Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 35

บทที่1

ประวัติและความเป็ นมา

1.ประวัติศาสตร์ของประเทศฝรั่งเศส

ฝ รั่ง เศส ห รือ ชื่อ ท าง ก า รว ่า ส าธ าร ณ ร ัฐ ฝ รั่ง เ ศ ส (ฝ รั่ง เ ศ ส :


République française) เป็ นประเทศในภูม ิภ าคยุโ รปตะวัน ตก ทัง้ ยัง
ประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่น
ดิน ใหญ่ทอดตัวตัง้ แต่ทะเลเมดิเ ตอร์เ รเนียนจนถึง ช่อ งแคบอัง กฤษและ
ทะเลเหนือ และจากแม่น ้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศส
มักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทาง
กายภาพของประเทศ ฝรัง่ เศสปกครองด้วยระบอบกึ่ง ประธานาธิบ ดี มี
ประชากรราว 67 ล้า นคน (ค.ศ. 2021) แบ่ง การปกครองออกเป็ น 18
แคว้น (รวมแคว้น โพ้น ทะเล 5 แคว้น ) ซึง่ ครอบคลุม พื้น ที่ 643,801
ตารางกิโ ลเมตร มีเ มือ งหลวงและเมือ งที่ใ หญ่ท ี่ส ุด ของประเทศคือ กรุง
ปารีส ซึง่ ถือ เป็ นหนึ่ง ในศูน ย์ก ลางทางวัฒ นธรรมและเศรษฐกิข องทวีป
ยุโรป และยังมีเมืองสำคัญอื่น ๆ เช่น มาร์แซย์ ตูลส
ู บอร์โด ลีล และ นิส
ฝรั่งเศสมีพ รมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลัก เซมเบิร์ก เยอรมนี สวิต
เซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์รา และสเปน และยังเชื่อมกับสหราช
อาณาจัก รทางอุโ มงค์ช ่อ งแคบอัง กฤษและเนื่อ งจากการมีด ิน แดนโพ้น
ทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้ฝรั่งเศสมีเขตเวลาแตกต่างกันมากถึง 12 เขต
มากกว่าทุกประเทศบนโลก รวมทัง้ มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูริ
นาม (ติดกับ เฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เ ติน ของเนเธอร์แ ลนด์ (ติดกับ
แซ็ง-มาร์แต็ง)

ดินแดนของฝรั่งเศสเริ่มมีมนุษย์เข้ามาตัง้ รกรากตัง้ แต่สมัยยุคหินเก่า


ชาวเคลต์ถือเป็ นชาวยุโรปกลุ่มแรกที่เข้ามาตัง้ รกรากในยุคเหล็ก ก่อนที่
จักรวรรดิโรมันจะผนวกดินแดนแห่งนีใ้ นช่วง 51 ปี ก่อนคริสตกาล และก่อ
ให้เกิดวัฒนธรรมโรมันกอลซึ่งเป็ นรากฐานของภาษาฝรั่งเศส ชาวแฟรงก์
เดินทางมาถึงบริเวณนีใ้ น ค.ศ. 476 และก่อตัง้ ราชอาณาจักรแฟรงก์ซึ่งต่อ
มาได้กลายเป็ นศูนย์กลางของจักรวรรดิการอแล็งเฌียง ก่อนที่สนธิสัญญา
แวร์เดิงจะแบ่งพื้นที่อาณาจัก ร และอาณาจักรแฟรงก์ต ะวัน ตกได้ก ลาย
เป็ นราชอาณาจักรฝรั่งเศสใน ค.ศ. 987

ฝรั่งเศสเป็ นมหาอำนาจมาตัง้ แต่สมัยกลาง และปกครองด้วยระบบ


ฟิ วดัล พระเจ้า ฟี ลิป ที่ 2 เสริม สร้า งอำนาจของราชวงศ์แ ละยัง ขยาย
อาณาจักรเพิ่มขึน
้ เป็ นสองเท่า เมื่อสิน
้ รัชสมัยของพระองค์ ราชอาณาจักร
ก็กลายเป็ นรัฐที่มีอ ำนาจมากที่สุดในยุโรป ตัง้ แต่กลางศตวรรษที่ 14 ถึง
กลางศตวรรษที่ 15 ฝรั่ง เศสเผชิญ ความขัด แย้ง ทางราชวงศ์น ำไปสู่
สงครามร้อยปี ก่อนจะเข้าสูส
่ มัยฟื้ นฟูศิลปวิทยาซึ่งตามมาด้วยความเจริญ
ทางศิลปะและวัฒนธรรม ในช่วงเวลานัน
้ ฝรั่งเศสยังทำสงครามกับชาติ
ต่าง ๆ และมีการล่าอาณานิคมทั่วโลก และในศตวรรษที่ 20 พวกเขาเป็ น
ชาติที่มีอาณานิคมมากเป็ นอันดับสองของโลกในศตวรรษที่ 16 สงคราม
ศาสนาระหว่างชาวคาทอลิกและอูว์เกอโนทำให้ราชอาณาจักรอ่อนแอลง
ก่อนจะกลับ มาเป็ นมหาอำนาจของยุโ รปอีก ครัง้ ในศตวรรษที่ 17 ในรัช
สมัยของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แต่หลังสิน
้ สุดสงครามสามสิบปี ฝรั่งเศสต้อง
เผชิญภาวะเศรษฐกิจถดถอยและการทำสงครามอื่น ๆ (โดยเฉพาะความ
พ่า ยแพ้ใ นสงครามเจ็ด ปี และการมีส ่ว นร่ว มในสงครามปฏิว ัต ิอ เมริก า)
ทำให้ราชอาณาจักรระส่ำระส่ายอย่างหนักจนสิน
้ สุดศตวรรษที่ 18 นำไปสู่
การปฏิวัติใน ค.ศ. 1789 ซึ่งเป็ นการล้มล้างระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
การปฏิรูประบอบเก่า การประหารพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 และกลายสภาพ
เป็ นสาธารณรัฐสมัยใหม่ชาติแรก ๆ ในประวัติศาสตร์ และสร้างปฏิญญา
ว่าด้วยสิทธิมนุษยชนและพลเมืองมาจนถึงทุกวันนี ้

ฝรั่ง เศสยัง เป็ นมหาอำนาจอย่า งต่อ เนื่อ งในช่ว งต้น ศตวรรษที่ 19


ภายใต้จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ทรงปราบปรามภูมิภาคอื่น ๆ ในยุโรปและ
สถาปนาจักรวรรดิที่หนึ่ง การล่มสลายของจักรวรรดิน ำไปสู่ช่วงเวลาแห่ง
ความเสื่อ มโทรมจนเกิด การก่อ ตัง้ สาธารณรัฐ ที่ 3 ระหว่า งสงคราม
ฝรั่ง เศส-ปรัส เซีย ใน ค.ศ. 1870 ทศวรรษต่อ มาเป็ นช่ว งเวลาของความ
รุ่งเรืองทางวัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ และเศรษฐกิจที่เฟื่ องฟู ที่เรียกว่ายุค
สวยงาม (Belle Époque) ฝรั่ง เศสมีบ ทบาทสำคัญ ในสมัย ระหว่า ง
สงคราม โดยเข้าร่วมสงครามโลกครัง้ ที่หนึ่ง และเป็ นหนึ่งในมหาอำนาจ
ฝ่ ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครัง้ ที่สอง แต่ก็ถูกฝ่ ายอักษะยึดครองใน
ค.ศ. 1940 หลังจากการปลดแอกใน ค.ศ. 1944 สาธารณรัฐที่ 4 ได้ก่อตัง้
ขึน
้ เป็ นช่ว งเวลาสัน
้ ๆ และถูก ยุบ ในช่ว งสงครามแอลจีเ รีย ก่อ นที่
สาธารณรัฐที่ 5 จะก่อตัง้ ขึน
้ ใน ค.ศ. 1958 โดย ชาร์ล เดอ โกล ประเทศ
แอลจีเรียและอาณานิคมของฝรั่งเศสส่วนใหญ่ได้รับอิสรภาพในทศวรรษที่
1960 โดยยัง คงรัก ษาความสัม พัน ธ์ท ี่ใ กล้ช ิด กับ ฝรั่ง เศสมาถึง ปั จจุบ ัน
ฝรั่งเศสยังเป็ นศูนย์กลางของโลกทาง ศิล ปะ แฟชั่น วิทยาศาสตร์ และ
ปรัช ญามาหลายศตวรรษและเป็ นประเทศที่มีแ หล่ง มรดกโลกมากที่ส ุด
เป็ นอัน ดับ 5 ของโลกรวมทัง้ มีน ัก ท่อ งเที่ย วมากที่ส ุด ในโลก (89 ล้า น
คนใน ค.ศ. 2018) ฝรั่ง เศสเป็ นประเทศที่พ ัฒ นาแล้ว และมีร ะบบการ
ศึก ษา สาธารณสุข และระบบขนส่ง มวลชนที่มีค ุณ ภาพสูง อีก ทัง้ ยัง ติด
อัน ดับ ในแง่ข องคุณ ภาพชีว ิต ที่ด ีข องประชากร และมีด ัช นีก ารพัฒ นา
มนุษย์สูง ฝรั่งเศสมีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็ นอันดับ 7 ของโลกโดยวัดจาก
ผลิต ภัณ ฑ์ม วลรวมในประเทศ (จีด ีพ ี) และอัน ดับ 9 หากวัด ตามภาวะ
เสมอภาคของอำนาจซื้อ (พีพพ
ี ี) และมีค วามมั่งคั่งสูง เป็ นอัน ดับ 4 ของ
โลก ฝรัง่ เศสยังเป็ นประเทศผู้ก่อตัง้ สหภาพยุโรปและมีพ้น
ื ที่ใหญ่ที่สุดใน
บรรดาประเทศสมาชิก รวมทัง้ เป็ นประเทศผู้ก ่อ ตัง้ สหประชาชาติ เป็ น
สมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก, กลุ่ม 7, เนโท และสหภาพลาติน
และยัง เป็ นสมาชิก ถาวรของคณะมนตรีค วามมั่น คงแห่ง สหประชาชาติ
และเป็ นมหาอำนาจที่มีอาวุธนิวเคลียร์

1.2 การเมือง

สาธารณรัฐ ฝรั่ง เศสปกครองด้ว ยระบอบประชาธิป ไตย แบบ


สาธารณรัฐเดี่ยวกึ่งประธานาธิบดี รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสได้
ประกาศใช้เมื่อวันที่ 28 กันยายน 1958 โดยผ่านการลงประชามติ สาระ
สำคัญในรัฐธรรมนูญนัน
้ คือการเพิ่มอำนาจให้ประธานาธิบดี

1.2.1 บริหาร

อำนาจฝ่ ายบริห ารนัน


้ ถูก แบ่ง ออกและมีห ัว หน้า 2 คน ซึ่ง ก็ค ือ
ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐ ผ่านการเลือกตัง้ โดยตรงแบบสากล มีวาระ
5 ปี (เดิม 7 ปี ) มีต ำแหน่ง ประมุข แห่ง รัฐ อีก ด้ว ย และนายกรัฐ มนตรี
หัวหน้า คณะรัฐบาล ซึ่ง ถูก แต่ง ตัง้ โดยประธานาธิบ ดี ปั จจุบ ัน ฝรั่ง เศสมี
ป ระ ธา นา ธิบ ดีค ือ แ อม าน ุแ อล ม าค ร ง ด ำ ร ง ต ำ แ ห น ่ง ต งั ้ แ ต ่ 14
พฤษภาคม 2017 และนายกรัฐมนตรีคนปั จจุบันคือ ฌ็อง กัสแต็กซ์ ดำรง
ตำแหน่งตัง้ แต่ 3 กรกฎาคม 2020

1.2.2 นิติบัญญัติ

รัฐ สภาฝรั่ง เศสนัน


้ แบ่ง ออกเป็ น 2 สภาได้แ ก่ สภาผูแ
้ ทนราษฎร
(Assemblée Nationale) และ วุฒ ิส ภา (Sénat) สมาชิก สภาผู้แ ทน
ราษฎรเป็ นตัวแทนในเขตเลือกตัง้ มาจากการเลือกตัง้ โดยตรง มีวาระ 5 ปี
สภาผู้แทนราษฎรมีอำนาจในการอภิปรายไม่ไว้วางใจคณะรัฐมนตรีและ
เสีย งข้า งมากในสภาสามารกำหนดการตัด สิน ใจของรัฐ บาลอีก ด้ว ย
สมาชิกวุฒิสภามาจากการเลือกของคณะผูเ้ ลือกตัง้ มีวาระ 6 ปี (เดิม 9
ปี )

1.2.3 ตุลาการ

อำนาจฝ่ ายตุล าการเป็ นอิส ระไม่ข น


ึ ้ ตรง และใช้ถ ่ว งดุล อ ำนาจฝ่ าย
นิต ิบ ัญ ญัต ิแ ละฝ่ ายบริห าร ในประเทศฝรั่ง เศสเป็ นประเทศที่ใ ช้ร ะบบ
กฎหมายแบบซีวิลลอว์หรือกฎหมายที่บัญญัติไว้เป็ นลายลักษณ์อักษร เป็ น
ระบบประมวล และมิได้ตัดสินตามแนวคำพิพากษาของศาล แต่อย่างไร
ก็ตาม แนวคำพิพากษาของศาลยังถือว่ามีน้ำหนักในการพิจารณาคดีความ
กฎหมายฝรั่งเศสได้แบ่งเป็ นสองส่วนสำคัญ คือ กฎหมายแพ่งและอาญา
และกฎหมายปกครอง

1.2.4 ศาลคดีแพ่งและอาญา

ระบบศาลของฝรั่ง เศส จะไต่ส วนคดีค วามทัง้ ด้า นแพ่ง และอาญา


โดยแบ่งเป็ นศาลชัน
้ ต้น ศาลอุทธรณ์ และศาลฎีกาตามลำดับ
- ผูพ
้ ิพ ากษา เป็ นข้า ราชการที่ไ ด้ร ับ การคุ้ม ครองสถานะเป็ นพิเ ศษ
โดยไม่สามารถถูกปลดจากตำแหน่งโดยปราศจากความยินยอมจาก
เจ้าตัว โดยมีสภายุติธรรมเป็ นผู้ดูแลการทำงานของผูพ
้ ิพากษา
- พนักงานอัยการ ซึ่งเป็ นหน่วยงานในกำกับ ของกระทรวงยุต ิธรรม
ในอดีตได้มีข้อครหาทางการเมืองถึงการยกฟ้ องหรือสั่งฟ้ องอย่างไม่
เป็ นธรรม โดยเฉพาะคดีความเรื่องทุจริตของเจ้าหน้าที่รัฐ ซึ่งเรื่อง
ราวของอัยการมักจะเป็ นหัวข้อที่อภิปรายกันเป็ นประจำ

การพิจารณาคดีความโดยลูกขุน จะสงวนไว้ในกรณีคดีอาชญากรรม
ร้ายแรง ซึง่ เป็ นคดีความในอำนาจของศาลชัน
้ ต้นที่พิจารณาโดยข้าหลวง
พิเศษ "Courts of Assizes" อันประกอบไปด้วยผู้พิพากษา 3 ท่าน และ
คณะลูก ขุน จำนวน 9 ท่า น (12 ท่า นในกรณีอ ุท ธรณ์) โดยจะร่ว มกัน
พิจารณาคำพิพากษานัน
้ ๆ (รวมทัง้ กำหนดโทษ) โดยคณะลูกขุนจะเลือก
จากผู้ม ีส ิท ธิเ ลือ กตัง้ โดยระบบสุ่ม ในกรณีท ั่ว ไป ผู้พ พ
ิ ากษาจะเป็ นผู้
พิพากษาโดยอาชีพ ยกเว้นศาลอาญาเฉพาะเยาวชน อัน จะประกอบไป
ด้วยผู้พิพากษา 1 ท่าน และผูพ
้ ิพากษาสมทบอีก 2 ท่าน ซึ่งเป็ นบุคคลที่
ถูกคัดเลือกเข้ามาที่ไม่ได้มีอาชีพเป็ นผูพ
้ พ
ิ ากษา ศาลเฉพาะด้านอื่น ๆ ก็
มัก จะประกอบไปด้ว ยผู้ท รงคุณ วุฒ ิใ นด้า นสาขานัน
้ อาทิเ ช่น คณะ
ตุลาการด้านแรงงาน ประกอบไปด้วยผู้ทรงคุณ วุฒ ิจากสหภาพแรงงาน
จำนวนเท่า ๆ กับจากสหภาพนายจ้าง ซึ่งยังพบการใช้ก ับคณะตุล าการ
ด้านอสังหาริมทรัพย์อีกด้วยโดยก่อนเข้าสู่การพิจารณาของระบบศาล จะ
ใช้ร ะบบไต่ส วน (Inquisitorial System) โดยเมื่อ เข้า สูศ
่ าลแล้ว จะใช้
ระบบกล่า วหา (Adversary System) โดยผู้ท ี่ถ ูก กล่า วหา (จำเลย) จะ
ถือว่าบริสุทธิจ์ นกว่าจะพิสูจน์ได้ว่ามีความผิด (ตามคำพิพากษา)
ยุคอาณาจักรแฟรงก์

หลังจากคริสต์ศตวรรษที่ 3 เป็ นต้นมา จักรวรรดิโรมันก็เสื่อมอำนาจ


ดินแดนหลายส่วนของจักรวรรดิโรมันตกอยู่ในเงื้อมมือของชนเผ่าป่ าเถื่อน
หลายพวก ชนเผ่าป่ าเถื่อนที่ตงั ้ ถิ่นฐานอยู่ในดินแดนที่เป็ นประเทศฝรั่งเศส
ปั จจุบัน ได้แก่ ชนเผ่าแฟรงก์ที่อาศัยอยู่ทางเหนือ ชนเผ่าวิซิกอทที่อาศัย
อยู่ทางใต้ ชนเผ่าเบอร์กันดีในบริเวณริมแม่น ้ำโรน และชนเผ่าเอลแมนที่
อาศัย อยู่บ ริเ วณพรมแดนของประเทศฝรั่ง เศสและเยอรมนี ชนเผ่า ป่ า
เถื่อนเหล่านีพ
้ ูดภาษากลุ่มเจอร์แมนิก สำเนียงของชนเหล่านีไ้ ด้สง่ ผลต่อ
ภาษาละตินที่เคยพูดอยู่เดิมในฝรั่งเศส และคำจากภาษาของชนป่ าเถื่อน
ได้แก่ คำที่มีความหมายเกี่ยวกับยุทธวิธีในการรบ และชนชัน
้ ทางสังคม ได้
ถูกนำมาใช้ในภาษาละตินที่พูดกันอยู่ในฝรั่งเศส โดยภาษาฝรั่งเศสปั จจุบัน
มีคำที่มีที่มาจากคำในภาษาของชนป่ าเถื่อนอยู่ประมาณ ร้อยละ 60

ภาษาฝรั่งเศสในยุคกลาง

นักภาษาศาสตร์ได้จัดจำแนกภาษาฝรั่งเศสที่พูดกันในยุคกลางออก
เป็ น 3 จำพวก คือ พวกแรกคือภาษาที่เรียกกันว่า Langue d'Oïl พูดกัน
อยู่ทางตอนเหนือของประเทศ พวกที่สองคือ Langue d'Oc ที่พูดกันอยู่
ทางใต้ของประเทศ และพวกที่ส ามคือ Franco-Provençal ซึง่ เป็ นการ
ผสมผสานกันของสองภาษาแรก Langue d'Oïl เป็ นภาษาที่ใช้ค ำว่า oïl
ในคำพูดว่า "ใช่" (ปั จจุบันใช้คำว่า oui) ในสมัยกลางภาษานีจ
้ ะพูดกันใน
ตอนเหนือ ของประเทศฝรั่ง เศส ภาษา Langue d'oïl เติบ โตต่อ มาจน
กลายเป็ นภาษาฝรั่ง เศสเก่า  ช่ว งระยะเวลาของภาษาฝรั่ง เศสเก่า อยู่
ระหว่าง ศตวรรษที่ 8 กับ ศตวรรษที่ 14 ภาษาฝรั่งเศสเก่ามีลักษณะร่วม
กันหลายอย่างกับภาษาลาติน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการลำดับคำในประโยค
ซึ่งมีอิสระสูงเหมือนภาษาลาติน และต่างกับการบังคับทางไวยกรณ์ของ
ภาษาฝรั่ง เศสในปั จจุบ ัน Langue d'Oc เป็ นภาษาที่ใช้ค ำว่า oc ในคำ
พูด ว่า "ใช่" ภาษานีพ
้ ูดกันอยู่ทางตอนใต้ข องฝรั่งเศสและทางเหนือ ของ
สเปน ซึ่ง ภาษานีจ
้ ะมีล ัก ษณะคล้า ยกับ ภาษาละติน มากกว่า Langue
d'Oïl

ภาษาฝรั่งเศสยุคใหม่

นัก วิช าการเรีย กภาษาฝ รั่ง เ ศ ส ที่พ ูด ในช ่ว ง ก ่อ นห น้า ปี  พ .ศ .


1843 ซึง่ ก็คือภาษา Langue d'Oïl ว่าเป็ นภาษาฝรั่งเศสเก่า เอกสารฉบับ
แรกที่เ ขียนขึน
้ เป็ นภาษาฝรั่ง เศสเก่า คือ "คำปฏิญ าณแห่ง สตราสบูร์ก "
(Strasbourg) ซึง่ เขียนขึน
้ ในปี พ.ศ. 1385

ในปี พ.ศ. 2082 พระเจ้าฟรองซัวที่ 1 ได้ออกพระราชกฎษฎีกาที่กำหนด


ให้ภาษาฝรั่ง เศสเป็ นภาษาทางการของฝรั่ง เศสแทนที่ภาษาละติน และ
กำหนดให้ใช้ภาษาฝรั่งเศสในการบริหารราชการ ในราชสำนัก และในการ
พิจารณาคดีในศาล ในช่วงนีไ้ ด้มีการปรับปรุงตัวสะกดและการออกเสียง
ในภาษาฝรั่งเศส นักวิชาการเรียกภาษาฝรั่งเศสในยุคนีว้ ่า ภาษาฝรั่งเศส
ยุคกลาง ในศตวรรษที่ 17 หลังจากที่มีการกำหนดมาตรฐานภาษาฝรั่งเศส
ให้พูดสำเนียงเดียวกันทั่วประเทศ การปรับปรุงและการกำหนดหลักต่าง
ๆ ของภาษา ก็ทำให้เกิดภาษาฝรั่งเศสที่เรียกกันว่าภาษาฝรั่งเศสยุคใหม่
ซึ่งพูดกันอยู่ในปั จจุบัน

ในปี พ.ศ. 2177 พระคาร์ดินัลรีเชอลีเยอ (Richelieu) ได้ก่อตัง้ องค์กรที่


เรีย กว่า L'Académie Française (ลากาเดมีฟ ร็อ งแซซ หรือ บัณ ฑิต ย
สถานฝรั่งเศส ซึ่งเปรียบได้กับสำนักงานราชบัณฑิตยสภาของไทย) เพื่อทำ
หน้าที่ดูแลรักษาภาษาฝรั่งเศสไว้ไม่ให้วิบัติ และคงภาษาฝรั่งเศสให้อยู่ใน
รูป แบบเดิม ให้ม ากที่ส ุด ในช่ว งศตวรรษที่ 17-19 ฝรั่ง เศสได้ม ีบ ทบาท
สำคัญในการเมืองของทวีปยุโรป และเป็ นศูนย์กลางของปรัชญารู้แจ้งที่
แพร่ห ลายกัน อยู่ใ นสมัย นัน
้ ทำให้อ ิท ธิพ ลของภาษาฝรั่ง เศสแผ่อ อกไป
กว้างขวางและกลายเป็ นภาษากลางของยุโรป มีบทบาทสำคัฐทางการทูต
วรรณคดี และศิลปะ มหาราชในยุคนัน
้ สองพระองค์ คือ พระนางแคทเธอ
รีน มหาราชิน ีแ ห่ง รัส เซีย และพระเจ้า เฟรดริก มหาราชแห่ง ปรัส เซีย
สามารถตรัสและทรงพระอักษรเป็ นภาษาฝรั่งเศสได้ดี
บทที่ 2

รูปแบบการปกครองส่วนท้องถิ่น

2.1 เทศบาล (Commune)

คอมมูนหรือเทศบาล ถือได้วเป็ นหน่วยการปกครองทองถิ่นในระดับ


รากฐานที่มีความเกาแกและมีขนาดเล็กที่สุดเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ
ปจจุบันมีจำนวนทัง้ สิน
้ ถึง 36,580 แหง (และ 183 แหงในจังหวัด
โพนทะเล) มีจำนวนสมาชิกสภาซึ่งมาจากการเลือกตัง้ ถึงประมาณ
550,000 คน เทศบาลโดยสวนใหญ่ถึงใหญ่ร้อยละ 90 จะมีลักษณะเป็ น
เมืองขนาดเล็กและอยูในพื้นที่ชนบทซึ่งมีจำนวนประชากรต่ำกวา 1,500
คน 4 การปกครองทองถิ่นในรูปแบบนีถ
้ ือเป็ นสถาบันทางการเมืองที่
เกาแกและฝงรากลึกมาอีกทัง้ ยังสะทอนถึงลักษณะทางประวัติ
ศาสตรสงั คมของชุมชนอย่าวแท้จิงจริงคอมมูนหรือเทศบาลในสมัยปจจุ
บันมีพ้น
ื ฐานทางพัฒนาการมาจากเขตทางศาสนา (Parishes) ตัง้ ศตวรรษ
ที10 - 12 และตอมาในสมัยหลังการปฏิวัติฝรั่งเศสก็ได้มีการจัดเขตพื้นที่
ใหม่แต่โดยรวมก็ยังคงอยู่บนฐานของเขตทางศาสนาเดิม สถานะของ
คอมมูนในฐานะที่เป็ นการปกครองทองถิ่นสมัยใหมเกิดขึน
้ ในปค.ศ.1884
อันเปนผลจากการออกกฎหมายพระราชบัญญัติเทศบาล
(MunicipalGovernment Act 1884) ครอบคลุมชุมชนตางๆ ทั่ว
ประเทศตัง้ แต่เมืองขนาดใหญไปจนถึงหมูบ้านเล็กๆ ในชนบทโดยทั่วไป
แม้เทศบาลหรือคอมมูนจะถูกมองวาเปนหนวยการปกครองทองถิ่นที่มี
ขนาดเล็กและขาดศักยภาพทางการบริหาร แต่ในอีกดานนึ่งประชาชน
ชาวฝรั่งเศสกลับมีความผูกพันและระบุตนเอง (identify) เขากับคอมมูน
ที่ตนอยูอาศัยอย่างแนบแน่นเนื่องจากคอมมูนนัน
้ เปรียบเสมือนกับสัญลัก
ษณของการแสดงตนเองในฐานะพลเมือง (symbol of civic
identification)ด้วยจำนวนที่มากและความหลากหลายที่มีอยู่ทำให้
เป็ นการยากที่จะอธิบายถึงลักษณะร่วมของหน่วยการปกครองทองถิ่นใน
ระดับนีอ
้ ย่างไรรก็ดีเราอาจจัดแบงคอมนูมหรือเทศบาลได้ในสองลักษณะ
ดังตอไปนี ้
(1) เทศบาลขนาดเล็กและขนาดกลาง (ประชากรนอยกวา
20,000 คน)เทศบาลขนาดเล็กและกลางเหล่านีจ
้ ะมีลก
ั ษณะทาง
ชุมชนเป็ นเมืองขนาดเล็กหรือเป็ นหมูบานตามชนบททางขนาด
และทรัพยากร เทศบาลเล็กๆ เหลานีจ
้ ึงตองพึ่งพาและรับการ
ปกปองจากองคกรทางปกครองในระดับที่สูงกวาโดยเฉพาะอย่าง
ยิ่งจังหวัด นอกจากนีย
้ ังตองอาศัยความร่วมมือกันในระหว่างเทศ
บาลผานองคกรควาวร่วมมือหรือวิสาหกิจรวมเพื่อจัดทำบริการ
สาธารณะต่างๆ ที่เทศบาลแห่งหนึง่ แหงใดจัดทำดวยตนเองไม่ได้
(2) เทศบาลขนาดใหญ่ เทศบาลเหลานีจ
้ ะอยู่ในชุมชนที่มีสภาพ
ของความเป็ นเมืองสูง มีศักยภาพและทรัพยากรทัง้ ในทางการ
เงินและบุคลากรไม่ต้อง พึง่ พาองคกรทางปกครองอื่นๆ ดังเชน
เทศบาลขนาดเล็ก จึง สามารถจัดทำบริการสาธารณะต่างๆ ได่
อย่างหลากหลาย

2.2 จังหวัด (Dpartement)

จังหวัดมิใชเขตการปกครองตามธรรมชาติดังเชนกรณีของเทศบาล
หากแต่เป็ นเขตการปกครองที่ถูกกำหนดภายหลังการปฏิวัติฝรั่งเศส โดย
ความมุงหวังใหเปนองคกรระหว่างกลาง (intermediate) ที่เชื่อมโยงการ
ปกครองในระดับทองถิ่นเขากับรัฐสวนกลางกลายเป็ นการปกครอง
สวนภูมิภาคที่ดำรงคู่กับระบบการเมืองการปกครองของฝรั่งเศสมาชานาน
โดยอยูภายใตการ บริหารของผูวาราชการจังหวัดซึ่งแตงตัง้ จากสวนกลาง
และศาลาวาการจังหวัดก็เปรียบเสมือนกับ เป็ นศูนย์รวมหรือจุดบรรจบ
ของผลประโยชนในระดับทองถิ่นที่นักการเมืองทองถิ่น ชนชัน
้ นํา ทองถิ่น
และขาราชการสวนกลางจะเขามานั่งเจรจาตอรองและทำความตกลงทัง้
ทางการเมืองและ การบริหารในระดับทองถิ่น

ตอมาภายหลังกระบวนการกระจายอำนาจในตนทศตวรรษที่1980
พื้นที่จังหวัดก็ได้มี สถานะให้เป็ นหน่วยการปกครองทองถิ่นที่ซอนการปก
ครองสวนภูมิภาคเมื่อรัฐบาลได้มีการโอนอำนาจทางการบริหารกิจการสา
ธารณะตางๆ ใหอยูในความรับผิดชอบของสภาจังหวัด (conseil
générlal) ที่มาจากการเลือกตัง้ ของประชาชน และบทบาทในฐานะ
ผูบริหารของผู้ว่าราชการ จังหวัดก็ถูกแทนที่โดยประธานสภาจังหวัด
(président du conseil générlal) โดยมีงบประมาณ, อำนาจหนาที่,
บุคลากร และทรัพยสินเป็ นของตนเองแยกออกจากจังหวัดในฐานะการ
บริหาร ราชการสวนภูมิภาค

ปจจุบัน การปกครองทองถิ่นในรูปแบบจังหวัดรวนทัง้ สิน


้ 96 แหง
(และอีก 4 แหงใน จังหวัดโพนทะเล) มีอำนาจหนาที่ในการใหความ
สนับสนุนการทำงานของหนวยการปกครอง ทองถิ่นในรูปแบบเทศบาล
จัดทำบริการสาธารณะที่เกินขีดความสามารถของเทศบาลหรือกิจการที่
ครอบคลุมพื้นที่ขนาดใหญ่รวมถึงบทบาทในฐานะผูประสานงานระหว่าง
หน่วยการปกครอง ทองถิ่นหรือองคกรความร่วมมือเพื่อจัดทำบริการ
ต่างๆ

2.3 ภาค (Rgion)

การจัดตัง้ เขตการปกครองในรูปของภาคเป็ นผลมาจากความ


พยายามของรัฐบาลกลางนับแต่ปลายยุคทศวรรษที่1950 ซึ่งตองการจัด
ตัง้ เขตการบริหารขนาดใหญ่เพื่อกระจายภารกิจและ อำนาจหนาที่ซึ่งรวม
สวนกลางขณะเดียวกันก็ตองสามารถรองรับนโยบายดายการพัฒนา
ประเทศฝรั่งเศส 77 ขนาดใหญ่ที่ครอบคลุมพื้นที่เกินกวาจังหวัดที่มีอยู่
เดิมดังนัน
้ ในปค.ศ.1956 รัฐบาลจึงริเริ่มโดย การจัดใหมี "เขตจัดตัง้ ใน
ระดับภาค" (programme regions) จำนวน 22 แหงขึน
้ และเริ่มมีความ
ชัดเจนในยุคทศวรรษที่1960 เมื่อรัฐบาลตองการเร่งการพัฒนาเศรษฐกิจ
ในระดับ ภูมิภาคจึง ได้มีการรวบเอาจังหวัดตางๆ เขาไวดวยกัน โดยใหผู้
ว่าราชการจังหวัดในเขตจังหวัดเป็ นศูนย์กลางทำหนาที่เป้ นผู้ว่าวาราชการ
ภาคเพื่อคอยประสานงานหน่วยราชการตางๆ ในระดับภาครวมถึง
เปนผูดูแล คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจในระดับภาค (CODERs) ชุด
ต่างๆ ซึ่งเป็ นกลไกพิเศษที่รัฐจัดตัง้ ขึน
้ เพื่อผลด้านการพัฒนา

ความพยายามจัดตัง้ ภาคใหเป็ นเขตการปกครองทองถิ่นเกิดขึน


้ ครัง้
แรกในปค.ศ.1969 เมื่อ นายพลเดอโกลล (le général Charles de
Gaulle) ไดขอใหมีการออกเสียงประชามติเกี่ยวกับการ จัดตัง้ หน่วยการ
ปกครองทองถิ่นรูปแบบใหม่ในระดับภาคแต่กลับไม่ประสบความสำเร็จ
ตอมาในป ค.ศ.1972 ได้มีการออกพระราชบัญญัตล
ิ งวันที่ 5 กรกฎาคม
จัดตัง้ ภาคขึน
้ มาโดยไม่ได้มีสถานะ เป็ นหน่วยการปกครองทองถิ่นให้มี
สถานะเป็ น "องคกรมหาชนอิสระ" (établissement public) ทําหนาที่
สงเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมขององคกรปกครองสวนทองถิ่นที่อ
ยูในเขตภาค 5 อยางไรก็ดีความพยายามจัดตัง้ ภาคใหสำคัญยิ่งองคกรปก
ครองสวนทองถิ่นยังคงมีอยู่แต่โดยโดยเหตุผลของ ความจำเป็ นปรากฎใน
รายงานที่มีความสำคัญยิ่งของคณะกรรมการที่รัฐบาลจัดตัง้ ขึน
้ เพื่อศึกษา
เกี่ยวกับการบริหารงานในภาครัฐ (the "Guichard Report") ซึง่ ได้กล่าว
ว่า“รัฐบาลกลางได้ดูดซับ เอากิจกรรมทางการบริหารเกือบทัง้ หมดเขามา
อยูในมือของตนและเปนการเขาไปควบคุมดูแล แม้แต่เรื่องที่รายละเอียด
ปลีกยอย หนวยงานราชการสวนกลางก็เกิดการขยายตัวทัง้ ในแงจำนวน
องคกรและขอบขายภารกิจของตน แตทงั ้ นีก
้ ็เปนไปอยางกระจัดกระจาย
ไรทิศทาง จึงนําไปสูส
 ภาพ ปญหาของการรวมศูนย์อำนาจแตขาดความ
เป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน (centralisation without the benefits of
unity) การบริหารกิจการสาธารณะในระดับทองถิ่นจึงมิได้เป็ นเรื่องของ
ชุมชนทองถิ่นที่ จะจัดการกันเอง กลับถูกสวนกลางเขามาแทรกแซงทัง้ ใน
ด้านงบประมาณและการกำกับดูแลใน รูปแบบตางๆ ดังนัน
้ กระบวนการ
กระจายอำนาจที่เกิดขึน
้ ในตนทศตวรรษที่1980 ภาคในฐานะ หน่วยการ
ปกครองทองถิ่นจึงไดเกิดขึน
้ โดยมีสภาภาค (conseil régional) ที่มี
สมาชิกมาจากการ เลือกตัง้ ทำหน้าที่ฝ่านสภา มีประธานสภาภาค
(président du conseil régional) ) ทำหน้าที่เป้ นองค์กรผู้นำฝ่ าย
บริหารและมีคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคม (comité économique
et socialกรที่ ปรึกษา ปจจุบันภาคมีจํานวนทัง้ สิน
้ 22 แหง (และอีก 4
แหงในจังหวัดโพนทะเล) มีลก
ั ษณะเปน หนวยการปกครองทองถิ่นในโค
รงสรางสวนบน (upper tier) เพื่อทำหนาที่ดานยุทธศาสตรและการ
วางแผนในระดับทองถิ่น และถูกจัดวางบทบาทในฐานะองคกรพี่เลีย
้ งเพื่อ
ทําหนาที่วางกรอบ สนับสนุน และจัดหาทรัพยากรที่จำเป็ นต่างๆ ใหกับ
จังหวัดและเทศบาลซึ่งถูกจัดวางให้เป็ นองค์กรในระดับปฏิบัติการ

2.4 การปกครองทองถิ่นรูปแบบพิเศษ
นอกเหนือจากองคกรปกครองทองถิ่นทัง้ สามรูปแบบข้างต้นแลว ใน
ฝรั่งเศสยังได้มีการ จัดตัง้ หน่วยการปกครองทองถิ่นรูปแบบพิเศษเพื่อทำ
หนาที่ในเขตเมืองใหญ (les grandes villes) ที่มี จำพนวนประชากรหนา
แน่นและมีสภาพความเป็ นเมืองสูง 7 ซึ่งประกอบไปด้วยการปกครองทอง
ถิ่น ในนครปารีส (Ville-de-Paris) และการปกครองทองถิ่นในเขตเมือง
ใหญอีกสองแหงคือ Lyon และ Marseille

บทที่ 3

ความสัมพันธ์ระหว่างราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค
และส่วนท้องถิ่น

3.1 การจัดความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับท้องถิ่น
การพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับท้องถิ่น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ในกรณีของรัฐเดี่ยว เนื่องด้วยประเทศไทยเป็ นรัฐเดี่ยว มีความจำเป็ นที่จะ
ต้องพิจารณาถึงองค์กรที่อยู่ระหว่างกลางของรัฐและท้องถิ่น
(Intermediate Structure) หากพิจารณาควบคู่ไปกับสถานภาพของ
องค์กรของรัฐที่อยู่ตรงกลางระหว่างรัฐกับท้องถิ่น สามารถจัดแบ่งออกได้
เป็ น 3 รูปแบบ ดังต่อไปนี ้

3.1.1 ความสัมพันธ์แบบไม่มีกฎหมายกำหนดให้มีการบริหาร
ราชการส่วนภูมิภาค (Sub-National Government in General)

รัฐบาลกลางจะมีความสัมพันธ์กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โดยตรง โดยไม่มีการบริหารราชการส่วนกลางมาขึน
้ ตรงกลาง แม้ว่าจะมี
การจัดตัง้ องค์กรจากส่วนกลางในพื้นที่ต่าง ๆ แต่องค์กรเหล่านีเ้ ป็ นผู้แทน
จากส่วนกลางโดยตรง อีกทัง้ ไม่ได้มีกฎหมายจัดตัง้ ให้เป็ นองค์การบริหาร
ส่วนภูมิภาคแต่อย่างใด เช่น ในประเทศญี่ปุ่น มีการจัดตัง้ สำนักงานของ
กระทรวงต่าง ๆ ในพื้นที่ หน่วยงานเหล่านีป
้ ฏิบัติหน้าที่ขน
ึ ้ ตรงต่อส่วน
กลางคือกระทรวงที่จัดตัง้ สำนักงานเหล่านีข
้ น
ึ ้ หน่วยงานเหล่านีเ้ ป็ น
ราชการส่วนกลางที่ตงั ้ สำนักงานนอกเขตเมืองหลวงและมิใช่ส่วนภูมิภาค

สำหรับความสัมพันธ์ของท้องถิ่นกับรัฐบาลกลางนัน
้ จะมีความ
สัมพันธ์กันตามภารกิจหน้าที่ของท้องถิ่น กล่าวคือ ประการที่หนึ่ง ท้องถิ่น
มีหน้าที่ต้องกระทำตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็ นอำนาจหน้าที่ของท้อง
ถิ่น (Local Function) และ ประการที่สอง ท้องถิ่นมีภารกิจหน้าที่ที่ส่วน
กลางมอบหมายให้ท้องถิ่นทำการแทน (Delegated Functions) ทัง้ สอง
ประการมีส่วนกำหนดลักษณะของความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับท้องถิ่นที่
แตกต่างกัน กล่าวคือ หากหน้าที่ใดที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็ นอำนาจ
หน้าที่ของท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับท้องถิ่นจะเป็ นไปตาม
กฎหมาย และกระบวนการกำกับดูแลให้เป็ นไปตามกฎหมาย

หากหน้าที่ใด ท้องถิ่นต้องทำเพราะว่าเป็ นสิ่งที่รัฐบาลกลางมอบ


หมายให้ทำ ความสัมพันธ์จะเป็ นไปตามข้อตกลงระหว่างรัฐบาลกลางกับ
ท้องถิ่น การกำหนดอำนาจหน้าที่นี ้ ส่งผลให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กับรัฐบาลกลางเข้ามาเกี่ยวข้องสัมพันธ์ต่อกันอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงได้

องค์กรในพื้นที่ก็มีความสำคัญต่อการจัดบริการสาธารณะแก่
ประชาชน และต่อการทำกิจกรรมของท้องถิ่นอยู่ไม่น้อย เพราะองค์กร
เหล่านีท
้ ำหน้าที่หลักในการช่วยเหลือให้รัฐบาลกลาง และท้องถิ่นประสาน
งานกันได้ง่าย และคล่องตัวขึน
้ นอกจากนี ้ การจัดทำโครงการขนาดใหญ่
ๆ บางโครงการเป็ นของรัฐบาลกลางโดยตรงก็ยังคงมี รวมทัง้ การทำงาน
ร่วมกัน (Shared Functions) ระหว่างรัฐบาลกลางกับองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นขนาดใหญ่

3.1.2 ความสัมพันธ์แบบมีเครือข่ายการบริหารราชการที่ได้รับ
มอบอำนาจจากส่วนกลาง (Network of Deconcentrated
Administrations)

ลักษณะเด่นตรงที่รัฐบาลกลางได้มอบอำนาจให้แก่ผู้แทนของตน
ออกไปปฏิบัติหน้าที่นอกเขตเมืองหลวงอย่างเป็ นระบบระเบียบ อีกทัง้ มี
จำนวนผู้แทนของราชการส่วนกลางออกไปทำหน้าที่เป็ นจำนวนมาก มี
กฎหมายรองรับการออกปฏิบัติหน้าที่ของทางราชการอย่างเป็ นทางการ
เรียกว่าเป็ นการบริหารราชการส่วนภูมิภาค (Regional Administration)
หัวใจสำคัญของการบริหารราชการส่วนภูมิภาคเกี่ยวข้องโดยตรงกับ
ระบบการแบ่งอำนาจ (Deconcentration) หรือการมอบอำนาจ
(Delegation) จากราชการส่วนกลางออกไปให้แก่ผู้แทนของตน ระบบ
การแบ่งอำนาจ หรือการมอบอำนาจนี ้ มีลักษณะเด่น ๆ ด้วยกันแบ่งออก
เป็ น 2 ระบบ ดังต่อไปนี ้

(1) ระบบมอบอำนาจโดยกรม มีการมอบอำนาจให้แก่ผู้แทนของ


กรม เพื่อทำหน้าที่ในส่วนภูมิภาค แต่ละกรมอาจจะมีการจัดตัง้ หน่วยของ
ตนขึน
้ เป็ นการบริหารราชการส่วนภูมิภาคแบบเป็ นทางการ และอาจมี
การจัดตัง้ เป็ นหน่วยบริหารพื้นที่แบบไม่เป็ นทางการขึน
้ ได้ในเวลาเดียวกัน
ระบบการมอบอำนาจโดยกรมต่าง ๆ ดังกล่าว ส่งผลสำคัญทำให้การ
บริหารงานในเขตพื้นที่มีความแตกกระจายออกไป เพราะว่าแต่ละหน่วย
งาน ต่างได้รับมอบอำนาจจากกรมของตน รวมทัง้ ถูกจัดตัง้ มีระบบงบ
ประมาณ บุคลากร และต้องทำรายงานให้แก่กรมต่าง ๆ ซึ่งเป็ นผู้จัดตัง้
หน่วยงานของตนขึน
้ ระบบมอบอำนาจโดยกรมนีเ้ ป็ นลักษณะของการ
บริหารราชการส่วนภูมิภาคของประเทศไทย

2) ระบบมอบอำนาจโดยรัฐมนตรีและผู้มีอำนาจเสมอคณะรัฐมนตรี
ในระบบนี ้ รัฐบาลกลางโดยรัฐมนตรีจะเป็ นผู้มอบอำนาจของรัฐให้แก่ส่วน
ภูมิภาคเอง อีกทัง้ ยังเป็ นผู้เลือกสรรผู้ที่ไปปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว รัฐมนตรีมี
บทบาทโดยตรงในการมอบอำนาจ และผู้รับมอบอำนาจจะต้องทำงาน
ร่วมกันในรูปแบบคณะกรรมการ เรียกว่า เป็ นระบบวางแผนการทำงาน
ส่วนภูมิภาค (Region Planning Model) ตัวอย่างประเทศที่ใช้ระบบนี ้
คือ สวีเดน ซึง่ มีคณะกรรมการบริหารเป็ นผู้ประสานความร่วมมือกับฝ่ าย
ต่าง ๆ ในสภาเขต ฝ่ ายบริหารเขต และกลุ่มการเมืองต่าง ๆ ของทัง้
รัฐบาลกลาง และรัฐบาลท้องถิ่น เพื่อบริหารงานภาคอย่างมีประสิทธิภาพ

3.1.3 ความสัมพันธ์แบบมีระบบผู้แทนของรัฐประจำพื้นที่
(Prefect System)

ระบบนีเ้ ป็ นระบบที่มีรากฐานมาตัง้ แต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 ใน


ฝรั่งเศส ซึ่งกษัตริย์ฝรั่งเศสได้แต่งตัง้ ข้าราชการชัน
้ สูงเป็ นข้าหลวง ให้ท ำ
หน้าที่บริหารพื้นที่ต่าง ๆ ต่อมาได้วิวัฒนาการเป็ นระบบผู้ว่าราชการ
จังหวัด และผู้ว่าราชการจังหวัด (Prefect) โดยเป็ นผูแ
้ ทนของรัฐ (State)
ที่มาจากการเสนอชื่อของกระทรวงมหาดไทย โดยความเห็นชอบของคณะ
รัฐมนตรี และแต่งตัง้ โดยประธานาธิบดีให้ทำหน้าที่เป็ นผู้บริหารสูงสุดใน
เขตพื้นที่ของรัฐ จึงเป็ นระบบที่มีเอกภาพเป็ นอย่างสูง (Unified System)
ไม่ว่าจะเป็ นงบประมาณ การบริหารงานบุคคล และระบบการแยกอำนาจ
หน้าที่และความรับผิดชอบภายในพื้นที่เป็ นของจังหวัด เพราะมีการมอบ
อำนาจไปเพียงทางเดียว บรรดาหัวหน้าส่วนราชการอื่น ๆ ภายในจังหวัด
เป็ นผู้รับมอบอำนาจต่อจากผู้ว่าราชการจังหวัดอีกทีหนึ่งดังนัน
้ การ
บริหารงานภาครัฐ การวางแผน การดำเนินโครงการต่าง ๆ จึงเป็ นไป
อย่างมีระบบระเบียบ และเป็ นความรับผิดชอบของผู้ว่าราชการจังหวัด
และผู้ว่าราชการภาค ซึง่ เป็ น “เจ้าภาพ” ของงานต่าง ๆ เพียงผู้เดียวทัง้
ในทางกฎหมายและในทางการบริหารราชการ

หากการจัดระบบบริหารราชการส่วนภูมิภาคมีลักษณะแตกกระจาย
เช่น มีการมอบอำนาจโดยกรม ท้องถิ่นจะมีความสัมพันธ์กับรัฐบาลกลาง
และสัมพันธ์กับกรมต่าง ๆ อย่างซับซ้อน ในระบบที่มีการบริหารราชการ
ส่วนภูมิภาคมีเอกภาพเป็ นอย่างสูง ย่อมก่อให้เกิดความรู้สึกได้โดยง่ายกว่า
ท้องถิ่นจะมีความเป็ นอิสระน้อยกว่าระบบที่การบริหารราชการส่วน
ภูมิภาคแตกกระจาย เพราะการบริหารงาน งบประมาณ นโยบายการ
พัฒนา บุคลากร ฯลฯ ของราชการส่วนภูมิภาคจะมีเอกภาพเป็ นอย่างสูง
มีความจำเป็ นที่รัฐจะต้องตรากฎหมายด้านการปกครองท้องถิ่นและ
กฎหมายเกี่ยวกับการกระจายอำนาจให้เป็ นระบบระเบียบ เพื่อประกัน
ความเป็ นอิสระของท้องถิ่นและเอื้ออำนวยให้ท้องถิ่นทำหน้าที่การงาน
ของตนเองโดยไม่ถูกราชการส่วนภูมิภาคที่มีความเข้มแข็งและมีเอกภาพ
อย่างสูงเข้าแทรกแซง

3.2 การปกครองท้องถิ่นกับรัฐสมัยใหม่ในปั จจุบัน

การเปลี่ยนแปลงของรัฐสมัยใหม่ในปั จจุบัน เกิดมาจากสาเหตุหลาย


ปั จจัย และที่สำคัญล้วนมีผลกระทบต่อการปกครองท้องถิ่นที่ดำรงอยู่ภาย
ใต้รัฐสมัยใหม่ของแต่ละประเทศ ปั จจัยสำคัญ ๆ ที่ควรกล่าวถึงมีดังต่อไป
นี ้

ประชาธิปไตย

รัฐสมัยใหม่กับการปกครองแบบประชาธิปไตยมีพัฒนาการที่ควบคู่
และเกี่ยวข้องกันมาโดยตลอด ประชาธิปไตยที่ถือกำเนิดขึน
้ เมื่อหนึ่งและ
สองร้อยปี ที่ผ่านมา เน้นหลักการประชาธิปไตยโดยตัวแทน
(Representative Democracy) เป็ นสำคัญ หลักการดังกล่าวสะท้อนให้
เห็นจากแนวคิดและการปฏิบัติเรื่องการเลือกตัง้ การขยายสิทธิเลือกตัง้
ระบบพรรคการเมือง และการรวมตัวกันจัดตัง้ เป็ นองค์กรผลประโยชน์
ต่าง ๆ เป็ นต้น
แนวคิดประชาธิปไตยของโลกสมัยใหม่ที่เปลี่ยนแปลง ทุกประเทศ
ล้วนเน้นให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ในการประชุมของสภาท้องถิ่น ใน
การทำประชาพิจารณ์ และแสดงความคิดเห็นต่อการตราข้อบัญญัติของ
ท้องถิ่น หรือกระบวนการอื่น ๆ ในเรื่องที่มีผลกระทบต่อประชาชน

โลกาภิวัตน์

โลกาภิวัตน์ เป็ นกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกทัง้ ในเรื่องของเงิน


ทุน เทคโนโลยี การสื่อสาร และวัฒนธรรม มีการหมุนเวียนและเคลื่อน
ย้ายกันได้อย่างรวดเร็ว ด้วยเหตุที่การปกครองท้องถิ่นในอดีตเป็ นระบบที่
ค่อนข้างปิ ด เพราะว่าไม่สามารถติดต่อสื่อสารกับต่างประเทศได้โดยตรง
แต่ในปั จจุบันนี ้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่าง ๆ ล้วนมีเวบไซต์
(Website) ของตนเอง สามารถทำการติดต่อและสร้างข้อตกลงการเป็ น
บ้านพี่เมืองน้องกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่างประเทศ สามารถรับ
ความช่วยเหลือจากต่างประเทศ และสามารถมีข้อตกลงเป็ นพิเศษกับต่าง
ประเทศได้ด้วยตนเอง การเปลี่ยนแปลงดังกล่าว มีผลต่อรัฐบาลกลาง
จำเป็ นต้องสร้างกลไกใหม่ ๆ ในการดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มี
ความก้าวหน้า และมีการติดต่อกับต่างประเทศ ในขณะเดียวกัน ต้องมี
การส่งเสริมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควบคู่กันไปด้วย

นิติรัฐ

แนวคิดเรื่องนิติรัฐ เป็ นแนวคิดในทางกฎหมาย มีความสำคัญใน


สังคมสมัยใหม่ทงั ้ ต่อการดำเนินการปกครองและบริหารของรัฐ และมี
ความสำคัญต่อการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน ในส่วนของรัฐ
พบได้ว่า รัฐสมัยใหม่มีความสลับซับซ้อนกว่ารัฐโบราณ ดังนัน
้ การปฏิบัติ
งานของรัฐและหน่วยงานของรัฐ มีความจำเป็ นที่จะต้องมีกฎหมายรับรอง

ในส่วนของประชาชน พบว่า มีสิทธิเสรีภาพต่าง ๆ เพิ่มมากขึน


้ กว่า
ที่เป็ นมาในอดีต ดังนัน
้ การที่รัฐทำการปกครองโดยกฎหมาย และใช้
กฎหมายเป็ นเครื่องมือในการปกครองและบริหารประเทศ จึงมีผลดีต่อ
ประชาชน เป็ นหลักประกันสิทธิเสรีภาพของประชาชน

การบริหารงานภาครัฐแบบใหม่

การบริหารงานภาครัฐแบบใหม่มีลักษณะสำคัญที่แตกต่างไปจาก
การบริหารงานของรัฐโบราณและรัฐสมัยใหม่ระยะแรกในหลายประการ
หนึ่ง การเน้นประชาชนเป็ นศูนย์กลาง หรือเป็ นลูกค้า (Customer) สอง
เน้นการบริหารงานที่มีลักษณะคุ้มค่าต่องบประมาณที่ใช้จ่ายไป (Value
for Money) สาม เน้นการบริการที่รวดเร็วและเบ็ดเสร็จในที่เดียว (One
Stop Service) ในการปรับตัวไปตามการบริหารงานภาครัฐแนวใหม่ มี
ผลอย่างสำคัญต่อรัฐและการปกครองท้องถิ่น จุดเน้นอยู่ที่ประสิทธิภาพ
การบริหารและการบริการประชาชนที่คุ้มค่ากับเงินงบประมาณที่ใช้จ่าย
ไป ส่งผลไปถึงการมีนโยบายยุบรวมหน่วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้า
ด้วยกัน (Amalgamation)

หากรัฐและรัฐบาลกลางของประเทศใด ไม่ได้ให้การรับรองฐานะ
ของท้องถิ่น การปกครองท้องถิ่นนัน
้ จะมีฐานะเป็ นเพียงการปกครองท้อง
ถิ่นที่ไม่เป็ นทางการ ในทางตรงข้ามกับหน่วยที่ถูกรับรอง มีฐานะเป็ น
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอย่างเป็ นทางการ ฉะนัน
้ จึงมีฐานะเป็ น
นิติบุคคล มีงบประมาณ อำนาจหน้าที่ บุคลากร และมีพ้น
ื ที่ในการให้
บริการประชาชนในเขตพื้นที่หนึ่ง ๆ เพราะรัฐและรัฐบาลกลางเป็ นผู้
ให้การรับรอง โดยการประกาศเป็ นกฎหมาย หรือเป็ นนโยบายสำคัญของ
การบริหารประเทศ ในประการสำคัญ การได้มาซึ่งตำแหน่งผู้บริหารท้อง
ถิ่น และสมาชิกสภาท้องถิ่น ที่มาจากการเลือกตัง้ ของประชาชนตาม
กระบวนการประชาธิปไตย เพราะรัฐมีการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตย

ปฏิสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับท้องถิ่น นับว่าเป็ นสภาพแวดล้อมสำคัญที่


อาจช่วยส่งเสริม และอาจเป็ นปั จจัยขัดขวางองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ให้มีพัฒนาการที่มีความก้าวหน้าอย่างมาก หรืออย่างน้อยก็ได้ในทางใด
ทางหนึ่ง เรื่องดังกล่าวนอกจากจะขึน
้ กับลักษณะโครงสร้างของรัฐนัน
้ แล้ว
ว่ามีการรวบอำนาจมาก ปานกลาง หรือน้อย และยังมีความเกี่ยวข้องกับ
วัฒนธรรมความคิดของประชาชนให้ประเทศนัน
้ ๆ ด้วยว่าต้องการให้
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำรงอยู่ในสถานะใด

บทที่4

สถาบันการเมืองตามรัฐธรรมนูญ ปี ค.ศ 1958

4.1 ทวิภาคของฝ่ ายบริหาร


การวิจัยครัง้ นีม
้ ีวัตถุประสงค์เพื่อ

1) ศึกษาสภาพและแนวทางการพัฒนาการบริหารอาชีวศึกษาระบบ
ทวิภาคี ที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษา

2) สร้างและพัฒนารูปแบบการบริหารอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีที่มี
ประสิทธิผลของสถานศึกษา

3) ประเมินความเป็ นไปได้และความเป็ นประโยชน์ของรูปแบบการบริหาร


อาชีวศึกษาระบบทวิภาคีที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษา

สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กลุ่มตัวอย่าง
ประกอบด้วย

1) ผู้บริหารสถานศึกษาต้นแบบ จำนวน 3 คน

2) ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน

3) ผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการฝ่ ายวิชาการ หัวหน้างานทวิภาคีของ


สถานศึกษา จำนวน 306 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างตามสูตรของ เครื่องมือ
ที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือโดย
ผู้ทรงคุณวุฒิ มีค่าเฉลี่ยความเหมาะสม เท่ากับ 4.91 และค่าความเชื่อมั่น
เท่ากับ 0.86 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลการวิจัยพบว่า

ผลการศึกษาสภาพและแนวทางการพัฒนาการบริหารอาชีวศึกษา
ระบบทวิภาคีที่มีประสิทธิผลของสถานศึกษาแบ่งออกเป็ น 2 ข้อ ดังนี ้
(1) ผลของการศึกษาสภาพ พบว่ามีนโยบายและเป้ าหมายที่จะเพิ่ม
ปริมาณผู้เรียนในระบบทวิภาคีให้มากขึน
้ ผลิตผู้เรียนที่มีสมรรถนะตรง
ตามความต้องการของสถานประกอบการ มีการจัดโครงสร้างการบริหาร
ตามคู่มือแนวทางปฏิบัติการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี และมีปัญหา
เกี่ยวกับความร่วมมือกับสถานประกอบการในช่วงเริ่มต้น

(2) ผลของการศึกษาแนวทางการพัฒนาการบริหาร

4.1.1 ประธานาธิบดีแห่งสาธารณะรัฐ

ประธานาธิบดีฝรั่งเศส หรือเรียกอย่างเป็ นทางการว่า ประธานาธิบดี


แห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส เป็ นตำแหน่งสูงสุดฝ่ ายอำนาจบริหารของ
ประเทศฝรั่งเศสโดยมาจากการเลือกตัง้ และดำรงตำแหน่งเป็ นทัง้ ประมุข
แห่งรัฐ จอมทัพ ผู้รับรองรัฐธรรมนูญและผู้ปกครองร่วมแห่งอันดอร์รา
ตำแหน่งประธานาธิบดีฝรั่งเศสได้ถูกก่อตัง้ ขึน
้ เมื่อปี พ.ศ. 2391 (สมัย
สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 2) ซึง่ ทำให้ระบอบประธานาธิบดีของประเทศ
ฝรั่งเศสนัน
้ เป็ นระบอบที่มีความเป็ นมายาวนานที่สุดประเทศหนึ่งในทวีป
ยุโรป จวบจนปั จจุบัน มีผู้ดำรงตำแหน่งดังกล่าวทัง้ สิน
้ 25 คน ซึ่งทุกคน
ได้พำนักในปาแลเดอเลลีเซมาแล้ว รัฐธรรมนูญในแต่สาธารณรัฐนัน
้ ได้
กำหนดอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของประธานาธิบดีแตกต่างกัน
ไป ตัง้ แต่ พ.ศ. 2502 เป็ นต้นมา ประเทศฝรั่งเศสอยู่ในยุคสาธารณรัฐ
ฝรั่งเศสที่ 5 ในระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยประธานาธิบดีฝรั่งเศสคน
ปั จจุบันคือ แอมานุแอล มาครง ซึ่งเข้าดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ 14
พฤษภาคม พ.ศ. 2560 สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5 นัน
้ เป็ นการปกครองด้วย
ระบอบกึ่งประธานาธิบดี ประธานาธิบดีเองก็มีอำนาจมากพอสมควรซึ่งไม่
เหมือนกับประเทศอื่นๆ ในทวีปยุโรป แม้ว่าโดยส่วนมากการควบคุมดูแล
และบัญญัติกฎหมายเป็ นหน้าที่ของนายกรัฐมนตรีและรัฐสภา แต่
ประธานาธิบดีก็มีอิทธิพลด้วย อำนาจสูงสุดของประธานาธิบดีนน
ั ้ คือการ
แต่งตัง้ นายกรัฐมนตรี แต่อย่างไรก็ตามรัฐสภาฝรั่งเศสก็มีอำนาจที่จะปลด
คณะรัฐมนตรีได้ ทำให้ประธานาธิบดีเหมือนกับถูกบังคับให้เลือกนายก
รัฐมนตรีที่รัฐสภาให้การสนับสนุน เมื่อไหร่ที่เสียงส่วนมากในรัฐสภามี
ความเห็นทางการเมืองตรงข้ามกับประธานาธิบดี ซึ่งจะทำให้เกิดการ
บริหารร่วมกัน เมื่อนัน
้ อำนาจประธานาธิบดีจะลดน้อยลง เนื่องจาก
อำนาจส่วนมากจะไปขึน
้ อยู่กับนายกรัฐมนตรีและรัฐสภาแทน และอาจจะ
ไม่สนับสนุนการแต่งตัง้ ของประธานาธิบดีอีกด้วย เมื่อไหร่ที่เสียงส่วนมาก
ในรัฐสภาสนับสนุนประธานาธิบดี ประธานาธิบดีก็จะมีบทบาทมากขึน

และมีอิทธิพลต่อนโยบายการบริหารของรัฐบาล บทบาทของนายก
รัฐมนตรีจึงลดลงและอาจถูกปลดออกจากตำแหน่งหรือเปลี่ยนคณะผู้
บริหารถ้าไม่เป็ นที่นิยม ตัง้ แต่พ.ศ. 2545 เป็ นต้นมา ประธานาธิบดีและ
รัฐสภามีวาระ 5 ปี และการเลือกตัง้ ทัง้ 2 ครัง้ จะใกล้กัน ทำให้ความเป็ น
ไปได้ของการบริหารร่วมกันนัน
้ มีความน้อยลง อำนาจของประธานาธิบดีมี
ดังนี:้ ประธานาธิบดีประกาศกฎหมาย ประธานาธิบดีมีอำนาจในการ
ยับยัง้ ชั่วคราว: เมื่อจะเสนอร่างกฎหมาย ประธานาธิบดีมีสิทธิที่จะเรียก
ร้องให้รัฐสภาพิจารณาอีกครัง้ หนึ่ง แต่สามารถกระทำได้ครัง้ เดียวต่อ
กฎหมายฉบับหนึ่ง ประธานาธิบดีมีอำนาจในการชีแ
้ นะให้มีการพิจารณา
ร่างกฎหมายต่อสภารัฐธรรมนูญก่อนการประกาศใช้ ประธานาธิบดีมี
อำนาจในการยุบสภาฯ ประธานาธิบดีสามารถชีแ
้ นะให้มีการลงประชามติ
กฎหมายบางประเภทหรือสนธิสัญญาภายในเงื่อนไขบางประการซึ่งนายก
รัฐมนตรีและรัฐสภาต้องเห็นด้วย ประธานาธิบดีเป็ นผู้บัญชาการทหาร
สูงสุด (จอมทัพ) ประธานาธิบดีมีอำนาจในการออกคำสั่งให้มีการใช้อาวุธ
นิวเคลียร์ ประธานาธิบดีมีอำนาจในการแต่งตัง้ นายกรัฐมนตรี แต่ไม่
สามารถปลดนายกรัฐมนตรีออกได้ ประธานาธิบดีมีอำนาจในการแต่งตัง้
หรือปลดรัฐมนตรีได้ โดยความเห็นชอบของนายกรัฐมนตรี ประธานาธิบดี
มีอำนาจในการเสนอชื่อข้าราชการ (ด้วยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี)
ประธานาธิบดีมีอำนาจในการเสนอชื่อสมาชิกสภารัฐธรรมนูญ
ประธานาธิบดีต้อนรับคณะทูตจากต่างประเทศ ประธานาธิบดีมีอำนาจใน
การอภัยโทษ (ไม่ใช่นิรโทษกรรม) แก่นักโทษที่ตัดสินว่ามีความผิด และ
สามารถลดหรือระงับคำพิพากษาได้ และนีส
่ ำคัญเป็ นอย่างยิ่งเพราะ
ประเทศฝรั่งเศสยังมีการประหารชีวิตอยู่ แต่อย่างไรก็ตามเมื่อมีการตัดสิน
ประหารชีวิต ประธานาธิบดีก็มักจะอภัยโทษให้โดยอัตโนมัติ โดยทำให้
โทษลดลงเหลือเพียงจำคุกตลอดชีวิต

4.2 รูปแบบสภาคู่

รูปแบบสภา ฝรั่งเศษ แต่ละสภานัน


้ มีกฎระเบียบและขัน
้ ตอนการ
นิติบัญญัติเป็ นของตน อย่างไรก็ตามในบางโอกาสอาจมีการประชุมร่วม
สองสภาพร้อมกัน ซึ่งเรียกว่า การประชุมรัฐสภาแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส
(ฝรั่งเศส: โดยมีที่ประชุม ณ พระราชวังแวร์ซาย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญฝรั่งเศส รัฐสภาฝรั่งเศส (ฝรั่งเศส:
Parlement français) เป็ นสถาบันฝ่ ายนิติบัญญัติในระบบการปกครอง
ของประเทศฝรั่งเศส โดยยึดระบบสองสภา ซึ่งประกอบไปด้วยสภาสูง
(Chambre haute) หรือเรียกว่า วุฒิสภา (Sénat) ซึง่ ทำหน้าที่เป็ นผู้แทน
ท้องถิ่นมาจากการเลือกตัง้ โดยอ้อม และสภาล่าง (Chambre basse)
หรือเรียกว่า สมัชชาแห่งชาติ (Assemblée nationale) ซึ่งมาจากการ
เลือกตัง้ โดยตรงของประชาชน โดยแต่ละสภามีที่ประชุมตัง้ อยู่คนละ
สถานที่ โดยวุฒิสภาประชุมที่พระราชวังลุกซ็องบูร์ และสมัชชาแห่งชาติที่
พระราชวังบูร์บง กรุงปารีส โดยผู้มีสิทธิเลือกตัง้ คือชาวฝรั่งเศสทัง้ หญิง
และชาย มีอายุไม่ต่ำกว่า 18 ปี และไม่เป็ นบุคคลต้องห้ามมิให้ใช้สิทธิ
เลือกตัง้ ตามที่กฎหมายกำหนด การปกครองประเทศฝรั่งเศส เป็ นระบบ
การปกครองแบบกึง่ ประธานาธิบดี ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐ
ฝรั่งเศสที่ 5 รัฐสภาแห่งประเทศฝรั่งเศส แบ่งเป็ นฝ่ ายบริหาร ฝ่ าย
นิติบัญญัติ และฝ่ ายตุลาการ โดยมีประธานาธิบดีใช้อำนาจบริหารร่วมกับ
นายกรัฐมนตรีที่แต่งตัง้ คณะรัฐมนตรี ซึง่ รวมถึงนายกรัฐมนตรีสามารถ
ถูกถอดถอนได้โดยสภาผู้แทนราษฎร หรือ"สภาล่าง" โดยการลงมติไม่ไว้
วางใจ เพื่อแสดงให้เห็นว่านายกรัฐมนตรีจะต้องผ่านการสนับสนุนโดย
เสียงส่วนมากของสภาฯ รัฐสภาประกอบด้วย สภาผู้แทนราษฎร และ
วุฒิสภา เพื่อทำหน้าที่ผ่านร่างกฎหมายและงบประมาณ รวมทัง้ ตรวจ
สอบการทำงานของฝ่ ายบริหาร ผ่านทางการถามกระทู้สดในรัฐสภา โดย
มีสภารัฐธรรมนูญ ("Conseil Consitutionnel") มีหน้าที่รับรองให้
บทบัญญัติต่าง ๆ เป็ นไปตามรัฐธรรมนูญ โดยสมาชิกสภารัฐธรรมนูญ จะ
ได้รับการคัดเลือกจากประธานาธิบดี ประธานสภาผู้แทนราษฎร และ
ประธานวุฒิสภา อนึ่ง อดีตประธานาธิบดียังดำรงตำแหน่งเป็ นสมาชิก
สภารัฐธรรมนูญด้วย

4.2.1 สภาผู้แทนราษฎร
สภาผู้แทนราษฎร ฝรั่งเศส สมาชิกสมัชชาแห่งชาติดำรงตำแหน่ง
คราวละ 5 ปี โดยจะสิน
้ สุดวาระในวันอังคารของสัปดาห์ที่ 3 ของเดือน
มิถุนายน ปี ที่ 5 นับแต่วันเลือกตัง้ การเลือกตัง้ ครัง้ ใหม่ต้องดำเนินการให้
เสร็จสิน
้ ภายใน 60 วัน ก่อนที่สมัชชาแห่งชาติชุดเดิมจะหมดอายุลง
ประธานาธิบดีสามารถประกาศยุบสมัชชาแห่งชาติได้ ภายหลังจากที่ได้
ปรึกษากับนายกรัฐมนตรีและประธานสภาทัง้ สองแล้ว โดยเมื่อมีรัฐ
กฤษฎีกาประกาศยุบสภา จะต้องจัดให้มีการเลือกตัง้ ทั่วไปอย่างน้อยที่สุด
ภายใน 20 วัน แต่ต้องไม่เกิน 40 วัน อนึง่ ในกรณีที่มีการยุบสภา หรือ
สมาชิกลาออก หรือตาย หรือไปปฏิบัติหน้าที่อ่ น
ื ซึ่งรวมไปถึงงานของ
รัฐบาล สมาชิกสมัชชาแห่งชาติอาจจะมีการดำรงตำแหน่งน้อยกว่า 5 ปี ได้
สมัชชาแห่งชาติประชุม ณ พระราชวังบูร์บง ริมฝั่ งแม่น้ำแซน ในกรุง
ปารีส

4.2.2 วุฒิสภาประเทศฝรั่งเศส

วุฒิสภาฝรั่งเศส (ฝรั่งเศส: Sénat français) เป็ นสภาสูงในรัฐสภา


ฝรั่งเศส มีประธานวุฒิสภา (président) เป็ นผู้ดำเนินการประชุม วุฒสิภา
มีความสำคัญน้อยกว่าสภาผู้แทนราษฎร เช่นเดียวกับการอภิปรายใน
วุฒิสภาที่มีความตึงเครียดน้อยกว่า ฉะนัน
้ วุฒิสภาจึงได้รับความสนใจ
จากสื่อมวลชนน้อย ก่อนเดือนกันยายน ค.ศ. 2004 สมาชิกวุฒิสภา
ฝรั่งเศสประกอบด้วยสมาชิกทัง้ หมด 321 คน โดยดำรงตำแหน่งวาระละ
9 ปี ซึ่งต่อมาได้ถูกปรับลดเหลือเพียง 6 ปี ในขณะที่จำนวนสมาชิก
วุฒิสภาได้เพิ่มขึน
้ ทีละเล็กน้อยจนถึง 348 คนในปี ค.ศ. 2011 เพื่อให้
สอดคล้องกับจำนวนประชากร[1] ในอดีตการเลือกตัง้ สมาชิกวุฒิสภาจะมี
ขึน
้ ทุก ๆ 3 ปี โดยเลือกตัง้ ทีละหนึ่งในสามของสมาชิกทัง้ หมด ซึ่งต่อมาได้
เปลี่ยนเป็ นครึ่งหนึ่งของสมาชิกทัง้ หมดในทุก ๆ 3 ปี [2] การได้มาของ
สมาชิกวุฒิสภาจะผ่านการเลือกตัง้ ทางอ้อม โดยผู้มีสิทธิเลือกตัง้ (ฝรั่งเศส:
grands électeurs จำนวนประมาณ 150,000 คน ซึง่ เป็ นข้าราชการจาก
หน่วยงานปกครองต่าง ๆ ได้แก่ สมาชิกสภาภาค, สมาชิกสภาจังหวัด
นายกเทศมนตรี สมาชิกเทศบาลในเมืองขนาดใหญ่ รวมทัง้ สภาผู้แทน
ราษฎร อย่างไรก็ตาม 90% ของผู้มีสิทธิเลือกตัง้ เป็ นผู้แทนที่เลือกโดย
สมาชิกสภาที่ปรึกษาต่าง ๆ ซึ่งเป็ นการทำให้วุฒิสภานัน
้ มักจะออกเสียง
เข้าข้างบริเวณที่ห่างไกลความเจริญ
บทที่5

สถาบันการเมืองฝรั่งเศสในระบบรัฐสภาภายใต้
สาธารณะรัฐที่5

5.1 ประธาณาธิบดีแห่งสาธารณะรัฐ

ประธานาธิบดีฝรั่งเศส หรือเรียกอย่างเป็ นทางการว่า ประธานาธิบดี


แห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส (ฝรั่งเศส: Président de la République
française) เป็ นตำแหน่งสูงสุดฝ่ ายอำนาจบริหารของประเทศฝรั่งเศสโดย
มาจากการเลือกตัง้ และดำรงตำแหน่งเป็ นทัง้ ประมุขแห่งรัฐ จอมทัพ ผู้รับ
รองรัฐธรรมนูญและผู้ปกครองร่วมแห่งอันดอร์จวน ปาแลเดอเลลีเซ ผู้
แต่งตัง้ การเลือกตัง้ โดยตรง วาระ 5 ปี (2 วาระ) ผู้ประเดิมตำแหน่ง
ชาร์ล หลุยส์-นโปเลียน โบนาปาร์ต สถาปนา 20 ธันวาคม พ.ศ. 2391

ตำแหน่งประธานาธิบดีฝรั่งเศสได้ถูกก่อตัง้ ขึน
้ เมื่อปี พ.ศ. 2391
(สมัยสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 2) ซึ่งทำให้ระบอบประธานาธิบดีของประเทศ
ฝรั่งเศสนัน
้ เป็ นระบอบที่มีความเป็ นมายาวนานที่สุดประเทศหนึ่งในทวีป
ยุโรป จวบจนปั จจุบัน มีผู้ดำรงตำแหน่งดังกล่าวทัง้ สิน
้ 25 คน ซึ่งทุกคน
ได้พำนักในปาแลเดอเลลีเซมาแล้ว รัฐธรรมนูญในแต่สาธารณรัฐนัน
้ ได้
กำหนดอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของประธานาธิบดีแตกต่างกัน
ไป ตัง้ แต่ พ.ศ. 2502 เป็ นต้นมา ประเทศฝรั่งเศสอยู่ในยุคสาธารณรัฐ
ฝรั่งเศสที่ 5 ในระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยประธานาธิบดีฝรั่งเศสคน
ปั จจุบันคือ แอมานุแอล มาครง ซึ่งเข้าดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ 14
พฤษภาคม พ.ศ. 2560

5.2 การเลือกตัง้ ทางตรงทั่วไป

การเลือกตัง้ ในประเทศฝรั่งเศส (ฝรั่งเศส: Élections en France)


เป็ นกระบวนการทางประชาธิปไตยในระบอบสาธารณรัฐของประเทศ
ฝรั่งเศส ตัวแทนฝ่ ายบริหารและนิติบัญญัติจะถูกเลือก (ทางตรงหรือทาง
อ้อม) โดยประชาชนฝรั่งเศสหรือถูกแต่งตัง้ โดยตัวแทนที่ถูกเลือกมาแล้ว
ประชาชนฝรั่งเศสยังมีโอกาสแสดงความคิดเห็นในการลงประชามติอีก
ด้วยการเลือกตัง้ ในสมัยสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5 มี 2 ประเภท ได้แก่
ประมุขแห่งรัฐ (Chef d'État) หรือ ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐ
(Président de la République) ได้รับเลือกตัง้ โดยตรงแบบสากล มี
วาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปี (ดูเพิ่ม การเลือกตัง้ ประธานาธิบดีฝรั่งเศส)
รัฐสภา (Parlement) ประกอบด้วย 2 สภา: สภาผู้แทนราษฎร
(Assemblée Nationale) มีสมาชิก 577 คน ได้รับเลือกตัง้ โดยตรงแบบ
สากล มีวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปี (ดูเพิ่ม การเลือกตัง้ สมาชิกสภาผู้
แทนราษฎรฝรั่งเศส) วุฒิสภา (Sénat) มีสมาชิก 331 คน ได้รับเลือกตัง้
โดยอ้อม มีวาระการดำรงตำแหน่ง 6 ปี : 319 คน ได้รับเลือกผ่านคณะ
เลือกตัง้ ที่เป็ นตัวแทนของแคว้น, จังหวัด, เทศบาลและอาณานิคมโพ้น
ทะเล ส่วนอีก 12 คนผ่านทางสมัชชาชาวฝรั่งเศสต่างประเทศ
(Assemblée des Français de l'étranger) (ดูเพิ่ม การเลือกตัง้ สมาชิก
วุฒิสภา

5.3 วิธีการเลือกตัง้

วิธีการเลือกตัง้ ผู้ที่มีสิทธิเ์ ลือกตัง้ ที่ลงทะเบียนไว้แล้วจะได้รับบัตรผู้


เลือกตัง้ ซึ่งจะต้องนำไปใช้แสดงที่หน่วยออกเสียงเลือกตัง้ ผู้มีสิทธิเ์ ลือก
ตัง้ สามารถที่จะมอบอำนาจให้บุคคลอื่นไปออกเสียงลงคะแนนในวันเลือก
ตัง้ แทนตนได้ หากไม่สามารถไปเลือกตัง้ เองด้วยตนเองได้ เนื่องจากมีเหตุ
จำเป็ นทางสายอาชีพหรือเหตุอ่ น
ื ๆ เป็ นชาวประมงต้องออกเรือไปราชการ
ทหาร อยู่อาศัยในต่างประเทศเจ็บป่ วยอยู่ระหว่างการตัง้ ครรภ์ อยู่
ระหว่างเดินทางไปพักผ่อนต่างถิ่น โดยผู้มีสิทธิเ์ ลือกตัง้ จะต้องไปแสดง
ความจำนงต่อศาลหรือหัวหน้าสถานีตำรวจ และต่อกงสุล ในกรณีอยู่ใน
ต่างประเทศว่าประสงค์จะมอบอำนาจให้บุคคลอื่นไปออกเสียงแทนตน
้ กฎหมายเคยให้สิทธิผ์ ู้มีสิทธิเ์ ลือกตัง้ สามารถออกเสียงลง
แต่ก่อนนัน
คะแนนทางไปรษณีย์ได้แต่เนื่องจากเกิดปั ญหาการโกงเลือกตัง้ จึงได้
ยกเลิกวิธีนใี ้ นปี ค.ศ 1975 การเลือกตัง้ ให้กระทำในท้องที่แต่ละชุมชน
การลงคะแนนเสียงเลือกตัง้ ให้กระทำไม่เสร็จภายใน 1 วัน การจัดการ
เลือกตัง้ ให้กระทำในวันอาทิตย์ ห้ามพกพาอาวุธทุกชนิดเข้าไปในหน่วย
เลือกตัง้ ที่ทำการหน่วยเลือกตัง้ และวิธีการออกเสียงคะแนนจะต้องเปิ ด
โอกาสให้ผพ
ู้ ิการสามารถเข้าถึงได้ ไม่ว่าจะพิการในรูปแบบใดโดยเฉพาะ
ทางร่างกายอารมณ์จิตใจทัง้ นีต
้ ามเงื่อนไขที่กำหนดโดยนโยบายลำดับรอง
กล่องใส่บัตรต้องโปร่งใสเปิ ดได้ทางเดียวและมีแม่กุญแจปิ ดล็อค 2 ตัวโดย
ลูกกุญแจเก็บไว้ที่ประธานหน่อยเลือกตัง้ 1 ดอกและผู้ช่วยประธานหน่วย
เลือกตัง้ 1 ดอกโดยการจับฉลากระหว่างผู้ช่วยประธานหน่วยเลือกตัง้ ว่า
์ อกเสียงลงคะแนน
จะเก็บไว้ที่ผู้ช่วยคนใด หน่วยเลือกตัง้ ที่มีผู้มีสิทธิอ
มากกว่า 3,000 คนอาจใช้เครื่องลงคะแนนเสียงได้ การเลือกตัง้ มีหลาย
ระดับทัง้ ระดับชาติและท้องถิ่นการเลือกตัง้ โดยทั่วไปอยู่ในความรับผิด
ชอบอำนวยการของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงภายใน(คล้ายทรวง
มหาดไทยของประเทศไทย)

You might also like