การเกิดกระแสประสาท

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 67

23/08/64

การเกิดกระแสประสาท
Nerve Impulse

ขั้นตอนการเกิดกระแสประสาท
1. ระยะพัก (Resting potential หรือ Polarization)
2.ระยะดีโพลาไรเซชัน (Depolarization)
3.ระยะรีโพลาไรเซชัน (Repolarization)
4.ระยะไฮเพอร์โพลาไรเซชัน (Hyperpolarization หรือ Undershoot)

1
23/08/64

ระยะพัก
Resting potential หรือ Polarization
1 3


เป็นระยะก่อนที่เซลล์ประสาทจะถูกสิ่งเร้ากระตุ้น เซลล์มีค่าศักย์ไฟฟ้าเยือ่
เซลล์ -70 mV มีการเคลื่อนที่ของไอออนผ่าน Na-K pump
และช่อง leak channel ตามปกติ

2
23/08/64

3
23/08/64

ระยะดีโพลาไรเซชัน
Depolarization
2 8

4
23/08/64

เซลล์ถูกกระตุ้นด้วยสิ่งเร้าที่แรงพอ เรียกว่า “Threshold level” จะทำให้ศักย์ไฟฟ้า


เยื่อเซลล์เพิ่มสูงขึ้นจนถึง -55 mV เกิดการตอบสนองของเยื่อหุ้มบริเวณแอกซอน
เรียกว่า Action potential แต่เมื่อระดับความแรงสิ่งเร้าเกิน threshold level
แล้ว เซลล์ประสาทจะยังคงตอบสนองแบบเดิม เรียกว่า all or none response

เซลล์ประสาทมีการตอบสนองดังนี้
- โปรตีน Voltage-gated Na+ channel เปิดออก Na+ จาก
ภายนอกเซลล์แพร่เข้าสู่เซลล์จำนวนมาก
- ศักย์ไฟฟ้าเยื่อหุ้มเซลล์เพิ่มสูงขึ้นจนถึงประมาณ +40 mV

10

5
23/08/64

11

12

6
23/08/64

ระยะรีโพลาไรเซชัน
Depolarization
3 13

เมื่อศักย์ไฟฟ้าเยื่อเซลล์เพิ่มขึ้นจนถึง +40mV แล้ว Voltage-gated Na+


channel จะหยุดทำงาน การแพร่ของ Na+ จะหยุดลง ทำให้เกิดเหตุการณ์ดังนี้
- โปรตีน Voltage-gated K+ channel เปิดออก K+ จากภายใน
เซลล์แพร่ออกนกเซลล์จำนวนมาก
- ศักย์ไฟฟ้าเยื่อหุ้มเซลล์ลดต่าลงอย่างรวดเร็ว จนกลับมาที่ -70mV เท่ากับ
ระยะพัก

14

7
23/08/64

15

ระยะไฮเพอร์โพลาไรเซชัน
Hyperpolarization หรือ Undershoot
4 16

8
23/08/64

แม้ว่าการเกิด repolarization ทำให้ศักย์ไฟฟ้าเยื่อเซลล์กลับมาที่ -70 mV แล้ว


แต่เนื่องจาก voltage-gated K+ channel ไม่สามารถหยุดได้ทันที ทำให้ K+
แพร่ออกนอกเซลล์เซลล์ต่อไป ทำให้ศักย์ไฟฟ้าต่าจนถึง -80 mV แต่สุดท้ายศักย์ไฟฟ้า
จะกลับเข้าสู่ระยะพักอีกครั้ง จากการทำงานของ Na-K pump (โซเดียมโพแทสเซียม
ปั๊ม) ที่ยังคงเกิดขึ้นตลอดเวลา

17

18

9
23/08/64

19

20

10
23/08/64

21

22

11
23/08/64

การเคลือ่ นทีข่ องกระแสประสาท


(Signal within Cell)

24

12
23/08/64

◉ เมื่อเซลล์ประสาทถูกกระตุ้นจนเกินค่า threshold level ทาให้


เกิดกระแสประสาท ณ บริเวณที่เกิด depolarization
โปรตีน voltage – gated Na+ channel เปิดออกทาให้
Na+ แพร่เข้าสู่เซลล์อย่างรวดเร็ว จากนั้นเกิดเหตุการณ์ดังนี้

25

การแพร่ของ Na+ ไปตามความยาวของ axon

◉ Na+ ที่เข้ามาภายในเซลล์ ณ จุดที่ถูกกระตุ้น จะแพร่ไปบริเวณข้างเคียง


แล้วเหนี่ยวนาให้ voltage-gated Na+ channel บริเวณข้างเคียงเปิด
ออกถัดไปเรื่อยๆเป็นปฏิกิริยาลูกโซ่ เรียกว่า “continuous
conduction”

26

13
23/08/64

การไหลของกระแสไฟฟ้า

◉ เกิดจากบริเวณที่ถูกกระตุ้นเกิด depolarization ทาให้ภายในเซลล์มี


ศักย์ไฟฟ้าสูงขึ้นจาก Na+ ที่แพร่เข้ามา จากนั้นบริเวณข้างเคียงเมื่อถูก
เหนี่ยวนาจึงเกิด depolarization ตามมาและเกิดต่อเนื่องกันไปเป็น
ทอดๆ ตลอดความยาวของ axon

27

◉ Action potential ที่เกิดขึ้นบนเยื่อเซลล์ตาแหน่งหนึ่ง จะทาให้เยื่อ


เซลล์ตาแหน่งใกล้เคียงเกิด depolarization ได้ และเมื่อ
depolarization ถึง threshold ก็จะเกิดเป็น action potential
ต่อเนื่องกันไปเป็นลาดับ ทาให้ดูเหมือนเป็นการเกิดเป็นกระแส
ประสาทส่งผ่าน axon ไปแบบต่อเนื่อง (continuous conduction)

28

14
23/08/64

การนำกระแสประสาทในใยประสาทที่มีเยื่อหุ้ม ( myelinated fiber )


◉ เซลล์ประสาทบางชนิด axon มี myelin sheath หุ้ม ทาให้เยื่อเซลล์มี
บริเวณที่สัมผัสกับของเหลวภายนอกไม่มากนัก เซลล์ประสาทจะส่ง action
potential แบบกระโดด (saltatory conduction)

29

◉ โดยจะเกิด depolarization ที่บริเวณ รอยต่อของ myelin


sheath หรือ node of Ranvier ซึ่งเป็นบริเวณที่มักสัมผัส
กับของเหลวนอกเซลล์ และมี ion channels หนาแน่น
ไอออนจึงสามารถผ่านเข้าออกเยื่อหุ้มเซลล์ใน บริเวณนี้ได้

30

15
23/08/64

◉ การส่ง action potential ไปตาม axon เกิดได้อย่างรวดเร็วด้วย


ความเร็วสูงสุดถึง 100 เมตรต่อวินาที หรือ 360 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
เทียบเท่ากับความเร็วของรถไฟความเร็วสูง ทาให้การส่งสัญญาณกระแส
ประสาทจากศีรษะถึงปลายเท้าของคนใช้เวลาน้อยกว่า 0.02 วินาที

31

32

16
23/08/64

33

34

17
23/08/64

การถ่ายทอดกระแสประสาทระหว่างเซลล์
(Synapse หรือ Signal Cell to Cell)

การถ่ายทอดกระแสประสาทระหว่างเซลล์
เป็นการถ่ายทอดกระแสประสาทจากแอกซอนของเซลล์ประสาทหนึ่งไปยังเดนไดรท์ของอีกเซลล์
ประสาทหนึ่ง หรือเซลล์กล้ามเนื้อ หรือเซลล์ต่อมก็ได้ เรียกเซลล์ที่ส่งกระแสประสาท ว่า
presynaptic cell เรียกเซลล์รับกระแสประสาทว่า postsynaptic cell และเรียกช่องว่างระหว่าง
เซลล์ที่เกิดการส่งว่า ช่องไซแนปส์ (Synaptic cleft)

36

18
23/08/64

รูปแบบการไซแนปส์ มึ 2 รูปแบบ

การไซแนปส์ไฟฟ้า (electrical synapse) การไซแนปส์เคมี (chemical synapse)

◉ เป็นการแพร่ของไอออนจากเซลล์หนึ่ง ◉ เป็นการส่งสัญญาณจากเซลล์หนึ่งไปยังอีก
ไปยังอีกเซลล์หนึ่งโดยตรง ผ่านช่อง เซลล์หนึ่งโดยใช้ สารสื่อประสาท
(neurotransmitter) ที่บรรจุในถุง
เล็กๆเรียกว่า gap junction synaptic vesicle
◉ ข้อดี คือการไซแนปส์เกิดขึ้นได้เร็ว ◉ ข้อดี คือควบคุมการการตอบสนองของเซลล์
◉ ข้อเสีย คือควบคุมปริมาณและทิศทาง รับสัญญาณได้ดี
ได้ยาก ◉ ข้อเสีย คือทางานช้ากว่าไซแนปส์ไฟฟ้า

37

◉ Electrical synapse ◉ Chemical synapse

38

19
23/08/64

ขั้นตอนการทางานของ chemical synapse


◉ เมื่อกระแสประสาทเคลื่อนที่มายัง synaptic terminal จะเหนี่ยวนาให้ Ca+ channel ของ presynaptic cell เปิดออก
ทาให้ Ca+ แพร่เข้ามาในเซลล์
◉ Ca+ ที่แพร่เข้ามาจะกระตุ้นในถุงบรรจุสารสื่อประสาท เคลื่อนออกนอกเซลล์ไปยัง synaptic cleft ด้วยวิธี exocytosis
◉ Synaptic vesicle ไปจับกับโปรตีนตัวรับบนเยื่อหุม้ เซลล์บริเวณเดนไดรท์ของ postsynaptic cell กระตุ้นให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลง 2 แบบ
◉ เกิด depolarization
◉ เกิด hyperpolarization
◉ การส่งกระแสประสาทจะหยุดลงเมื่อ neurotransmitter หลุดออกจากบริเวณไซแนปส์ มีได้หลายวิธี เช่น การแพร่ออกไป
ยังบริเวณอื่นของเซลล์และถูกกาจัดโดยระบบเลือด, การถูกกาจัดโดยเอนไซม์ที่จาเพาะเจาะจง, การ active transport
เข้าสู่ presynaptic cell เพื่อใช้งานอีกครั้ง

39

40

20
23/08/64

สารสือ่ ประสาท (Neurotransmitter)


◉ คือสารเคมีที่ทาหน้าที่ในการนา ขยาย และควบคุมสัญญาณไฟฟ้าจากเซลล์ประสาทหนึ่ง
ไปยังเซลล์หนึ่ง เช่น โดปามีน (Dopamine) เซโรโทนิน (Serotonin) อะซิติลโคลีน
(Acetyl choline)

41


สารสือประสาท

42

21
23/08/64

สารเคมีทมี่ ผี ลต่อการไซแนปส์ เกิดได้ 2 แบบ


◉ สารที่ส่งผลให้เกิดกระแสประสาทมากเกินไป : ทาให้เกิดอาการตื่นตัว เช่น
◉ Amphetamine : ทางานแทนสารสื่อประสาทได้ ทาให้ postsynaptic cell ถูกกระตุ้น
มากกว่าปกติ
◉ Caffeine : กระตุ้นให้ presynaptic cell ปล่อยสารสื่อประสาทมากกว่าปกติ
◉ Cocaine : ยับยั้งการทาลายสารสื่อประสาท ทาให้ postsynaptic cell ได้รับสารสื่อ
ประสาทนานกว่าปกติ

43

◉ สารที่ส่งผลยับยั้งการส่งกระแสประสาท (neurotoxin) : ทาให้เกิดกล้ามเนื้ออ่อนแรง เช่น


◉ พิษจากปลาปักเป้า (tetadotoxin) : ยับยั้ง voltage gated Na+ channel จึงส่งต่อกระแส
ประสาทไม่ได้ ทาให้รู้สึกชา
◉ พิษจาก Clostridium botulinum : พบในอาหารกระป๋องที่ผลิตด้วยความร้อนต่ากว่า 100 oC
สารพิษจะจับกับ presynaptic terminal membrane ยับยั้งการหลั่งสารสื่อประสาท ทาให้กล้ามเนื้อ
อ่อนแรงจนเป็นอัมพาต
◉ พิษงู (Venom) : สารพิษส่งผลทาลายตัวรับของ postsynaptic cell ทาให้เกิดอาการอ่อนแรง
◉ ยาระงับประสาท : สารยับยั้งการหลั่งสารสื่อประสาทไปยังสมอง ทาให้สมองสงบลงได้

44

22
23/08/64

45

ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อความเร็วในการนากระแสประสาท
◉ ขนาดของเส้นผ่าศูนย์กลางของเซลล์ประสาท
◉ จานวนเยื่อหุ้มไมอีลีน
◉ ระยะห่างระหว่างโนดออฟเรนเวียร์
◉ จานวนไซแนปส์

46

23
23/08/64

ระบบประสาทของมนุษย์
(Human nervous system)
47

ระบบประสาทของมนุษย์ (Human nervous system)


ประกอบด้วยระบบประสาทส่วนกลาง และระบบประสาทรอบนอก มีแผนผังองค์ประกอบ ดังนี้

ระบบประสาท (Nervous system)


ระบบประสาทส่วนกลาง ระบบประสาทรอบนอก
(central nervous system) (peripheral nervous system)

สมอง (brain) ไขสันหลัง (spinal cord) ส่วนสั่งการ ส่วนรับความรู้สึก


(motor pathway) (sensory pathway)

ระบบประสาทอัตโนวัติ ระบบประสาทโซมาติก
(autonomic nervous system) (somatic nervous system)

ระบบประสาทซิมพาเธติก ระบบประสาทพาราซิมพาเธติก
(sympathetic nervous system) (parasympathetic nervous system)
48

24
23/08/64

ระบบประสาทส่วนกลาง (Central nervous system : CNS)

ทาหน้าที่ควบคุมการทางาน
ส่วนต่างๆของร่างกาย เกิดจากเซลล์
ประสาทหลายล้านเซลล์ที่พัฒนามาจาก
“ท่อประสาท (neural tube)” ในระยะ
เอ็มบริโอ โดยด้านหน้าจะโป่งออกเป็น
สมอง ส่วนที่เหลือเจริญเป็นไขสันหลัง

49

สมอง (Brain) : มีหน้าที่ควบคุมสั่งการการเคลื่อนไหวของร่างกายทั้งหมด และประมวลผลความคิดความจา

50

25
23/08/64

เยื่อหุ้มสมอง (meninges) : เป็นเยื่อหุ้มที่อยูร่ ะหว่างกะโหลกศีรษะกับเนื้อเยื่อสมอง มี 3 ชั้น ได้แก่

◉ เยื่อหุ้มชั้นนอก (Dura mater) เป็นเส้นใยคอลลาเจน


หนาที่สุด เหนียวและแข็งแรง ป้องกันการกระแทก
◉ เยื่อหุ้มชั้นกลาง (Arachnoid) เป็นเยื่อบางๆของเส้น
ใยคอลลาเจนและอีลาสตินสานเป็นร่างแห
◉ เยื่อหุ้มชั้นใน (Pia mater) เป็นชั้นบางที่สุด มีหลอด
เลือดอยู่มากมายช่วยลาเลียงสารอาหารจากน้าเลี้ยง
สมองไปยังสมอง

51

น้้าเลีย้ งสมองและไขสันหลัง (cerebrospinal fluid หรือ CFS)


◉ เป็นของเหลวที่อยู่ภายในโพรงช่องว่าง
ระหว่างเยื่อหุ้มสมองชั้นกลางและชั้นใน
ช่วยในการลาเลียงสารอาหารและแก๊ส
ต่างๆไปยังสมอง นาของเสียออกจาก
ระบบประสาทส่วนกลาง และป้องกัน
การกระทบกระเทือนได้

52

26
23/08/64

เนื้อสมอง : มี 2 ส่วน ได้แก่


◉ สมองเนื้อเทา (Gray matter) อยู่รอบนอกของ
สมอง ประกอบด้วยตัวเซลล์ประสาท เดนไดรต์
และเซลล์เกลีย ซึ่งมีสีเทา ทาหน้าที่ควบคุมการ
ทางานของกล้ามเนื้อ การให้ความรู้สึก ประสาท
สัมผัส ความนึกคิด ความจา สมองเนื้อเทามี
ความต้องการใช้ออกซิเจนสูงกว่าเนื้อเยือ่ ทุกชนิด
ในร่างกาย เมื่อเกิดภาวะสมองขาดออกซิเจน จะ
ส่งผลรุนแรงทาให้เกิดภาวะอัมพฤกษ์-อัมพาต

53

เนื้อสมอง : มี 2 ส่วน ได้แก่

สมองเนื้อขาว (White matter) อยู่


ใต้สมองเนื้อเทา ประกอบด้วยเซลล์
เกลียและแอกซอนทีมีเยื่อไมอีลีนสี
ขาวหุ้ม จึงเห็นเป็นสีขาว ทาหน้าที่
ส่งกระแสประสาทออกจากเซลล์สมอง

54

27
23/08/64

การท้างานของสมอง
◉ สมองซีกซ้ายจะควบคุมการทางานของ
กล้ามเนื้อและประสาทสัมผัสของ
ร่างกายซีกขวา ส่วนสมองซีกขวาจะ
ควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อและ
ประสาทสัมผัสของร่างกายซีกซ้าย

55

ไขสันหลัง (Spinal cord)


◉ เป็นส่วนของระบบประสาทที่ต่อออกมาจากเมดัลลา
ออบลองกาตา อยู่ภายในกระดูกสันหลัง ตั้งแต่กระดูก
สันหลังข้อแรกจนถึงกระดูกสันหลังบริเวณบั้นเอวข้อที่ 2
และมีเยื่อหุ้มเช่นเดียวกับสมอง
◉ ไขสันหลังบริเวณอกและเอวขยายกว้างกว่าส่วนอื่น ๆ
เมื่อเลยกระเบนเหน็บลงไปแล้ว จะเรียวเล็กจนมี
ลักษณะเป็นเส้นไม่มีเยื่อหุ้ม ดังนั้นการฉีดยาเข้าที่
บริเวณไขสันหลังและเจาะน้าบริเวณไขสันหลังจึงทากัน
ต่ากว่ากระดูกสันหลังเอวข้อที่สองลงมา

56

28
23/08/64

เยื่อหุม้ ไขสันหลัง
มีเยื่อหุ้ม 3 ชั้น เหมือนกับสมอง
ได้แก่
- Dura matter
- Arachnoid
- Pia matter
แต่เยื่อหุ้มไขสันหลังจะหุม้ ไปจนถึง
กระดูกสันหลังข้อสุดท้ายเท่านั้น ทา
ให้เส้นประสาทบริเวณกระดูกบัน
เอวข้อที่ 1-2 ไม่มีเยื่อหุ้ม

57

เนื้อเยือ่ ไขสันหลัง : มี 2 ส่วน โดยที่สีของเนื้อเยื่อจะสลับกับเนื้อเยือ่ สมอง

เนื้อเยื่อขาว (white matter) อยู่ทางด้านนอก


ประกอบด้วยมัดแอกซอนที่มีเอไมอิลีนหุม้ จานวนมาก
เรียกว่า เส้นประสาท มี 2 ชนิด
- ascending tract : เส้นประสาทที่
ส่งสัญญาณไปยังสมอง
- descending tract : เส้นประสาทที่
ส่งสัญญาณไปยังหน่วยตอบสนอง

58

29
23/08/64

เนื้อเยือ่ ไขสันหลัง : มี 2 ส่วน โดยที่สีของเนื้อเยื่อจะสลับกับเนื้อเยือ่ สมอง


◉ เนื้อเยื่อเทา (gray matter) อยู่ถัดจากเนือ้ เยือ่ ขาวเข้าด้านใน มีลักษณะคล้ายตัว H ประกอบด้วย
ตัวเซลล์ประสาท เดนไดรต์ เซลล์เกลีย และแอกซอนที่ไม่มีเยื่อไมอิลีนหุม้ แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ

- ปีกบน (posterior horn หรือ dorsal horn)


: ส่วนของเนื้อสีเทาที่ยื่นไปข้างหลัง มีแอกซอน
ของเซลล์ประสาทรับความรู้สึกส่งสัญญาณประสาท
เข้าสู่ปีกบนทางรากบน (dorsal root)
- ปีกล่าง (anterior horn หรือ ventral horn)
: ส่วนของเนื้อเยื่อสีเทาที่ยื่นมาข้างหน้า มีแอกซอน
ของเซลล์ประสาทสั่งการ นากระแสประสาทออกทาง รากล่าง
(ventral root)

59

โครงสร้างของสมอง (Brain structure)

60

30
23/08/64

สมองส่วนหน้า (fore brain)


◉ สัตว์ชั้นสูงจะมีสมอง
ส่วนหน้าขนาดใหญ่
มีรอยหยักจานวนมาก

61

ซีรีบรัม (Cerebrum)
◉ เป็นสมองส่วนที่ใหญ่ที่สุด มีรอยหยักจานวนมาก แบ่งเป็นสองซีก แต่ละซีกเรียกว่า
cerebral hemisphere ซีกซ้ายควบคุมการคิดวิเคราะห์ ซีกขวาควบคุมอารมณ์ แต่ละซีก
แบ่งเป็น 4 พู ดังนี้
◉ Frontal lobe
◉ Temporal lobe
◉ Occipital lobe
◉ Parietal lobe

62

31
23/08/64

ทาลามัส (Thalamus)

◉ เป็นส่วนของสมองเนื้อเทาอยู่บน
ด้านไฮโพทาลามัส ทาหน้าที่ถ่ายทอด
กระแสประสาทที่รับมาจากไขสันหลัง
ไปยังสมองส่วนต่างๆ ทั้งยังควบคุม
สติสัมปชัญญะ ควบคุมการนอนหลับ
และควบคุมการตื่นตัวอีกด้วย

63

ไฮโพทาลามัส (Hypothalamus)
◉ อยู่ระหว่างทาลามัสและก้านสมอง ทาหน้าที่
หลายอย่าง ดังนี้
◉ เป็นศูนย์กลางของระบบประสาทอัตโนวัติ
◉ สร้างฮอร์โมนประสาท ควบคุมการทางานของ
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า
◉ สร้างฮอร์โมน ADH เพื่อควบคุมสมดุลน้าใน
เลือด และoxytocin ควบคุมการหลั่งน้านม
◉ ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย อารมณ์ความรู้สึก

64

32
23/08/64

อิพิทาลามัส (epithalamus)
◉ อยู่กึ่งกลางสมองส่วนซีรีบรัมซีกซ้ายและซีกขวา เป็นที่อยู่ของต่อมไพเนียล ที่สร้างฮอร์โมน melatonin ยับยั้ง
การเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุ์

65

ออลแฟคทอรีบัลบ์ (Olfactory bulb)

◉ เป็นส่วนที่อยู่ด้านหน้าสุดของสมอง
ส่วนหน้า ทาหน้าที่รับสัญญาณที่ส่ง
มาจากเซลล์รับกลิ่น ผ่านเส้นประสาท
สมองคู่ที่ 1 แล้วส่งไปประมวลผลต่อที่
ซีรีบรัม

66

33
23/08/64

สมองส่วนกลาง (Midbrain)

◉ เป็นสมองส่วนเล็กๆอยู่ด้านบนสุดของ
ก้านสมอง (brain stem) ทาหน้าที่
เป็นท่อส่งผ่านเส้นประสาทต่างๆ
ระหว่างสมองส่วนหน้ากับไขสันหลัง

67

สมองส่วนหลัง (Hindbrain) : เป็นส่วนหนึ่งของก้านสมอง


◉ ซีรีเบลลัม (cerebellum) : ควบคุมการทรงตัว
ของร่างกาย
◉ พอนส์ (Pons) : ควบคุมกล้ามเนื้อบริเวณ
ใบหน้า
◉ เมดัลลาออบลองกาตา (medulla oblongata)
: ควบคุมการทางานของร่างกายที่อยู่นอกเหนือ
อานาจจริงใจ เช่นการเต้นของหัวใจ การ
หายใจ การไอ การจาม การกลืน การหลั่ง
น้าลาย

68

34
23/08/64

ก้านสมอง (brain stem)

◉ เป็นส่วนเชื่อมต่อระหว่างสมองใหญ่กับ
ไขสันหลัง อาการผิดปกติเกี่ยวกับก้าน
สมองอาจทาให้ถึงตายได้ เพราะมีส่วน
ทาหน้าที่ควบคุมการเต้นของหัวใจ
ควบคุมการหายใจ และควบคุมวงจร
การนอนหลับ

69

ระบบประสาทรอบนอก
(Peripheral nervous system: PNS)
70

35
23/08/64

ระบบประสาทรอบนอก (peripheral nervous system)


◉ คือส่วนของระบบประสาทที่อยู่
นอกเหนือจากระบบประสาทส่วนกลาง
ได้แก่
◉ ส่วนระบบประสาทรับความรู้สึก ทาหน้าที่
รับการกระตุ้นและส่งสัญญาณไปยังระบบ
ประสาทส่วนกลาง
◉ ส่วนระบบประสาทสั่งการ ทาหน้าที่รับคา
สั่งจากระบบประสาทส่วนกลางแล้วส่ง
ต่อไปยังอวัยวะหรือต่อมต่างๆ

71

ชนิดของเส้นประสาท
◉ เส้นประสาทรับความรู้สึก (sensory
nerve) : รับความรู้สึกจากสิ่งเร้าและ
ส่งเข้าระบบประสาท
◉ เส้นประสาทสั่งการ (motor nerve)
: รับคาสั่งจากระบบประสาท
ส่วนกลางและส่งไปยังอวัยวะหรือต่อม
◉ เส้นประสาทผสม (mixed nerve) :
เป็นทั้งเส้นประสาทรับความรู้สึก
และเส้นประสาทสั่งการ

72

36
23/08/64

เส้นประสาทสมอง (cranial nerve : CN)

◉ เส้นประสาทที่แยกออกมาจาก
สมองเป็นคู่ๆ คนมี 12 คู่ มี
ทั้งเส้นประสาทรับความรู้สึก
เส้นประสาทสั่งการ
เส้นประสาทผสม รับ
ความรู้สึกและสั่งการบริเวณ
ศีรษะและลาตัว

73

รับกลิ่นต่างๆ
รับภาพต่างๆจากเรตินา
ควบคุมการยกหนังตา การกระพริบตา การขยาย-หดรูม่านตา
ควบคุมกล้ามเนื้อลูกตา การกลอกตาซ้าย-ขวา
ควบคุมและรับความรู้สึกของใบหน้า
ควบคุมการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อลูกตา
ควบคุมการแสดงสีหน้า การหลั่งน้าลาย รับรสชาติต่างๆ
รับสัญญาณเสียงและการทรงตัวของร่างกาย
รับรสชาติ ควบคุมต่อมน้าลาย ควบคุมการกลืนอาหาร
ควบคุมและรับความรู้สึกอวัยวะภายใน
ควบคุมกล้ามเนื้อคอ เช่น การเอียงคอ การยกไหล่
ควบคุมการกล้ามเนื้อลิ้น

74

37
23/08/64

75

เส้นประสาทไขสันหลัง (spinal nerve :SN)

◉ เส้นประสาทที่แยกออกมาจากไขสัน
หลัง คนมี 31 คู่ ทุกคู่เป็น
เส้นประสาทผสม รับความรู้สึกและ
สั่งการ แขน ขา และลาตัว โดย
เรียนชื่อตามตาแหน่งกระดูกสันหลัง

76

38
23/08/64

C1-C8 ควบคุม-รับความรู้สึก คอ อกส่วนบน และแขนด้านนอก


T1-T12 ควบคุม-รับความรู้สึก ลาตัว ท้องน้อย และแขนด้านใน
L1-L5 ควบคุม-รับความรู้สึก ขาหนีบ หน้าแข้ง หลังเท้า
S1-S5 ควบคุม-รับความรู้สึก สะโพก ขาด้านหลัง เท้าด้านนอก
Coccygeal ควบคุม-รับความรู้สึก อวัยวะสืบพันธุ์ ทวารหนัก

77

78

39
23/08/64

ระบบประสาทของมนุษย์ (Human nervous system)


ประกอบด้วยระบบประสาทส่วนกลาง และระบบประสาทรอบนอก มีแผนผังองค์ประกอบ ดังนี้

ระบบประสาท (Nervous system)


ระบบประสาทส่วนกลาง ระบบประสาทรอบนอก
(central nervous system) (peripheral nervous system)

สมอง (brain) ไขสันหลัง (spinal cord) ส่วนสั่งการ ส่วนรับความรู้สึก


(motor pathway) (sensory pathway)

ระบบประสาทอัตโนวัติ ระบบประสาทโซมาติก
(autonomic nervous system) (somatic nervous system)

ระบบประสาทซิมพาเธติก ระบบประสาทพาราซิมพาเธติก
(sympathetic nervous system) (parasympathetic nervous system)
79

ระบบประสาทสัง่ การ

◉ เป็นส่วนหนึ่งของระบบประสาทรอบ
นอกที่รับสัญญาณประสาทมาจากระบบ
ประสาทส่วนกลางและส่งต่อไปยังอวัยวะ
หรือต่อมต่างๆ ทั้งต่อมมีท่อและต่อมไร้
ท่อเพื่อให้ตอบสนอง แบ่งเป็น 2
ระบบย่อย ดังนี้

80

40
23/08/64

1. ระบบประสาทโซมาติก (Somatic nervous system : SNS)


◉ เป็นระบบประสาทที่ควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อลาย ซึ่งทางานภายใต้อานาจจิตใจ สามารถ
ควบคุมได้ (voluntary nervous system) เช่น การเดิน การนั่ง การแกว่งแขน

81

แผนภาพการท้างานของระบบประสาทโซมาติ
แผนภาพการท้ างานของระบบประสาทโซมาติกกแบบ Reflex action

สิ่งเร้า หน่วยรับความรู้สึก เซลล์ประสาทรับ สมอง


ไขสันหลัง
(อวัยวะรับสัมผัสต่างๆ) ความรู้สึก

ปฏิกิริยา หน่วยปฏิบัติงาน เซลล์ประสาท


ตอบสนอง (กล้ามเนื้อลาย) นาคาสั่ง

82

41
23/08/64

◉ การทางานของระบบประสาทโซมาติก มักอยู่ภายใต้อานาจจิตใจ แต่ก็มีการตอบสนองของกล้ามเนื้อ


ลาย ที่เป็นปฏิกริ ยิ ารีเฟล็กซ์ (Reflex action) คือ การทางานนั้นอยู่นอกอานาจจิตใจ ไม่ต้องผ่าน
สมอง เช่น การกระตุกหัวเข่าเมื่อมีการเคาะ ดึงมือเมื่อสัมผัสของร้อน ยกขาหนีเมื่อเหยียบตะปู

83

แผนภาพการท้างานของระบบประสาทโซมาติ
แผนภาพการท้ างานของระบบประสาทโซมาติกกแบบ Reflex action

สิ่งเร้า หน่วยรับความรู้สึก เซลล์ประสาทรับ สมอง


ไขสันหลัง
(อวัยวะรับสัมผัสต่างๆ) ความรู้สึก

ปฏิกิริยา หน่วยปฏิบัติงาน เซลล์ประสาท


ตอบสนอง (กล้ามเนื้อลาย) นาคาสั่ง

84

42
23/08/64

2. ระบบประสาทอัตโนวัติ (Autonomic nervous system : ANS)


◉ เป็นระบบประสาทที่ทางานนอกเหนืออานาจจิตใจ ควบคุมไม่ได้ (involuntary nervous system)
ทาหน้าที่ควบคุมกล้ามเนื้อเรียบ และกล้ามเนื้อหัวใจ เพื่อให้ร่างกายดาเนินชีวติ ได้อย่างปกติ เช่น
ระบบย่อยอาหาร ระบบไหลเวียนโลหิต ระบบขับถ่าย โดยเซลล์ประสาทสั่งการจากไขสันหลังจะไป
เกิดไซแนปส์กับเซลล์ประสาทที่ตอ่ อยู่กบั หน่วยตอบสนอง เรียกว่า ปมประสาทอัตโนวัติ
(autonomic ganglion) แบ่งเป็น 2 ชนิด
◉ เซลล์ประสาทก่อนการไซแนปส์ (preganglionic neuron)
◉ เซลล์ประสาทหลังการไซแนปส์ (postganglionic neuron)
ซึ่งมีลักษณะตรงข้ามกันใน 2 ระบบ ดังนี้

85

86

43
23/08/64

2.1 ระบบประสาทซิมพาเธติก
(Sympathetic nervous system)

◉ มีศูนย์กลางอยู่ที่ไขสันหลังระดับอกและเอว
ทาหน้าที่เพิ่มการใช้พลังงานเพื่อทาให้
ร่างกายตื่นตัว โดยเร่งการทางานของหัวใจ
เพิ่มเมทาบอลิซึมของอวัยวะต่างๆ เด่นชัด
ในช่วงเวลาเครียด หรือกลัวมาก เพิ่มการ
ใช้พลังงาน

87

2.2 ระบบประสาทพาราซิมพาเธติก
(parasympathetic nervous system)

◉ ทางานตรงกันข้ามกับ sympathetic คือ


ในช่วงเวลาที่ผอ่ นคลาย ส่งเสริมการย่อย
อาหาร การขับถ่าย เพิ่มการสะสมพลังงาน
มีศูนย์กลางควบคุมอยู่ที่เส้นประสาทสมอง
คู่ที่ 3,7,9,10 และไขสันหลังบริเวณ
กระเบนเหน็บ

88

44
23/08/64

ตารางเปรียบเทียบการทางานของระบบประสาทซิมพาเทติกกับพาราซิมพาเทติก
อวัยวะ Sympathetic Parasympathetic
ตา ม่านตาขยาย ม่านตาหด
ต่อมน้าตา กระตุ้นให้หลั่งน้าตาออกมามากกว่าปกติ ควบคุมการหลั่งน้าตาให้เป็นปกติ
ต่อมน้าลาย ยับยั้งการหลั่งน้าลาย กระตุ้นการหลัง่ น้าลาย
หัวใจ เพิ่มอัตราการเต้นและการบีบของหัวใจ ชะลออัตราการเต้นของหัวใจ
ปอด กระตุ้นให้ท่อลมฝอยขยายตัวคลายตัว กระตุ้นให้ท่อลมฝอยหดตัว
ยับยั้งการบีบตัวและการหลั่งน้าย่อย กระตุ้นการบีบตัวและการหลัง่ น้าย่อย
กระเพาะอาหาร
ของกระเพาะอาหาร ของกระเพาะอาหาร
กระตุ้นให้ตบั ทางานพื่อเพิ่มปริมาณกลูโคส
ตับ กระตุ้นการหลัง่ น้าดี
ในกระแสเลือด
กระตุ้นให้ตอ่ มหมวกไตหลัง่ อะดรีนาลิน
ต่อมหมวกไต -
(Adrenalin หรือ Epinephine)
กระเพาะปัสสาวะ กระตุ้นให้กระเพาะปัสสาวะคลายตัว กระตุ้นให้กระเพาะปัสสาวะหดตัว
89

อวัยวะรับความรูส้ กึ
(Sense organ)

90

45
23/08/64

อวัยวะรับความรูส้ กึ (Sense organ)


◉ เป็นอวัยวะรับรู้ ที่เปลี่ยนแปลงพลังงานในรูปต่างๆให้เป็นกระแสประสาท แล้วส่งต่อ
ไปยังสมองหรือไขสันหลัง เพื่อแปลเป็นความรู้สึกและการรับรู้ต่างๆ ทั้งนี้

91

92

46
23/08/64

ระบบรับสัมผัส (sensory system)


◉ เป็นส่วนหนึ่งของระบบประสาท มีหน้าที่รับสิ่งเร้าที่เข้ามากระตุ้นแล้วส่งต่อไปประมวลผลเป็นข้อมูล
เพื่อให้ร่างกายตอบสนองต่อสิ่งเร้านั้น โดยสิ่งเร้าที่สามารถกระตุ้นให้เกิดความรู้สึกได้ มีดังนี้

93

◉ พลังงานแสง : มีเซลล์รับความรู้สึก เรียกว่า photoreceptor


◉ สารเคมี : มีเซลล์รับความรู้สึก เรียกว่า chemoreceptor
◉ แรงกด แรงดัน : มีเซลล์รับความรู้สึก เรียกว่า mechanoreceptor
◉ การเคลื่อนไหวอวัยวะของร่างกาย : มีเซลล์รับความรู้สึก เรียกว่า proprioreceptor
◉ อุณหภูมิ ความร้อน ความเย็น : มีเซลล์รับความรู้สึก เรียกว่า thermoreceptor
◉ ความเจ็บปวด : มีเซลล์รับความรู้สึก เรียกว่า pain receptor

94

47
23/08/64

ประเภทของอวัยวะรับความรู้สกึ แบ่งตามชนิดของพลังงานที่มากระตุน้ ได้ 2 ประเภท ดังนี้


◉ อวัยวะรับความรู้สึกแบบง่าย (Somatic sense) : รับความรู้สึกทั่วๆไป คือ ผิวหนัง
◉ อวัยวะรับความรู้สึกเฉพาะ (Special sense) : รับความรู้สึกเฉพาะ คือ จมูกรับกลิ่น ลิ้นรับรส ตารับภาพ
หูรับการได้ยิน

95

ตา (Eyes) : มีสิ่งเร้าคือแสง อนุภาคแสง ทาหน้าทีใ่ นการมองเห็น

96

48
23/08/64

โครงสร้างผนังลูกตา แบ่งออกเป็น 3 ชั้นจากด้านนอกเข้าไปด้านใน ดังนี้


◉ ผนังชั้นนอก : เป็นชั้นปกป้องเนื้อเยือ่ สาคัญภายในลูกตา ประกอบด้วย
◉ กระจกตาหรือตาดา (cornea) : เป็นเยื่อคลุมใส อยู่ด้านหน้า ไม่มีหลอดเลือด ให้แสงผ่านไปในลูกตาได้
◉ เปลือกลูกตาหรือตาขาว (sclera) : มีสีขาวทึบ ไม่ยอมให้แสงผ่าน อยู่ถัดตาดาเข้าไปด้านใน

97

◉ ผนังชั้นกลาง : เรียกว่า ยูเวีย (uvea) เป็นชั้นที่มีหลอดเลือดลาเลียงสารอาหารและออกซิเจนให้แก่ลูก


ตา และมีสารให้สี (pigment) อันเป็นเหตุให้ตาของคนเรามีสีต่างๆ กัน ในแต่ละภูมิภาค
ประกอบด้วย
◉ ม่านตา (iris) : อยู่หลังกระจกตา ทาหน้าทีหด-ขยายตัวเป็นช่องให้แสงผ่าน เรียกว่า รูม่านตา (pupil) เพื่อกาหนด
ปริมาณแสงที่จะเข้าสู่เลนส์ตา
◉ กล้ามเนือ้ ตา (ciliary body) : อยู่ถัดจากม่านตา ทาหน้าที่หดคลายตัวเพื่อควบคุมรูปทรงของเลนส์ตาให้มีความ
หนา-บางอย่างพอดี เพื่อให้แสงที่ผา่ นเลนส์ตาไปตกที่เรตินาได้พอดี
◉ เนื้อเยือ่ คอรอยด์ (choroid) : เนื้อเยื่อที่อยู่ระหว่างตาขาวกับเรตินา มีสีเข้ม ทึบแสง จึงช่วยป้องกันการสะท้อนของ
แสงได้ อยู่ส่วนหลังของลูกตา

98

49
23/08/64

◉ ผนังชั้นใน : เรียกว่า จอประสาทตา หรือ เรตินา (retina) เป็นชั้นระบบ


ประสาทที่มีเซลล์รับแสง (photoreceptor cell) ทาหน้าที่รับภาพจากเลนส์ตา
ครอบคลุมอยู่หลังลูกตาไปจนสุดที่ขั้วตา (optic disc)

99

100

50
23/08/64

เซลล์รบั แสง (Photoreceptor cell) : มีโปรตีน opsin และรงควัตถุ retinal อยู่ที่เยื่อหุม้ เซลล์ ทา
หน้าที่แปลงภาพที่เห็นไปเป็นสัญญาณประสาท
เซลล์รับแสงมี 2 ชนิดคือ
1. เซลล์รูปแท่ง (rod cell) : รับภาพขาวดา ทางานได้ดีในที่แสงน้อย ไวต่อแสง
2. เซลล์รูปกรวย (cone cell) : รับภาพเป็นภาพสี ดูดกลืนแสงสีได้ดีที่ความยาวคลื่นต่างกัน

101

102

51
23/08/64

จุดสาคัญบนเรตินา

◉ จุดโฟเวีย (fovea spot) : เป็นจุดที่ไวต่อการ


รับแสงมากที่สุด มีเซลล์รับแสงหนาแน่น เมื่อ
แสงตกกระทบ จึงได้ภาพชัดที่สุด
◉ จุดบอด (blind spot) : บริเวณที่อยูบ ่ นเรตินา
แต่ไม่มีเซลล์รับภาพ ทาให้ถึงแม้จะมีแสงมาตก
กระทบก็จะไม่เกิดภาพ

103

การเดินทางของแสง เมื่อแสงผ่านกระจกเข้าสู่นัยน์ตา แสงจะเดินทางผ่านส่วนต่างๆภายในลูกตา


จนกระทั่งไปตกกระทบที่เรตินาซึ่งมีเซลล์รับแสงรูปแท่งและรูปกรวยอยู่ บริเวณที่แสงเดินทางผ่านมี 3 ส่วน

- Aqueous chamber : ชั้นของเหลวใสที่อยู่ระหว่างกระจกตา และเลนส์


ตา สร้างมาจาก ciliary body มีหน้าที่นาอาหารมาเลี้ยงเนื้อเยื่อกระจกตา
และเลนส์ตา
- เลนส์ตา (lens) : อยู่หลังม่านตา ทาหน้าที่หักเหแสงมีเยือ่ หุม้ elastic
capsule และมีเส้นเอ็น suspensory ligament ช่วยยึดเลนส์ตากับ
กล้ามเนื้อตาไว้เพื่อควบคุมรูปทรงของเลนส์ตา
- Vitreous body : เป็นเมือกใสอยู่ภายในลูกตา อยู่ด้านหลังเลนส์ตา
ทาหน้าที่ช่วยให้ลกู ตาคงรูปร่างอยูไ่ ด้

104

52
23/08/64

การส่งสัญญาณภาพไปยังสมอง

เซลล์รับภาพรูปกรวยและรูปแท่งจะส่งกระแสประสาทไปที่เซลล์ประสาท bipolar cell และ


ganglion cell ตามลาดับ แล้วส่งต่อไปยังเส้นประสาทสมองคู่ที่ 2 ซึ่งเป็นเส้นประสาทรับภาพ
(optic nerve) เพื่อทาการแปลสัญญาณที่สมองต่อไป

105

ภาวะสายตาผิดปกติ (vision disorder) : ภาวะทีม่ องเห็นภาพไม่ชดั

◉ สายตาสั้น (myopia) : เกิดจากกระบองตายาว


กว่าปกติ หรือเลนส์ตาโค้งนูนกว่าปกติ ภาพจึง
เกิดก่อนถึงเรตินา แก้ไขโดยใช้เลนส์เว้า
◉ สายตายาว (hyperopia) : เกิดจากกระบอกตา
สั้นกว่าปกติ หรือเลนส์ตาโค้งน้อยกว่าปกติ ภาพ
จึงเกิดหลังเรตินา แก้ไขโดยใช้เลนส์นูน

106

53
23/08/64

107

◉ สายตาเอียง (astigmatism) : เกิดจาก


ผิวกระจกตาหรือเลนส์ตามีรอยขรุขระ แสง
จึงไม่ตัดกันที่จุดเดียว ทาให้เกิดภาพ
หลายภาพซ้อนกัน แก้ไขโดยการใช้เลนส์
กาบกล้วย

108

54
23/08/64

109

โรคเกีย่ วกับการมองเห็น
◉ ตาบอดสี (color blindness)

110

55
23/08/64

111

◉ ตาฟางหรือตาบอดกลางคืน (night blindness)

112

56
23/08/64

◉ ต้อกระจก (cataract)
◉ ต้อเนื้อ (pterygium)
◉ ต้อหิน (glaucoma)

113

จมูกและการได้กลิน่
(Olfactory system)
มีสิ่งเร้าคือ โมเลกุลกลิ่น, อวัยวะ
รับสัมผัสคือ จมูก, มีเซลล์รับ
ความรู้สึกคือ เซลล์รับกลิ่น

114

57
23/08/64

ผนังโพรงจมูกจะมีขนจมูก (microscopic cilia) ซึ่งเชื่อมต่อกับเซลล์รับกลิน่ (olfactory receptor) ทาหน้าที่เปลี่ยน


โมเลกุลกลิ่นให้เป็นกระแสประสาทแล้วถ่ายทอดไปตาม เส้นประสาทสมองคู่ที่ 1 ซึ่งเป็นเส้นประสาทรับกลิ่น เพื่อส่งไปยังสมอง
ส่วน olfactory bulb และส่งข้อมูลไปแปลผลที่สมองส่วนซีรีบรัม

115

ลิ้นและการรับรส
(Gustatory system)

มีสิ่งเร้าคือ โมเลกุลที่มีรส
อวัยวะรับสัมผัสคือ ลิ้น
มีเซลล์รับความรู้สึกคือ เซลล์รับรส

116

58
23/08/64

ลิ้นบอกความแตกต่างของรสชาติอาหาร
ได้เนื่องจากมี ปุ่มรับรส จานวนมากบน
ลิ้น เรียกว่า แพพิลลี (papiiae) ปุ่ม
เหล่านี้ประกอบด้วย ต่อมรับรส
(taste bud) ซึ่งมีอยู่ 4 ชนิด ทา
หน้าที่รับรสต่างๆ ได้แก่ รสหวาน รส
ขม รสเค็ม รสเปรี้ยวกระจายอยู่บนลิ้น
บริเวณต่างๆ

117

◉ ในแต่ละต่อมรับรสมีเซลล์รับรส (taste cell) 4-20 เซลล์ ต่อกับใยประสาท เมื่อมีสารมา


กระตุ้นเซลล์รับรสจะส่งกระแสประสาทไปตามเส้นใยประสาทสมองซึ่งมี 2 บริเวณ คือ
◉ บริเวณปลายลิ้นและด้านข้างของลิ้น เป็นเส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 รับรส เค็ม หวาน เปรี้ยว
◉ บริเวณโคนลิ้น เป็นเส้นประสาทสมองคู่ที่ 9 ซึ่งรับรสขม

118

59
23/08/64

ขั้นตอนการเกิดกระแสประสาท
1. ระยะพัก (Resting potential หรือ Polarization)
2.ระยะดีโพลาไรเซชัน (Depolarization)
3.ระยะรีโพลาไรเซชัน (Repolarization)
4.ระยะไฮเพอร์โพลาไรเซชัน (Hyperpolarization หรือ Undershoot)

119

หูกับการได้ยนิ
(Auditory system)

หู เป็นอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการได้
ยินและทรงตัว โดยมีสิ่งเร้าคือ
พลังงานเสียง และมีประสาทรับรู้
เสียง เป็นเซลล์รับความรู้สึก

120

60
23/08/64

โครงสร้างหู (Ear structure)

หู แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้


1. หูชั้นนอก (outer ear)
2.. หูชั้นกลาง (middle ear)
3. หูชั้นใน (inner ear)

121

หูชั้นนอก (Outer ear)


เป็นช่องรับเสียงจากภายนอกเข้าสู่หู
ประกอบด้วย
ใบหู (pinna หรือ auricle) :
เป็นแผ่นกระดูกอ่อนคอยดักคลื่นเสียง
รูหู (ear canal) : ลักษณะเป็น
ท่อรูปตัว S เป็นทางเดินของเสียง
เข้าสู่หูชั้นกลาง

122

61
23/08/64

หูชั้นกลาง (middle ear) : เป็นโพรงหูถัดจากหูชั้นนอกและเชือ่ มต่อกับโพรงจมูก ประกอบด้วย


- เยื่อแก้วหู (eardrum หรือ tympanic membrane)
มีหน้าที่เปลี่ยนคลื่นเสียงให้เป็นแรงสั่นสะเทือน
- กระดูกหู 3 ชิ้น (ossicle) ได้แก่ กระดูกค้อน
(malleus), กระดูกทั่ง (incus), กระดูกโกลน
(stapes) ทาหน้าที่ส่งการสั่นสะเทือนของเสียงต่อไป
ยังหูส่วนใน
- ท่อยูสเตเชียน (Eustachian tube) เป็นท่อ
เชื่อมต่อหูชนั้ กลางและคอ ช่วยปรับความดันภายในหู

123

หูชั้นใน (inner ear) : เป็นส่วนสร้างกระแสประสาทส่งไปยังเส้นประสาทสมองคู่ที่ 8 ประกอบด้วย


- คอเคลีย (cochlea) : ท่อขดรูปก้น
หอย ทาหน้าที่รับสัญญาณเสียงและส่ง
กระแสประสาทไปที่สมอง
- เซมีเซอร์คิวลาร์แคแนล (semicircular
canal) : ทาหน้าที่เกี่ยวกับการทรงตัว
และการเคลื่อนไหวของร่างกาย รวมถึงการ
เอียงและทิศทางของศีรษะ

124

62
23/08/64

กระบวนการได้ยนิ : มีขั้นตอนดังนี้
1. เสียงเข้าสู่ช่องหู ผ่านหูชั้นนอกไปยังแก้วหู ทาให้แก้วหูสั่นสะเทือนตามคลื่นเสียง
2. การสั่นสะเทือนของแก้วหู ถูกส่งผ่านกระดูกหู ค้อน ทั่ง โกลน ซึ่งจะช่วยขยายสัญญาณเสียงแล้วส่งไปยังคอเคลีย
3. คอเคลียร์ ภายในบรรจุของเหลวและมีเซลล์ขน ซึ่งเมื่อคลื่นเสียงเดินทางมาถึงคอเคลีย จะทาให้ของเหลวภายใน
สั่นสะเทือน
4. การสั่นสะเทือนของของเหลวในคอเคลีย ทาให้เซลล์ขนแปลงการสั่นสะเทือนให้เป็นสัญญาณไฟฟ้า แล้วส่งไปยัง
ประสาทรับเสียง
5. ประสาทรับเสียงส่งสัญญาณต่อไปยังสมอง เพื่อแปลความหมายของเสียงที่ได้รับ

125

126

63
23/08/64

ช่วงความถีข่ องคลืน่ เสียงทีไ่ ด้ยนิ

127

การทรงตัว (vestibular)
ใช้ระบบ semicircular canal system คือการใช้ท่อ
semicircular canal ที่ติดกับคอเคลียในหูชั้นใน ซึ่งมีลักษณะ
เป็นท่อรูปครึ่งวงกลม 3 หลอด ตั้งเป็นแนวฉากต่อกัน ภายใน
ท่อบรรจุของเหลวอยู่ ปลายท่อทั้ง 3 ต่อกับแอมพูลลา
(ampulla) ซึ่งมีเซลล์ขน (hair cell) เมื่อร่างกายมีการเอียงตัว
หรือมีการหมุนตัว ของเหลวจากท่อ semicircular canal จะไหล
ไปกระทบกับเซลล์ขน เกิดกระแสประสาทส่งไปตามเส้นประสาท
สมองคู่ที่ 8

128

64
23/08/64

การสูญเสียการได้ยนิ เกิดจาก 3 สาเหตุ ดังนี้


1. การนาเสียงบกพร่อง : เสียงผ่านเข้าไปในหูชนั้ ในไม่ได้
2. การรับเสียงบกพร่อง : เกิดจากความผิดปกติของเซลล์
ขนในคอเคลีย
3. เส้นประสาทบกพร่อง : เกิดจากเส้นประสาทที่เชื่อมต่อ
คอเคลียไปที่สมองเสียหาย

129

ระบบรับความรูส้ กึ ทางกาย (somatosensory system)

ผิวหนัง ทาหน้าที่รับความรู้สึกและ
รับการสัมผัสต่างๆจากภายนอก
ร่างกาย

130

65
23/08/64

ผิวหนังของมนุษย์แบ่งออกเป็น 2 ชั้น ได้แก่

- หนังกาพร้า (epidermis)
- หนังแท้ (dermis)

131

หนังก้าพร้า (Epidermis)
- อยู่ชั้นบนสุดและบางมาก มีเซลล์ซ้อนกัน
เป็นชั้นๆแบ่งตัวเรื่อยๆ
- เซลล์ชั้นบนสุดของหนังกาพร้าจะกลายเป็น
ขี้ไคลหลุดออกไป
- เป็นทางผ่านของรูเหงื่อ ไขมัน และเส้น
ขน หนังกาพร้าไม่มีหลอดเลือด เส้นประสาท
หรือต่อมต่างๆ

132

66
23/08/64

หนังแท้ (Dermis)

- อยู่ชั้นล่างและหนากว่าหนังกาพร้า มีต่อม
รับความรู้สึกต่างๆอยู่ในชั้นนี้
- ประกอบไปด้วยเนื้อเยือ่ คอลลาเจน
(collagen) อีลาสติน (elastin) หลอดเลือด
และเส้นประสาทต่างๆ

133

ผิวหนัง มีเซลล์รบั ความรู้สกึ หลายชนิด


1. Nociceptor : ตัวรับความรู้สึกเจ็บปวดทั้งภายนอกและภายในร่างกาย
2. Thermoreceptor : ตัวรับความรู้สึกร้อน-เย็น
3. Mechanoreceptor : ตัวรับความรู้สึกเกี่ยวกับแรงกด

เมื่อเซลล์ประสาทรับความรู้สึกได้รับการกระตุน้ ที่เฉพาะเจาะจง จะเปลี่ยน


สัญญาณความรู้สึกเป็นกระแสประสาท แล้วส่งผ่านใยประสาท ไปยัง
เส้นประสาทไขสันหลังด้านหลัง (dorsal root) เพื่อประมวลผลความรู้สึก
ต่อไป

134

67

You might also like