Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 20

งานเขียนธรรมชาติและการเดินทาง

ในวรรณคดีไทย
ธรรมชาติกบั การประกอบสรางอ
้ านาจ
นัยจากนิทานคากลอนเรือ
่ ง
พระอภัยมณี
ประเด็นพิจารณา

1. การประกอบสร ้างเนือ
้ เรือ
่ งและตัวละครผู ้หญิงในนิทานคากลอนเรือ ่ งพระอภัยมณี

2. เสนทางการเดินทางในพระอภัยมณีกบ ั บริบททางสงั คมวัฒนธรรม
เกาะลังกาในจินตนาการของสุนทรภูม ่ ต
ี ้นเค ้ามาจากประเทศศรีลงั กาหรือไม่

ในชว่ งทีส
่ น
ุ ทรภูแ
่ ต่งพระอภัยมณี คือ ปลายรัชกาลที่ 2 และต่อเนือ ่ งมาในรัชกาลที่ 3 ซงึ่ เป็ นยุคแรก
ของกรุงรัตนโกสน ิ ทร์ทม
ี่ ช
ี าวต่างชาติโดยเฉพาะยุโรปเข ้ามาค ้าขายในสยามและภูมภ ิ าค

ชว่ งเวลานัน้ ศรีลงั กา เป็ นเมืองขึน


้ ของอังกฤษ ภูมริ ู ้นีท
้ าให ้สุนทรภูส
่ ร ้างตัวละครนางละเวงและอุศเรน
ให ้เป็ นภาพแทนของฝรั่ง/ชาติตะวันตกใชร่ ไึ ม่???

่ ัยเรือ
นาไปสูน ่ งการประกอบสร ้างอานาจรัฐ/บุรษ
ุ /ปิ ตาธิปไตย
แนวคิด
โครงสร้างทางสงัคมที่ตงั้ อยูบ่ นแนวคิดสตรีนิยมเชิงนิเวศสามารถป้องกัน
หายนะของมนุษยชาติและโลกได้
แนวคิดนีม้ ีพืน้ ฐานมาจากหลักการเรือ่ งความเท่าเทียมที่สมบูรณ์และปราศจากการกดขี่
ผลของหลักการนีท้ าให้ไม่เกิดความเหลื่อมลา้ ทางอานาจของเพศใดๆ ก็ตาม
ความเสมอภาคทางเพศ จะนามาซึง่ ความเสมอภาคในสังคม
Conceptions of nature and of women have been
linked: earth as female, female as earthly/animal-like.
อ่านอนุภาคต ัวละครผ่านแนวคิดสตรีนย ิ มเชงิ นิเวศใน
พระอภ ัยมณี ธรรมชาติมีอิทธิพลต
่อแนวคิด่อเพศสภาพอย
ต ่างไร
นางเงือกในตานานฝรั่ง กับ นางเงือกของไทย
• Siren ตามเรือ
่ งเล่าปรัมปราของกรีก
• นางเงือก ตามเรือ่ งราวในวรรณคดีไทย
Mother Nature Mother
Earth

จุดร่วม บริบทสากล
ลักษณะของการให ้กาเนิด เป็ นต ้นกาเนิด ผู ้เลีย ้ งดู ผู ้ปกป้ อง –ลักษณะของความเป็ นแม่
ลักษณะของตัณหา ความเย ้ายวนทางเพศ (ตามทีเ่ พศชายมอง
ลักษณะทีป ่ น ชวั่ ร ้าย และอันตราย (จาเป็ นต ้องได ้รับการทาให ้เชอ
่ ่ าเถือ ื่ งและมีอารยะ)
แผ่นดิน = สตรีเพศ

Conceptions of nature and of women have been


linked: earth as female, female as earthly/animal-like.
ื้ สมุทร
Siren กับ ผีเสอ
ตัวแทนของสงิ่ ทีเ่ ป็ นอืน

่ วกับโลก, ไม่สงู สง่ , โลกีย,์ อนารยะ
สตรีเพศ = เกีย (ไม่ใชม ่ นุษย์)
มีความป่ าเถือ่ น ไร ้อารย
ธรรม
เป็ นภัย หากก ้าวล้าเข ้า
มาในความสม ั พันธ์กบ

มนุษย์
มนุษย์พยายามหลีกเลีย ่ ง
หลบหนี หรือแม ้แต่
ทาลาย

ื่ ง จนสูญเสย
ถูกทาให ้เชอ ี อัตลักษณ์ของความเป็ นเงือกในคติปรัมปรา
ตามเรือ
่ งเล่าพืน้ บ ้าน เงือกคือผู ้ก่อหายนะ การล่อลวงให ้พบวิบตั ภ
ิ ย

เงือกในพระอภัยมณีจงึ เป็ นภาพของธรรมชาติทน ี่ ุ่มนวลงดงาม และ
ยอมจานนต่ออานาจมนุษย์ (ชาย)
สตรีนย ิ มเชงิ นิเวศได ้กล่าวถึงความเป็ นอันหนึง่
เมอร์แซนต์ (1980) กล่าวถึงมุมมองของมนุษย์ท ี่ อันเดียวกันระหว่างสตรีเพศกับธรรมชาติ และ
มีตอ่ ธรรมชาติวา่ ตัง้ อยูบ
่ นพืน
้ ฐานของ มองว่าลัทธิปิตาธิปไตยนาไปสูก ่ ารครอบงากดขี่
ภาพลักษณ์สองด ้าน ด ้านหนึง่ คือภาพลักษณ์ท ี่ ผู ้หญิงและรวมไปถึงการครอบครองธรรมชาติ
มองธรรมชาติในเชงิ เพศสภาวะ ว่าโลกก็ และสงิ่ แวดล ้อม
เชน่ เดียวกับสตรีเพศ คือเป็ นสงิ่ ทีม ี วี ต
่ ช ิ เป็ น (ธัญญา สงั ขพันธานนท์, 2556 :45)
มารดาผู ้โอบอุ ้ม(nurturing mother)
กับ
ภาพลักษณ์อก ี ด ้านคือ การมองว่าธรรมชาติคอ

ความป่ าเถือ
่ น และอยูน ่ อกเหนือการควบคุม

(ธัญญา สงั ขพันธานนท์,2556 : 47 อ ้างถึงจาก


Merrchant.)
ภูมศ ้
ิ าสตร์และเสนทางการเดิ
นทาง
เมืองเทศและชาวเมืองเทศทีเ่ ป็ นแขก ปรากฏในเรือ ่ ง พระอภัยมณี ต่าง กัน พวกแรกเป็ นตัวละครประกอบ ได ้แก่ พวกแขก
โดยรวมทีต ่ ด
ิ ตาม พระอภัยมณีและทีเ่ ป็ นไพร่พลในกองทัพต่าง ในกลุม ่ นีม
้ แ
ี ขกจามอยูด
่ ้วย และเมือ
่ กล่าวถึงตอนทีพ
่ ระอภัย
มณีขนึ้ ครองเมืองผลึกและจัดการทหาร ก็ม ี “กองตระเวนเกณฑ์นาวาอาสาจาม เทีย ่ วตรวจตามอ่าวสมุทรจนสุดแดน”

ในประเทศไทยนอกจากจะปรากฏว่ามีชาวมุสลิมจากเอเชย ี กลาง
หรือทีเ่ รียกว่าแขกเทศเข ้ามาอยูใ่ นสงั คมไทยตัง้ แต่สมัยอยุธยา
แล ้ว ในสมัย รัตนโกสน ิ ทร์ตอนต ้นยังมีพอ่ ค ้าวาณิชชาวแขกเทศ
เดินทางมาค ้าขายกับไทย อยูเ่ นือง เรือ ่ งราวต่าง จากนิทานและ
ชอื่ ต่าง เกีย่ วกับเมืองเทศน่าจะถึงหูและเป็ นทีร่ ู ้จัก

เมือ
่ อ่านพระอภัยมณีอย่างวิเคราะห์เชอ ื่ มโยงกับเสนทางคมนาคม

ในอดีต เราจึงได ้รับความรู ้เรือ
่ งชาวต่างชาติตา่ งภาษาและ
ภูมศ ิ าสตร์ การเดินเรือทีพ
่ อ
่ ค ้าต่างชาติเดินทางเข ้ามายังสยาม

You might also like