค้นคว้าเป็ นขั้นตอนดังนี้
๑. ประชุมวานแผนกับสมาชิก
๒. แบ่งหน้าที่ให้กบั สมาชิกในกลุ่ม
๓. ศึกษาค้นคว้าปริ ศนาคาทาย
๔. รวบรวมข้อมูล
๕. สรุ ปผลงานการศึกษารวบรวมข้อมูล
๖. นาเสนอข้อมูล
บทที่๔ผลการศึกษา
การศึกษาปริศนาคาทายในท้องถิ่นนัน้ สามารถรวบรวมปริศนาคาทายได้ ๑๐ คาทาย และแยกออกเป็ น
หมวดๆได้ทงั้ หมด ๘ หมวด ดังนี ้
๑. ปริศนาคาทายหมวดสัตว์
๒. ปริศนาคาทายหมวดพืช
๓. ปริศนาคาทายหมวดของใช้ในชีวิตประจาวัน
๔. ปริศนาคาทายหมวดอวัยวะ
๕. ปริศนาคาทายหมวดการทามาหากิน
๖. ปริศนาคาทายหมวดคาผวน
๗. ปริศนาคาทายหมวดการใช้ภาษาสองแง่สองง่าม
๘. ปริศนาคาทายหมวดทั่วไป

ปริศนาคาทายหมวดสัตว์
อะไรเอ่ย สี่ตีนผาดโผน สองโคนหกยอด
คาคล้องจอง โผน – โคน
ความหมาย เป็ นสัตว์สี่เท่า มีเขาสองเขาแต่ปลายเขา
มีหกยอด
คาตอบ กวาง

ปริศนาคาทายหมวดพืช
อะไรเอ่ย ไอ้แดงไปเที่ยว ไอ้เขียวอยู่บา้ น
คาคล้องจอง เที่ยว – เขียว
ความหมาย ไอ้แดงไปเที่ยว หมายถึง ที่เป็ นสีแดงเขาเก็บไปกิน
ไอ้เขียวอยู่บา้ น หมายถึง สีเขียวอยู่กบั ต้น
คาตอบ พริก

ปริ ศนาคาทายหมวดของใช้ในชีวิตประจาวัน
อะไรเอ่ย สี ซุม้ สี่ เสา สี ซุม้ นกเขา สี เสานางนอน
คาคล้องจอง เสา – เขา – เสา
ความหมาย ใช้เสาสี่ ตน้ สาหรับผูกเพื่อใช้ในการนอน คาตอบ มุ้ง
ปริ ศนาคาทายหมวดอวัยวะ
อะไรเอ่ย หนองน้อยหนองแหน ก้มลงแลปากเบี้ยวถึงหู
คาคล้องจอง แหน – แล
ความหมาย
หนองน้อยหนองแหน ( หนองแหนเป็ นคาเสริมบท ไม่มีความหมาย ใช้ให้เกิดคาสัมผัสคล้อง
จอง ) หมายถึง แอ่งน้อยๆ
ก้มลงแลปากเบี้ยวถึงหู หมายถึง เมื่อก้มดูปากจะเบี้ยว
คาตอบ รักแร้

ปริ ศนาคาทายหมวดการทามาหากิน

อะไรเอ่ย ข้างใต้รนข้างบนกด พอถึงกาหนดเอามือคลาแล


คาคล้องจอง รน – บน กด – หนด
ความหมาย
รน หมายถึง ดิ้น
คลาแล ( ภาษาถิ่น) หมายถึง คลาดู
คาตอบ คนสุ่ มปลา

ปริ ศนาคาทายหมวดการใช้คาผวน
อะไรเอ่ย ฝรั่งทา จีนขาย ไทยเขียน
ความหมาย
ข้อความข้างหน้าเป็ นการหลอก ส่วนคาตอบอยูท่ ี่ขอ้ ความหลัง คือ ไทยเขียน
คาตอบ เทียนไข

ปริ ศนาคาทายหมวดการใช้ภาษาสองแง่สองง่าม
อะไรเอ่ย รู ปร่ างเหมือนใบพลู มีขนรุ มรู่ มีรูตรงกลาง
คาคล้องจอง พลู – รู่ – รู
ความหมาย
รุ มรู่ (ภาษาถิ่น ) หมายถึง รุ งรัง คาตอบ ใบหูควาย
ปริ ศนาคาทายหมวดทัว่ ไป

อะไรเอ่ย สาวน้อยอยูใ่ นวัง ไม่สั่งไม่ออก


คาคล้องจอง วัง – สั่ง
คาภาษาถิ่น ไม่มี
คาตอบ น้ามูก
บทที่๕ อภิปรายและข้ อเสนอแนะ
สรุปผลการศึกษา
๑. ประโยชน์ทไี่ ด้รับจากการทาโครงงาน
– ได้ปริศนาคาทายในท้องถิ่น โดยการรวบรวมไว้ศึกษาเอง และให้ผอู้ ่ืนได้ศึกษา ได้ทงั้ หมด ๘ หมวด มี
๑. ปริศนาคาทายหมวดสัตว์ ๑ คาทาย
๒. ปริศนาคาทายหมวดพืช ๑ คาทาย
๓. ปริศนาคาทายหมวดของใช้ในชีวิตประจาวัน ๑ คาทาย
๔. ปริศนาคาทายหมวดอวัยวะ ๑ คาทาย
๕. ปริศนาคาทายหมวดการทามาหากิน ๑ คาทาย
๖. ปริศนาคาทายหมวดการใช้คาผวน ๑ คาทาย
๗. ปริศนาคาทายหมวดการใช้คาสองแง่สองง่าม ๑ คาทาย
๘. ปริศนาคาทายหมวดทั่วไป ๑ คาทาย
ได้ปริศนาคาทายทัง้ หมด ๘ คาทาย
– รูจ้ กั คาและความหมายของภาษาถิ่นในปริศนาคาทาย เช่น
ว่ง หมายถึง โหว่
นกคูด หมายถึง นกกะปูด
ลุกขี ้ หมายถึง ก้น
ฯลฯ
– ได้เรียนรูค้ าคล้องในปริศนาคาทายทาให้เข้าใจคาคล้องจองดียิ่งขึน้ เช่น
อะไรเอ่ย มาจากเมืองเทศ มีจกุ บนเกศ มีตารอบตัว
เทศ คล้องจองกับคาว่า เกศ
อะไรเอ่ย ไอ้ขนยนไอ้แขวน นา้ ออก
ขน คล้องจองกับคาว่า ยน
อะไรเอ่ย กะลุม่ กะหลู วิ่งลงรูปิดหางไม่เม็ด
หลู คล้องจองกับคาว่า รู
–เห็นคุณค่าของปริศนาทาทาย โดยได้รวบรวมปริศนาคาทายที่ได้ศกึ ษาไว้เป็ นรูปเล่มของเอกสารและจะหา
เพิ่มเติมจากหมู่บา้ นอื่นๆ ที่ใกล้เคียงบันทึกเพิ่มเติม
๒. การนาผลการศึกษาไปใช้
–นาปริศนาคาทายมาทายกับเพื่อน ๆ ในเวลาว่าง ทาให้สนุกสนานและเกิดปัญญา
–ใช้ภาษากลางได้ดีขนึ ้ โดยไม่นาภาษาถิ่นมาใช้ปะปนกับภาษากลาง
–เข้าใจคาคล้องจอง สามารถเขียนบทร้อยกรอง และปริศนาคาทายง่าย ๆ ได้
–ได้นาปริศนาคาทายที่ได้จากการศึกษา เผยแพร่แก่เพื่อน ๆ น้อง ๆ และผูท้ ่สี นใจ โดยการทายในเวลาว่าง
ทัง้ ที่บา้ นและที่โรงเรียน จัดทาเอกสารไว้ในห้องเรียนและห้องสมุดโรงเรียน

๓. ข้อเสนอแนะ
จากการศึกษาปริศนาคาทายในท้องถิ่น ทาให้เห็นคุณค่าของปริศนาคาทาย ต้องการให้ทกุ คนได้ศกึ ษา
ปริศนาคาทายที่ได้รวบรวมไว้ และถ้ามีโอกาสน่าจะศึกษาเพิ่มเติมให้มากกว่านี ้
การที่ได้พบปะกับคนแก่ ๆ ในหมู่บา้ น ทาให้รูจ้ กั สิ่งดี ๆ อีกหลายอย่าง เช่น เพลงกล่อมเด็ก ภาษาถิ่น เพลง
บอก เพลงนา ซึ่งสิ่งเหล่านีเ้ ป็ นวัฒนธรรมของท้องถิ่น ควรอนุรกั ษ์ไว้ให้ชนรุ่นหลังได้รูจ้ กั เพื่อที่จะได้รกั และ
หวงแหนไว้ และน่าจะทาโครงงานเรื่องเหล่านีใ้ นโอกาสต่อไป
บรรณานุกรม

สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ .(๒๕๔๗) โครงงานชนะการประกวดกลุม่ สาระการเรียนรู ้


ภาษาไทน ช่วงชัน้ ที่๓.กรุงเทพฯ:พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
Dino Graphic.ปริศนาคาทายมหาสนุก. (กรุงเทพฯ). คลื่นอักษรจูเนียร์

(๒๕๖๖)โครงงานชนะการประกวด กลุม่ สระการเรียนรูภ้ าษาไทย. สืบค้นเมื่อ ๒๔ สิหาคม


๒๕๖๖,จาก wedsite:www.iadth.com
มหาสนุกกับอะไรเอ่ยกันเถอะ สืบค้นเมื่อ ๒๔ สินหาคม ๒๕๖๖, จาก
https://www.naiin.com

You might also like