Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 9

ชื่อหลักสูตรช่างซ่อมเครื่องยนต์เล็ก จานวน 50 ชั่วโมง

ศูนย์ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมือง จังหวัดกระบี่
กิจกรรม ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน
ความเป็นมา
การจัดการศึกษาอาชีพในปัจจุบันมีความสาคัญมาก เพราะว่าเป็นการพัฒนาประชากรของประเทศให้
มีความรู้ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ เพื่อแก้ปัญหาการว่างงานและส่งเสริมความเข้มแข็งให้
เศรษฐกิจชุมชน โดยยกระดับการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถให้ประชากรได้มี อาชีพ มี
รายได้ที่มั่นคง และมีงานทาอย่างยั่งยืน ซึ่งจะเป็นการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในรูปแบบใหม่ที่สร้างความมั่นคง
ให้แก่ประชาชนและประเทศชาติ
สภาพสังคมปัจจุบันประเทศไทยมีประชากรทาการเกษตรเป็นจานวนมาก และอยู่ในอันดับต้นๆ ของ
ประเทศ เกษตรกรส่วนใหญ่มีเครื่องยนต์ ไว้เป็นเครื่องทุ่นแรง แต่ไม่ค่อยให้ความสนใจซ่อมแซมดู แลรักษา
เครื่องยนต์เท่าที่ควร เนื่องจากมีความรู้น้อยเกี่ยวกับเครื่องยนต์ ประกอบกับปัจจุบันมีสถานประกอบการที่
ให้บริการซ่อมเครื่องยนต์ในชุมชนไม่มากนัก อาชีพช่างซ่อมเครื่องยนต์ จึงเป็นช่องทางการประกอบอาชีพอีก
หนึ่งอาชีพที่สามารถสร้างรายได้หลัก รายได้เสริม และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ กศน.เมืองกระบี่ จึงได้
จัดทาหลักสูตรช่างซ่อมเครื่องยนต์ขึ้น เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของประชากร

หลักการของหลักสูตร
1. เป็นหลักสูตรระยะสั้นเพื่อเพิ่มโอกาสการสร้างรายได้หลัก และนาไปประกอบอาชีพได้อย่างมั่นคง
2. เน้นการเรียนรู้ควบคู่กับการฝึกปฏิบัติจริงเกี่ยวกับช่องทางการประกอบอาชีพ ทักษะการประกอบ
อาชีพเครื่องยนต์ การบริหารจัดการและการเขียนโครงการ
3. มุ่งให้ผู้เรียนนาความรู้ประสบการณ์ทักษะไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน หรือประโยชน์ในการ
ประกอบอาชีพ
4. มุ่งปลูกฝังให้ผู้เรียนมีนิสัยรักการทางานบริการและการให้บริการลูกค้า
5. เป็นหลักสูตรที่สามารถนาไปใช้เทียบโอนความรู้และประสบการณ์เข้าสู่หลักสูตรการศึกษานอก
ระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

วัตถุประสงค์
การจัดการศึกษาตามหลักสูตรนี้มุ่งปลูกฝังให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะดังนี้
1. มีความรู้และทักษะพื้นฐานในการตรวจซ่อมและบารุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก
2. เพิม่ ช่องทางการประกอบอาชีพ

กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายคือประชาชนกลุ่มเป้าหมายนอกระบบโรงเรียน
1. ผู้ที่ไม่มีอาชีพ
2. ผู้ที่มีอาชีพและต้องการพัฒนาอาชีพ

ระยะเวลาจานวน 50 ชั่วโมง
ภาคทฤษฎี จานวน 13 ชั่วโมง
ภาคปฏิบัติ จานวน 37 ชัว่ โมง

การจัดกระบวนการเรียนรู้
1. การบรรยาย/ สาธิต
2. การศึกษาข้อมูลจากเอกสาร /ผู้รู้/ช่างมืออาชีพ/วิทยากร
3. การศึกษาดูงานจากแหล่งเรียนรู้ สถานประกอบการ
4. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
5. การฝึกปฏิบัติจริง

สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้หลักสูตรการซ่อมเครื่องยนต์เล็ก ประกอบด้วย
1. เอกสาร ได้แก่ ตารา/หนังสือ/วารสาร/ใบความรู้/ใบงาน
2. สื่ออีเล็กทรอนิกได้แก่ อินเทอร์เน็ต
3. สถานประกอบการ/ เครื่องมือเครื่องใช้ในการซ่อมเครื่องยนต์/สื่อของจริง
4. สื่อบุคคล ได้แก่ วิทยากร/ช่างมืออาชีพ/ผู้รู้

การวัดและประเมินผล
1. การประเมินความรู้ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติระหว่างเรียนหลังเรียนและจบหลักสูตร
2. การประเมินผลงานระหว่างเรียนจากการปฏิบัติ ได้ผลงานที่มีคุณภาพสามารถสร้างรายได้
และจบหลักสูตร

เงื่อนไขการผ่านการอบรม
1. มีเวลาเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. มีผลการประเมินตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
3. มีผลงานที่มีคุณภาพ

หลักฐานการผ่านการอบรม
1. หลักฐานการประเมินผล
2. วุฒิบัตรการศึกษา ออกโดยสถานศึกษา
รายละเอียดโครงสร้างหลักสูตรช่างซ่อมเครื่องยนต์เล็ก

จานวนชั่วโมง
เรื่อง จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา การจัดกระบวนการเรียนรู้
ทฤษฎี ปฏิบัติ
1.ช่องทางการ 1.1 รู้ความสาคัญเกี่ยวกับการ 1.1 ความสาคัญในการประกอบอาชีพช่าง 1.1 อธิบายข้อมูลจากเอกสาร ตารา สื่อ 1 -
ประกอบอาชีพ ประกอบอาชีพช่างซ่อม ซ่อมเครื่องยนต์เล็ก สถานประกอบการ เพื่อนาข้อมูลมา
ช่างซ่อม เครื่องยนต์ได้ วิเคราะห์และใช้ในการประกอบอาชีพช่าง
เครื่องยนต์ ซ่อมเครื่องยนต์
1.2 วิเคราะห์ความเป็นไปได้ของ 1.2 ความเป็นไปได้ของการประกอบอาชีพ 1.2 วิเคราะห์ความเป็นไปได้ของการประกอบ
การประกอบอาชีพช่างซ่อม ช่างซ่อมเครื่องยนต์เล็ก อาชีพช่างซ่อมเครื่องยนต์ในชุมชนจาก
เครื่องยนต์ได้ 1.2.1 ทุน ข้อมูลต่างๆ
1.2.2ทาเลที่ตั้ง
1.2.3 วัสดุ/อุปกรณ์
1.2.4 ลูกค้า/ผู้ใช้บริการ 1.3 ศึกษาดูงานในสถานประกอบการแหล่ง
1.3 รู้และอภิปรายแหล่งเรียนรู้ใน 1.3 แหล่งเรียนรู้ในการประกอบอาชีพ เรียนรู้ในชุมชน วิทยากร ครู ผู้เรียน และ
การประกอบอาชีพและ ผู้รู้ ร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับทิศทางการ
อภิปรายทิศทางของการ ประกอบอาชีพช่างซ่อมเครื่องยนต์ ใน
ประกอบอาชีพช่างซ่อม รูปแบบที่เหมาะสม โดยใช้กระบวนการ
เครื่องยนต์ได้ “คิดเป็น”

2. ทักษะการ มีความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการซ่อม ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการซ่อมเครื่องยนต์ 1. อธิบายข้อมูลเอกสาร ใบความรู้ สื่อ 1


ประกอบอาชีพ เครื่องยนต์ได้ เล็ก อิเล็กทรอนิกส์ และเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้น
จานวนชั่วโมง
เรื่อง จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา การจัดกระบวนการเรียนรู้
ทฤษฎี ปฏิบัติ
ช่างซ่อม 2.1 ประเภทของเครื่องยนต์เล็ก ในการซ่อมเครื่องยนต์ได้แก่ ส่วนประกอบ
เครื่องยนต์เล็ก 2.1.2 ชนิดของเชื้อเพลิง เครื่องยนต์ 2 8
2.1.3 ชนิดของอุปกรณ์ - ชนิดของเชื้อเพลิง
2.1.4 ชนิดของน้ามันหล่อลื้น - ชนิดของอุปกรณ์
2.1.5 ชนิดและรูปร่างลักษณะ - ชนิดของน้ามันหล่อลื่น
เครื่องมือในการซ่อมเครื่องยนต์ ศัพท์เฉพาะทางช่าง ความความปลอดภัยใน
1) เครื่องมือทั่วไป การใช้เครื่องมือ ซ่อมเครื่องยนต์
2) เครื่องมือพิเศษ
3) เครื่องมือวัดไฟฟ้า
4) เครื่องมือวัดแรงดัน
5) เครื่องมือวัดละเอียด
2.1.6 ศัพท์เฉพาะทางช่าง
2.1.7 ความปลอดภัยในการทางานและ
ใช้เครื่องมือในการซ่อมเครื่องยนต์
2.1.8 การใช้และการจัดเก็บเครื่องมือ
อุปกรณ์ในงานซ่อมเครื่องยนต์ 1. วิธีการใช้และการจัดเก็บเครื่องมือจากและ
2.1.9 จรรยาบรรณช่าง จรรยาบรรณช่าง
2. สรุปผลการศึกษาโดยทาบันทึกและ
รายงาน
จานวนชั่วโมง
เรื่อง จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา การจัดกระบวนการเรียนรู้
ทฤษฎี ปฏิบัติ
2.2 อธิบายระบบน้ามันเชื้อเพลิง 2.2 ระบบน้ามันเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์ 1. อธิบายใบความรู้ ฟังการบรรยายและ 1 8
และระบบหล่อลื่นของ 2.2.1 ระบบจุระเบิด ปฏิบัติจากวิทยากรเกี่ยวกับชนิดของน้า
เครื่องยนต์ 2.2.2 ระบบย้อนกลับ เชื้อเพลิงของเครื่องยนต์ได้แก่
2.2.3 ระบบปั้มน้ามันเชื้อเพลง 1) ระบบจุระเบิดของน้ามันเชื้อเพลิง
2.2.4 ระบบหัวฉีดน้ามันเชื้อเพลิง 2) ระบบย้อนกลับน้ามันเชื้อเพลิง
3) ระบบปั้มน้ามันเชื้อเพลงน้ามัน
เชื้อเพลิง
4) ระบบหัวฉีดน้ามันเชื้อเพลิง
ส่วนประกอบของระบบหล่อลื่น ชนิด
และคุณสมบัติของน้ามันหล่อลื่น
2. ศึกษาจากของจริง
3. บันทึกสาระสาคัญลงในใบงาน
2.3 อธิบายเกี่ยวกับระบบการ 2.3 ระบบการหมุนเวียนอากาศระบบ 1. วิทยากรอธิบายความรู้ ดูVCD ดูของจริง 1 1
หมุนเวียนของอากาศได้ - ระบายความร้อนของเครื่องยนต์ระบบ และฟังคาบรรยายจากวิทยากร เกี่ยวกับ
ระบบระบายความร้อน ไฟฟ้าในเครื่องยนต์ การหมุนเวียนอากาศของเครื่องยนต์ดีเซล
- ระบบไฟฟ้าในเครื่องยนต์ ขนาดเล็ก
- ระบบการหมุนเวียนของอากาศไอดี
- ระบบหมุนเวียนอากาศของไอเสีย
ส่วนประกอบของระบบอากาศแรงดัน
ระบายความร้อนของเครื่องยนต์ ระบบ
ระบายความร้อน ส่วนประกอบอุปกรณ์
ระบายความร้อน
จานวนชั่วโมง
เรื่อง จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา การจัดกระบวนการเรียนรู้
ทฤษฎี ปฏิบัติ
หน้าที่ระบบไฟฟ้า ชื่อส่วนประกอบของ
ระบบระบายความร้อนชนิดต่าง ๆ ตรวจ
ซ่อมปรับแต่งชิ้นส่วนได้
2.4 ปฏิบัติ และ ซ่อมบารุง 2.4 การซ่อมบารุงเครื่องยนต์ - อธิบายเอกสาร ใบความรู้ สื่อ 5 17
เครื่องยนต์ได้ 2.4.1 ขั้นตอนการถอดประกอบ อิเล็กทรอนิกส์ชมการสาธิตจากวิทยากร
2.4.2 ตรวจสอบชิ้นส่วนของ ลงมือปฏิบัติจริงและสรุปผลการปฏิบัติ
เครื่องยนต์
2.4.3 ปรับแต่งชิ้นส่วนของเครื่องยนต์
2.4.4 วิเคราะห์ชิ้นส่วนชารุดเพื่อ
เปลี่ยนถ่ายชิ้นส่วนทดแทน

2.5 การวิเคราะห์เครื่องยนต์ดีเซลขนาด
เล็กก่อนซ่อม/หลังซ่อม
2.5 วิเคราะห์การตรวจสอบ - การสังเกตและการตรวจสอบมวล - อธิบาย ลงมือปฏิบัติจริงสรุปผลการ
สมรรถนะของเครื่องยนต์ก่อน รวมสภาพภายนอกของเครื่องยนต์ วิเคราะห์และตรวจสอบอาการเสียของ
ซ่อมหลังซ่อมได้ - ฟังจากเสียงของเครื่องยนต์ เครื่องยนต์

3. การบริหาร 3.1 รู้วิธีการควบคุมคุณภาพการ 3.1 การบริหารจัดการการประกอบอาชีพ 1. วิทยากรอธิยายข้อมูลการตลาดและ 1 3


จัดการในการ ซ่อมบารุงประมาณการราคา ซ่อมเครื่องยนต์ วิเคราะห์ความต้องการของตลาดในชุมชน
ประกอบอาชีพ
จานวนชั่วโมง
เรื่อง จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา การจัดกระบวนการเรียนรู้
ทฤษฎี ปฏิบัติ
ช่างซ่อม การซ่อมบารุงรวมทั้งทาบัญชี 3.1.1 การควบคุมคุณภาพการซ่อม จากข้อมูลที่ได้จากสื่อต่างๆ ทั้งเอกสาร สื่อ
เครื่องยนต์เล็ก เบื้องต้นได้ บารุง อิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรียนรู้
3.1.2 การประมาณการราคาในการ 2. วิเคราะห์ควบคุมระดมความคิดในด้าน
ซ่อมบารุง ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพการซ่อมบารุง
3.1.3 การจัดทาบัญชี เพื่อให้ได้คุณภาพในการซ่อมบารุง
3. กาหนดและประเมินความยากง่ายในการ
ซ่อมบารุงออกมาเป็นอัตราตามใบความรู้
และใบงาน
4. ศึกษาข้อมูลการทาบัญชีเบื้องต้นรวมทั้งฝึก
การทาบัญชีเบื้องต้น

3.2 จัดทาฐานข้อมูลลูกค้าและผู้ 3.2 การจัดการการตลาดในการประกอบ 1. อธิบายใบความรู้และใบงาน 1


ให้บริการในพื้นที่ใกล้เคียง อาชีพช่าง 2. สารวจข้อมูลลูกค้าและผู้ให้บริการและ
และโฆษณาประชาสัมพันธ์ได้ 3.2.1 การจัดทาฐานข้อมูลลูกค้า จัดทาฐานข้อมูล
ผู้ใช้บริการ/ผู้ให้บริการในละแวก 3. ดาเนินการโฆษณาและประชาสัมพันธ์
พื้นที่ใกล้เคียง ลูกค้าตามฐานข้อมูล
3.2.2 การโฆษณาประชาสัมพันธ์ 4. สรุปผลการปฏิบัติทั้งด้านบวกและด้านลบ
รวมทั้งหาแนวทางแก้ไข
3.3 วิเคราะห์ตนเองเกี่ยวกับการ
ประกอบอาชีพช่างซ่อม
จานวนชั่วโมง
เรื่อง จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา การจัดกระบวนการเรียนรู้
ทฤษฎี ปฏิบัติ
เครื่องยนต์ได้และหาแนวทาง 3.3 การจัดการความเสี่ยงเกี่ยวกับการ 1. อธิบายข้อมูลความเสี่ยงด้านต่างๆของการ
แก้ปัญหาระหว่างการ ประกอบอาชีพช่าง ประกอบอาชีพช่างซ่อมเครื่องยนต์และ
ประกอบอาชีพ 3.3.1 การวิเคราะห์ตนเองในการ ความรู้ความปลอดภัยในการเตรียมปฏิบัติ
ประกอบช่างซ่อมเครื่องยนต์ / 2. วิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางการตลาดและ
คู่แข่งในการประกอบอาชีพ หาแนวทางแก้ปัญหารวมทั้งการประกอบ
3.3.2 การแก้ปัญหาระหว่างการ อาชีพตามใบงาน
ประกอบอาชีพ 3. บันทึกผลการวิเคราะห์ความเป็นไปได้และ
การจัดการความเสี่ยง

You might also like