แผนที่1วิทย์ป 2

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 50

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา
วิทยาศาสตร์(ว 12101) ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 วัสดุและการใช้ประโยชน์
เวลาเรียน 14 ชั่วโมง
เรื่อง สมบัตก
ิ ารดูดซับน้ำของวัสดุ
เวลาเรียน 1 ชั่วโมง
วันที่ 21 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2566
ผู้สอน นางสาววงเดือน พรมมาโอน
...................................................................................................................
...........................................................
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว
้ ัด
สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร
ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างอนุภาคหลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลง สถานะของสสาร
การเกิดสารละลายและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ตัวชีว
้ ัด
ว 2.1 ป.2/1 เปรียบเทียบสมบัติการดูดซับน้ำของวัสดุโดยใช้หลัก
ฐานเชิงประจักษ์ และระบุการนำ สมบัติการดูดซับน้ำของวัสดุไปประยุกต์
ใช้ ในการทำวัตถุในชีวิตประจำวัน
ว 2.1 ป.2/2 อธิบายสมบัติที่สังเกตได้ของวัสดุที่เกิดจากการนำ

วัสดุมาผสมกัน โดยใช้หลักฐานเกิดประจักษ์

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถบอกความหมายการดูดซับน้ำได้(K)
2. นักเรียนสามารถทดลองสมบัติการดูดซับน้ำของวัสดุแต่ละชนิด
ได้อย่างถูกต้อง(P)
3. นักเรียนมีทักษะในการทำงานกลุ่ม(P)
4. นักเรียนมีความรับผิดชอบต่องานที่รับมอบหมายได้ (A)

สาระสำคัญ
วัสดุแต่ละชนิดมีสมบัติการดูดซับน้ำแตกต่างกัน จึงนำไปทำเป็ น
วัตถุเพื่อใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกัน วัสดุบางชนิดเมื่อนำมาผสมกันแล้ว
วัสดุที่ได้อาจมีสมบัติเปลี่ยนไปจากเดิมทำให้เหมาะสมกับการใช้งาน การ
เลือกวัสดุไปทำเป็ นวัสดุเพื่อใช้ประโยชน์ต้องพิจารณาจากสมบัติของวัสดุ
นัน
้ ๆ วัสดุบางอย่างที่ใช้แล้วสามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้อย่างคุ้มค่า

สาระการเรียนรู้
ความรู้
วัสดุและการใช้ประโยชน์
1. ความสามารถในการดูดซับน้ำของวัสดุแต่ละชนิด
2. สมบัตก
ิ ารดูดซับน้ำของวัสดุและการใช้ประโยชน์จาก
วัสดุ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
1. การสังเกต
2. การลงความเห็นจากข้อมูล
3. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
สมรรถนะสำคัญ
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่ เรียนรู้
2. มีวินัย
3. มุ่งมั่นในการทำงาน
4. ตระหนักในคุณค่าของการเรียนวิทยาศาสตร์

ทักษะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ด้วย 3R X 8C
 Reading (อ่านออก)
 (W) Riting (เขียนได้)
 (A) Rithemetics (คิดเลขเป็ น)
 ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ไข
ปั ญหา
(Critical Thinking and Problem Solving)
 ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and
Innovation)
 ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์
(Cross-cultural
Understanding)
 ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็ นทีมและภาวะผู้นำ
(Collaboration, Teamwork and
Leadership)
 ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ
(Communications, Information, and Media
Literacy)
 ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร (Computing and ICT
Literacy)
 ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning)
 ทักษะการเปลี่ยนแปลง (Change)
ชิน
้ งาน/ภาระงาน
1. แบบบันทึกกิจกรรม
2. ใบงาน

กิจกรรมการเรียนรู้
จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้
(Inquiry Process) โดยเน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญ ดำเนินการเรียนการสอน
ดังต่อไปนี ้
1. ขัน
้ สร้างความสนใจ
1. ครูกล่าวทักทายนักเรียนและแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ที่จะ
เรียนในชั่วโมงนี ้
2. ครูทบทวนความรู้พ้น
ื ฐานของนักเรียนเกี่ยวกับวัสดุต่างๆ ที่
นักเรียนรู้จักและได้เรียนมาแล้ว โดยการถามคำถามประกอบการสาธิต
ด้วยวัสดุที่ครูเตรียมมาหน้าชัน
้ เรียน โดยใช้คำถาม ดังนี ้
- จากที่เคยเรียนมา นักเรียนรู้จักวัสดุอะไรบ้าง
- วัสดุที่ครูนำมาสาธิตแต่ละอย่างคืออะไร
- วัสดุหรือสิ่งของต่างๆ มนุษย์นำมาใช้ประโยชน์อย่างไร
- ถ้าต้องการนำวัสดุต่างๆ มาทำเป็ นของเล่น ของใช้ เราใช้
อะไรในการเลือกวัสดุ
3. ครูตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเกี่ยวกับสมบัติของวัสดุ
บางอย่าง โดยใช้คำถามดังนี ้
- วัสดุหรือสิ่งของต่างๆ มีสมบัติเหมือนหรือแตกต่างกัน
อย่างไร
- การนำวัสดุไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไรบ้าง
4. ครูนำเข้าสู่กิจกรรมโดยนำวัสดุของจริงคือ พลาสติก ผ้า
ฝ้ าย กระดาษ มาให้นักเรียนสังเกตเนื้อของวัสดุ จากนัน
้ ครูถามนักเรียน
ดังนี ้
- วัสดุต่างๆ มีเนื้อเหมือนหรือแตกต่างกัน อย่างไร
- ถ้านักเรียนนำวัสดุต่างๆ จุ่มในน้ำสี วัสดุใดจะดูดซับน้ำได้ดี
- สมบัตก
ิ ารดูดซับน้ำของวัสดุ คืออะไร
2. ขัน
้ สำรวจและค้นหา
ให้นักเรียนทำกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้เกิดประสบการณ์ตรง ดังนี ้
1.ให้นักเรียนทำกิจกรรมการทดลองพัฒนาทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์เรื่อง สมบัตก
ิ ารดูดซับน้ำของวัสดุ
1.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มตามเลขที่ กลุ่มละ 5 คน
2.ครูแจกวัสดุอุปกรณ์การทดลองให้แต่ละกลุ่ม ดังนี ้
• พลาสติก • กระดาษ
• น้ำสี • หลอดหยด
• อลูมิเนียมฟอยล์ • ผ้าฝ้ าย
• กรรไกร • แก้วน้ำ

3.ครูอธิบายขัน
้ ตอนการทำกิจกรรมการทดลอง เมื่อ
นักเรียนเข้าใจวิธีการทำกิจกรรมแล้ว ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมตามขัน

ตอน และบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรมในแบบบันทึกกิจกรรมที่ 1
ครูคอยดูแลและให้คำแนะนำแก่นก
ั เรียนในการปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง
4.นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมการ
ทดลอง และให้กลุ่มอื่นมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แสดงความคิดเห็น อภิปราย
ผลการปฎิบัติกิจกรรม และนักเรียนทำใบงานที่ 1
3. ขัน
้ อธิบายและลงข้อสรุป
1. หลังจากทำกิจกรรมแล้ว ครูนำอภิปรายผลการทำกิจกรรม
โดยใช้คำถาม
- สิ่งที่ต้องจัดให้แตกต่างกัน ในกิจกรรมนีค
้ ืออะไร
- สิ่งที่ต้องจัดให้เหมือนกัน ในกิจกรรมนีค
้ ืออะไร
- วัสดุใดดูดซับน้ำสีได้ดีที่สุด รู้ได้อย่างไร
- เมื่อจุ่มวัสดุแต่ละชนิดลงในน้ำสีแล้วยกขึน
้ พบอะไรบ้าง
2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปว่าการดูดซับ
น้ำของวัสดุได้จากปริมาณน้ำที่ซึมเข้าไปอยู่ในช่องว่างของเนื้อวัสดุนน
ั้
วัสดุแต่ละชนิดมีสมบัติการดูดซับน้ำที่แตกต่างกัน สังเกตจากปริมาณน้ำที่
วัสดุดูดซับไว้ บางชนิดดูดซับได้มาก บางชนิดดูดซับน้ำได้น้อย บางชนิด
ดูดซับน้ำไม่ได้
3. นักเรียนทำใบงานสมบัติการดูดซับน้ำของวัสดุ
4. ขัน
้ ขยายความรู้
1. ให้นักเรียนช่วยกันคิดและอภิปรายจากการศึกษาเกี่ยวกับ
สมบัติการดูดซับของวัสดุและการใช้ประโยชน์จากวัสดุ
2. ครูขยายขอบเขตของความรู้โดยเพิ่มเติมความรู้เกี่ยวกับการ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะทักษะการสังเกต การ
ทดลอง เชื่อมโยงจากผลการศึกษาของนักเรียน
5. ขัน
้ ประเมิน
1. นักเรียนนำความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้เรื่องนี ้ ไปปรับใช้ในการ
ดำรงชีวิตอยู่อย่างพอเพียงได้
2. ครูและนักเรียนร่วมกันประเมินกิจกรรมในแบบรายงาน เก็บ
ในแฟ้ มสะสมงานนักเรียน จากนัน
้ ครูนัดหมายการเรียนในครัง้ ต่อไป

สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้
1. พลาสติก ผ้าฝ้ าย กระดาษ กรรไกร น้ำสี แก้วน้ำ หลอด
หยด
2. หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ป. 2 สสวท.
3. แบบบันทึกกิจกรรม
4. ใบงาน
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดประสงค์การ กิจกรรมบ่งชี ้ วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์ ทักษะผู้เรียน
เรียนรู้ การประเมิน 3R8C
ผล
1. นักเรียน - นักเรียนตอบคำถามและอภิปราย วัดจากการ แบบทดสอบ ผ่านการ - ทักษะการ
สามารถบอก ในกลุ่ม ตอบคำถาม (คำถาม) ประเมินใน สื่อสาร
ความหมายการ ในขัน
้ ระดับดี 1 - ทักษะการเรียน
ดูดซับน้ำได้(K) ประเมิน คะแนนขึน
้ รู้
ไป
2. นักเรียน - กิจกรรมการทดลองกลุ่ม สังเกตและ แบบบันทึก ผ่านเกณฑ์ - ทักษะการเรียน
สามารถทดลอง ตรวจแบบ กิจกรรมการ ร้อยละ 80 รู้
สมบัติการดูดซับ บันทึก ทดลอง ขึน
้ ไป - ทักษะด้านการ
น้ำของวัสดุ กิจกรรมการ คิดอย่างมี
แต่ละชนิดได้ ทดลอง วิจารณญาณและ
อย่างถูกต้อง(P) ทักษะในการ
แก้ไขปั ญหา
3. นักเรียนมี - แบ่งกลุ่มทำงานกลุ่มละ 5 คน สังเกต แบบสังเกต ผ่านเกณฑ์ - ทักษะด้านความ
ทักษะในการ พฤติกรรม พฤติกรรม ระดับ ร่วมมือ การ
ทำงานกลุ่ม(P) การทำงาน การทำงาน คุณภาพ 3 ทำงานเป็ นทีม
กลุ่ม กลุ่ม ขึน
้ ไป และภาวะผู้นำ

4. นักเรียนมี - นักเรียนทุกคนทำใบงาน ตรวจใบงาน ใบงาน ผ่านเกณฑ์ - เขียนตอบใบ


ความรับผิดชอบ ร้อยละ 80 งานและแบบ
ต่องานที่รับมอบ ขึน
้ ไป บันทึกกิจกรรมได้
หมายได้ (A) - ทักษะการ
สื่อสาร
จุดประสงค์การ กิจกรรมบ่งชี ้ วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์ ทักษะผู้เรียน
เรียนรู้ การประเมิน 3R8C
ผล
ด้าน
คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ - นักเรียนทุกคนทำกิจกรรมการ - สังเกต แบบสังเกต ผ่านเกณฑ์ ความมีเมตตา
1. ใฝ่ เรียนรู้ ทดลอง และทำใบงาน พฤติกรรม คุณลักษณะ ระดับ กรุณา
2. มีวินัย การเรียน อันพึง คุณภาพ 3 มีคุณธรรม รู้จัก
3. มุ่งมั่นในการ รายรายกลุ่ม ประสงค์ของ ขึน
้ ไป เห็นอกเห็นใจผู้
ทำงาน และราย นักเรียน อื่น รวมไปถึงการ
4. อยู่อย่างพอ บุคคล มีระเบียบวินัย
เพียง - ตรวจใบ
งาน
ด้านสมรรถนะ สังเกต แบบสังเกต ผ่านเกณฑ์
สำคัญของผู้ พฤติกรรม สมรรถนะ ระดับ
เรียน - นักเรียนตอบคำถามเมื่อครูถาม การเรียน สำคัญของผู้ คุณภาพ 3 - ทักษะการ
1. ความ - นักเรียนเขียนแบบบันทึก รายบุคคล เรียน ขึน
้ ไป สื่อสาร
สามารถในการ กิจกรรมรายกลุ่ม และทำใบงาน
สื่อสาร รายบุคคล -- ทักษะด้านการ
คิดอย่างมี
- กิจกรรมการทดลองกลุ่ม วิจารณญาณและ
2. ความ - ตอบคำถามและอภิปรายกลุ่ม ทักษะในการ
สามารถในการ เพื่อสรุปผลการทำกิจกรรม แก้ไขปั ญหา
คิด
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
เป็ นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ดีและเหมาสำหรับการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ให้กับนักเรียน นักเรียนได้ใช้กระบวนการคิดและลงมือ
ทำกิจกรรมการทดลองจริง ทำให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้โดยตรง

ลงชื่อ
(นาย
อภัย เดโชโชตพิพัฒน์)
ผู้
อำนวยการโรงเรียน
บันทึกผลหลังการสอน
จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเรื่อง สมบัติการดูดซับน้ำของ
วัสดุ พบว่านักเรียนเกิดทักษะในศตวรรษที่ 21(3R8C) ดังนี ้
3Rs
Reading(อ่านออก)
นักเรียนอ่านขัน
้ ตอนการทำกิจกรรมการทำลองในกิจกรรมกลุ่มได้
นักเรียนอ่านโจทย์คำถามในใบงานได้
(W)Riting(เขียนได้)
นักเรียนบันทึกกิจกรรมการทดลองและเขียนตอบในใบงานได้
(A) Rithemetics (คิดเลขเป็ น)
นักเรียนวัดขนาดของวัสดุที่จะนำมาทดลองได้
8CS
ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ไข
ปั ญหา(Critical Thinking and Problem Solving)
นักเรียนตอบคำถามที่ครูถามเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ได้ และนักเรียน
แต่ละกลุ่มช่วยกันทำกิจกรรมการทดลอง และสามารถอภิปรายผลการ
ทดลองได้
ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็ นทีมและภาวะผู้นำ
(Collaboration, Teamwork and Leadership)
นักเรียนแบ่งหน้าที่กันทำงาน สมาชิกทุกคนช่วยกันทำงาน เป้ นผู้นำและผู้
ตามที่ดี
ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ
(Communications, Information, and Media
Literacy)
นักเรียนพูดอภิปรายผลการทำกิจกรรมการทดลองของกลุ่มตัวเอง
และกลุ่มเพื่อนได้
ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning)
นักเรียนทำกิจกรรมการทดลอง อภิปรายผลการทำกิจกรรมการ
ทดลอง และสรุปผลจากการทดลองได้อย่างถูกต้องและนำไปใช้ประโยขน์
ในชีวิตประจำวันได้
ความมีเมตตากรุณา มีคุณธรรม รู้จักเห็นอกเห็นใจผู้อ่ น
ื รวมไปถึง
การมีระเบียบวินัย (Compassion)
นักเรียนมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย ตัง้ ใจทำงาน
ทำงานเสร็จตามเวลาที่กำหนด ผลงานมีความถูกต้องเป็ นระเบียบ
เรียบร้อย สวยงาม
ปั ญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ
มีนักเรียนที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินการ ตอบ
คำถาม ควรให้การดูแลเป็ นพิเศษในชั่วโมงถัดไป
ลงชื่อ
(นางสาววงเดือน
พรมมาโอน)
ตำแหน่ง ครู
วิทยฐานะ ครูชำนาญการ

ภาคผนวก
ใบกิจกรรมที่ 1 การดูดซับน้ำของวัสดุ
แต่ละชนิดเป็ นอย่างไร

บันทึกผลการทำกิจกรรม

ทำเครื่องมือ  ใน หน้าข้อความที่เลือก

ตาราง 1 ผลการสังเกตเนื้อวัสดุ

วัสดุ ผลการสังเกต
มีรูพรุน เล็ก
ปานกลาง ใหญ่
พลาสติก
ไม่มีรูพรุน อื่น ๆ
...............................................

มีรูพรุน เล็ก
ปานกลาง ใหญ่
ผ้าฝ้ าย
ไม่มีรูพรุน อื่น ๆ
...............................................

มีรูพรุน เล็ก
ปานกลาง ใหญ่
กระดาษ
ไม่มีรูพรุน อื่น ๆ
...............................................

มีรูพรุน เล็ก
อะลูมิเนียม ปานกลาง ใหญ่
ฟอยล์ ไม่มีรูพรุน อื่น ๆ
...............................................
การคาดคะเน
วัสดุที่ดด
ู ซับน้ำสีได้ดีที่สด

คือ............................................................................

ผลการอภิปรายเพื่อวางแผนตรวจสอบการดูดซับน้ำของ
วัสดุ

1. นำวัสดุที่ต้องใช้มา.........................ชนิด

2. นำแก้วน้ำมาใส่น้ำจำนวน................ใบ

3. รินน้ำสีลงในแก้วแต่ละใบ เท่ากัน ไม่เท่ากัน

โดยมีความสูง................................ของแก้วน้ำแต่ละใบ

4. ตัดวัสดุแต่ละชนิดให้มีขนาด เท่ากัน ไม่เท่า


กัน

โดยให้กว้าง...................เซลติเมตร ยาว................เซล
ติเมตร

5. จุ่มวัสดุลงในน้ำสี
โดย.....................................................................................

6. จุ่มวัสดุลงในน้ำสีเป็ นเวลา................วินาที
7. สิ่งที่ต้องสังเกตหลังจากยกวัสดุขน
ึ ้ จนไม่มีน้ำสีหยดออก
จากวัสดุ คือ............

......................................................................................
...............................
ตาราง 2 ผลการสังเกตระดับน้ำสี (ขีดเส้นแสดงระดับน้ำ
สี)

ผลการสังเกตระดับน้ำสี
วัสดุ
ก่อนจุ่มวัสดุลงไป หลังจากยกวัสดุขน
ึ้
พลาสติก
ผ้าฝ้ าย
กระดาษ

อะลูมิเนียม
ฟอยล์
ใบงาน
เรื่อง การดูดซับน้ำของวัสดุ
1. สิ่งที่ต้องจัดให้แตกต่างกัน ในกิจกรรมนีค
้ ืออะไร

............................................................................................
.................................

............................................................................................
.................................

2. สิ่งที่ต้องจัดให้เหมือนกัน ในกิจกรรมนีค
้ ืออะไร

............................................................................................
.................................

............................................................................................
.................................
............................................................................................
.................................

3. สิ่งที่ต้องสังเกตตลอดกิจกรรมนีค
้ ืออะไร

............................................................................................
.................................

............................................................................................
.................................

............................................................................................
.................................

4. วัสดุใดดูดซับน้ำสีได้ดีที่สุด รู้ได้อย่างไร

....................................................ดูดซับได้ดีที่สด
ุ รู้ได้
จาก.................................

............................................................................................
.................................
5. จากกิจกรรมนี ้ ค้นพบอะไรบ้างเกี่ยวกับการดูดซับน้ำสี
ของวัสดุ

เมื่อจุ่มวัสดุแต่ละชนิดลงในน้ำสีแล้วยกขึน
้ พบว่า

วัสดุที่ดด
ู ซับน้ำสีได้ คือ
................................................................................

สังเกต
จาก......................................................................................
..............

วัสดุที่ดด
ู ซับน้ำสีได้ดีที่สด
ุ คือ
.....................................................................

สังเกต
จาก......................................................................................
..............

วัสดุที่ดด
ู ซับน้ำสีไม่ได้ คือ
...........................................................................
สังเกต
จาก......................................................................................
..............

แบบบันทึกคะแนนเรื่องการดูดซับน้ำของวัสดุ

เล ชื่อ-สกุล รายการประเมิน
ขที่ บรรยาย บรรยาย ไม่
ความ ความ สามารถ
หมายและ หมาย บรรยาย
ผลการตัดสิน
ตอบ และ ความ
คำถาม ตอบ หมาย
กิจกรรม คำถาม และ
การทดลอง กิจกรรม ตอบ
ของการดูด การ คำถาม
ซับน้ำของ ทดลอง กิจกรรม
วัสดุได้ถูก ของการ การ
ต้อง ดูดซับ ทดลอง
ทัง้ หมด น้ำของ ของวัสดุ
วัสดุได้ ได้หรือ
ถูกต้อง ถูกต้อง
เพียง
บางส่วน

2 1 0 ดี ดี ปรับ
มาก ปรุง
1 ด.ช.กวินทิพย์  

กุญชรน้อย
2 ด.ช.กิตติศักดิ ์ ใจ  

หลัก
3 ด.ช.จิระเดช คาน  

เพ็ชรทา
4 ด.ช.ณัฐภัทร  

จันทร์เทศ
5 ด.ช.ธนภัทร ชาบัว  
น้อย
6 ด.ช.ธีรภัทร  

กุญชรน้อย
7 ด.ช.ปิ ยพงษ์ สุวัตถุ  

ดี
8 ด.ช.วัชรพล พิม  

พันธุ์
9 ด.ช.ณัฐพล พริม  

ทอง
10 ด.ช.ธนภัทร โส  

ศาลา
11 ด.ช.เกียรติศักดิ ์  

การดี
12 ด.ช.จิรายุ เพ็ญศรี  

13 ด.ช.ทัศไนย คง  

กล้า
14 ด.ช.ธนวัฒน์ สอสุ  

ธรรม
15 ด.ช.ธนาดล  

คมคาย
16 ด.ช. ธนาธิป  

คมคาย
17 ด.ช.ธนพนธ์ บุบผา  

มะตะนัง
18 ด.ช.พัสกร จอด  
นอก
19 ด.ช.เมธาสิทธิ ์ คำมี  

มา
20 ด.ช.วุฒิชัย บัวแดง  

21 ด.ช.เอกพล ชาลี  

กุล
22 ด.ช.วิจักษฐ์ จัน  

ทรคร
23 ด.ญ.ณภัชสร  

จันทร์แสง
24 ด.ญ.สุพิชฌาย์  

ทองทา
25 ด.ญ.สุดารัตน์ อมุล  

ราช
26 ด.ญ.วิไลวรรณ  

นามวงศ์
27 ด.ญ.พัชริดา โจทา  

28 ด.ญ.กชพร บุญ  

เรืองนาม
29 ด.ญ. จันทพร ผิว  

ชวง
30 ด.ญ.ณัฐธิดา คิดจะ  

ทำ
31 ด.ญ.ปิ ยธิดา คุลีดี  

32 ด.ญ.วิภาดา โสภา  
บุตร
33 ด.ญ.ไอรดา ศรี  

บานเย็น
34 ด.ญ.จิราภรณ์ แส  

นบุดดี

เกณฑ์การประเมินจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (K)
คุณลักษณะของเกณฑ์ที่ให้คะแนน เกณฑ์
การ
ประเมิ

บรรยายความหมายและตอบคำถามกิจกรรมการทดลองของ 2
การดูดซับน้ำของวัสดุได้ถก
ู ต้องทัง้ หมด
บรรยายความหมายและตอบคำถามกิจกรรมการทดลองของ 1
การดูดซับน้ำของวัสดุได้ถก
ู ต้องเพียงบางส่วน
ไม่สามารถบรรยายความหมายและตอบคำถามกิจกรรมการ 0
ทดลองของวัสดุได้

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
2 ดีมาก
1 ดี
0 ปรับปรุง
เกณฑ์การสรุปผลการประเมิน นักเรียนที่ได้ระดับคุณภาพดีขน
ึ ้ ไป ถือว่า
ผ่าน
ตาราง แสดงการวิเคราะห์ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ตาม
ระดับความสามารถของนักเรียน

โดยอาจใช้เกณฑ์การประเมิน ดังนี ้

กระบวนการ ระดับความสามารถ
รายการ
ทาง ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรุง
ประเมิน
(1)
วิทยาศาสตร์

S1 การสังเกต การบรรยาย สามารถใช้ สามารถใช้ สามารถใช้


รายละเอียด ประสาท ประสาท ประสาท
ของสิ่งที่ สัมผัสและ สัมผัสและ สัมผัสและ
สังเกต แว่นขยาย แว่นขยาย แว่นขยาย
เก็บราย เก็บราย เก็บราย
ละเอียด ละเอียด ละเอียด
ข้อมูลของสิ่ง ข้อมูลของสิ่ง ข้อมูลของสิ่ง
ที่สังเกตได้ ที่สังเกตได้ ที่สังเกตได้
ด้วยตนเอง จากการ เพียงบางส่วน
โดยไม่เพิ่ม ชีแ
้ นะของครู แม้ว่าจะได้
ความคิดเห็น หรือผู้อ่ น
ื หรือ รับคำชีแ
้ นะ
มีการเพิ่มเติม จากครูหรือผู้
ความคิดเห็น อื่น

S8 การลง การลงความ สามารถลง สามารถลง ลงความเห็น


ความเห็น เห็นจาก ความเห็น ความเห็น จากข้อมูล
จากข้อมูล ข้อมูลว่าการ จากข้อมูล จากข้อมูล ว่าการสังเกต
สังเกตสิ่ง ว่าการสังเกต ว่าการสังเกต สิ่งต่างๆ โดย
ต่างๆ โดยใช้ สิ่งต่างๆ โดย สิ่งต่างๆ โดย ใช้แว่นขยาย
แว่นขยาย ใช้แว่นขยาย ใช้แว่นขยาย ทำให้ได้
ทำให้ได้ ทำให้ได้ ทำให้ได้ ข้อมูลที่ที่
ข้อมูลที่ ข้อมูลที่ ข้อมูลที่ แตกต่างจาก
ชัดเจนและ ชัดเจนและ ชัดเจนและ การสังเกต
ละเอียด ละเอียด ละเอียด โดยใช้ตา
ว่าการสังเกต ว่าการสังเกต ว่าการสังเกต เปล่าแต่ไม่
โดยใช้ตา โดยใช้ตา โดยใช้ตา สามารถบอก
เปล่า เปล่าได้อย่าง เปล่าลงความ ได้ว่าแตกต่าง
ถูกต้องและ เห็นได้อย่าง อย่างไร แม้
ชัดเจนได้ด้วย ถูกต้องและ จะได้รับคำ
ตนเอง ชัดเจนจาก ชีแ
้ นะจากครู
การชีแ
้ นะ หรือผู้อ่ น

ของครูหรือผู้
อื่น

S12 การ การออกแบบ สามารถการ สามารถการ สามารถการ


ทดลอง การปฏิบัติ ออกแบบการ ออกแบบการ ออกแบบการ
และบันทึกผล ปฏิบัติ และ ปฏิบัติ และ ปฏิบัติ และ
การทดลอง บันทึกผลการ บันทึกผลการ บันทึกผลการ
ทดลองได้ถูก ทดลองได้ถูก ทดลองไม่ถูกต้อง
ต้องและด้วย ต้องจากการ แม้ว่าจะได้รับจาก
ตนเอง ชีแ
้ นะของครู การชีแ
้ นะของครู
หรือผู้อ่ ืน หรือผู้อ่ น

S13 การ การตีความ สามารถ สามารถ สามารถตีความ


ตีความหมาย หมายข้อมูล ตีความหมาย ตีความหมาย หมายข้อมูลจาก
ข้อมูลและลง จากการ ข้อมูลจาก ข้อมูลจากการ การสังเกตและ
ข้อสรุป สังเกตและ การสังเกต สังเกตและการ การอภิปรายได้ว่า
การอภิปราย และการ อภิปรายได้ว่า ลักษณะของสิ่งมี
ได้ว่า อภิปรายได้ว่า ลักษณะของสิ่ง ชีวิตเมื่อสังเกต
ลักษณะของ ลักษณะของ มีชีวิตเมื่อ ด้วยตาเปล่าและ
สิ่งมีชีวิตเมื่อ สิ่งมีชีวิตเมื่อ สังเกตด้วยตา ใช้แว่นขยายได้
สังเกตด้วยตา สังเกตด้วยตา เปล่าและใช้ เพียงบางส่าวน
เปล่าและใช้ เปล่าและใช้ แว่นขยายมี และลงข้อสรุปได้
แว่นขยายมี แว่นขยายมี ลักษณะบาง ไม่สมบูรณ์แม้ว่า
ลักษณะบาง ลักษณะบาง อย่างเหมือน จะได้รับคำชีแ
้ นะ
อย่างเหมือน อย่างเหมือน กันและ จากครูหรือผู้อ่ น

กันและ กันและ ลักษณะบาง
ลักษณะบาง ลักษณะบาง อย่างแตกต่าง
อย่างแตกต่าง อย่างแตกต่าง กันและลงข้อ
กันและลงข้อ กันและลงข้อ สรุปได้ว่าการ
สรุปได้ว่าการ สรุปได้ว่าการ สังเกตสิ่งต่างๆ
สังเกตสิ่ง สังเกตสิ่ง โดยใช้แว่น
ต่างๆ โดยใช้ ต่างๆ โดยใช้ ขยายทำให้ได้
แว่นขยาย แว่นขยาย ข้อมูลที่ชัดเจน
ทำให้ได้ ทำให้ได้ และราย
ข้อมูลที่ ข้อมูลที่ ละเอียดกว่า
ชัดเจนและ ชัดเจนและ การสังเกตด้วย
รายละเอียด รายละเอียด ตาเปล่าจาก
กว่าการ กว่าการ การชีแ
้ นะของ
สังเกตด้วยตา สังเกตด้วยตา ครูหรือผู้อ่ น

เปล่า เปล่าได้ด้วย
ตนเอง

แบบบันทึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ตามระดับความ
สามารถของนักเรียน
เล ชื่อ-สกุล ระดับคุณภาพการสังเกตทักษะ รวม ผลการ
ขที่ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (12 คะ ประเมิ
S1 S8 S12 S13
แนน) น
(3 คะ (3 คะแ (3 คะแ (3 คะแ
แนน) นน) นน) นน)
1 ด.ช.กวินทิพย์ 2 2 2 2 8 พอใช้
กุญชรน้อย
2 ด.ช.กิตติศักดิ ์ ใจ 2 2 2 2 8 พอใช้
หลัก
3 ด.ช.จิระเดช คาน 3 3 3 3 12 ดีมาก
เพ็ชรทา
4 ด.ช.ณัฐภัทร 2 2 2 2 8 พอใช้
จันทร์เทศ
5 ด.ช.ธนภัทร ชาบัว 3 3 3 3 12 ดีมาก
น้อย
6 ด.ช.ธีรภัทร 3 3 3 3 12 ดีมาก
กุญชรน้อย
7 ด.ช.ปิ ยพงษ์ สุ 3 3 3 3 12 ดีมาก
วัตถุดี
8 ด.ช.วัชรพล พิม 3 3 3 3 12 ดีมาก
พันธุ์
9 ด.ช.ณัฐพล พริม 3 3 3 3 12 ดีมาก
ทอง
10 ด.ช.ธนภัทร โส 3 3 3 3 12 ดีมาก
ศาลา
11 ด.ช.เกียรติศักดิ ์ 3 3 3 3 12 ดีมาก
การดี
12 ด.ช.จิรายุ เพ็ญศรี 3 3 3 3 12 ดีมาก
13 ด.ช.ทัศไนย คง 3 3 3 3 12 ดีมาก
กล้า
14 ด.ช.ธนวัฒน์ สอสุ 3 3 3 3 12 ดีมาก
ธรรม
15 ด.ช.ธนาดล 3 3 3 3 12 ดีมาก
คมคาย
16 ด.ช. ธนาธิป 3 3 3 3 12 ดีมาก
คมคาย
17 ด.ช.ธนพนธ์ บุบ 3 3 3 3 12 ดีมาก
ผามะตะนัง
18 ด.ช.พัสกร จอด 3 3 3 3 12 ดีมาก
นอก
19 ด.ช.เมธาสิทธิ ์ คำ 3 3 3 3 12 ดีมาก
มีมา
20 ด.ช.วุฒิชัย บัว 3 3 3 3 12 ดีมาก
แดง
21 ด.ช.เอกพล ชาลี 3 3 3 3 12 ดีมาก
กุล
22 ด.ช.วิจักษฐ์ จัน 3 3 3 3 12 ดีมาก
ทรคร
23 ด.ญ.ณภัชสร 3 3 3 3 12 ดีมาก
จันทร์แสง
24 ด.ญ.สุพิชฌาย์ 3 3 3 3 12 ดีมาก
ทองทา
25 ด.ญ.สุดารัตน์ 2 2 2 2 8 พอใช้
อมุลราช
26 ด.ญ.วิไลวรรณ 3 3 3 3 12 ดีมาก
นามวงศ์
27 ด.ญ.พัชริดา 3 3 3 3 12 ดีมาก
โจทา
28 ด.ญ.กชพร บุญ 3 3 3 3 12 ดีมาก
เรืองนาม
29 ด.ญ. จันทพร ผิว 3 3 3 3 12 ดีมาก
ชวง
30 ด.ญ.ณัฐธิดา คิด 3 3 3 3 12 ดีมาก
จะทำ
31 ด.ญ.ปิ ยธิดา คุลีดี 3 3 3 3 12 ดีมาก
32 ด.ญ.วิภาดา โสภา 3 3 3 3 12 ดีมาก
บุตร
33 ด.ญ.ไอรดา ศรี 3 3 3 3 12 ดีมาก
บานเย็น
34 ด.ญ.จิราภรณ์ แส 3 3 3 3 12 ดีมาก
นบุดดี

เกณฑ์การให้คะแนนการประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรมแบบรายงานการ
สืบค้นข้อมูล

- ระดับคุณภาพดีมากคะแนน 10-12 ให้ 4 คะแนน

- ระดับคุณภาพดี คะแนน 7-9 ให้ 3 คะแนน

- ระดับคุณภาพพอใช้ คะแนน 3-6 ให้ 2 คะแนน


- ระดับคุณภาพต้องปรับปรุง คะแนน 1-3 ให้ 1 คะแนน

แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม

เล ชื่อ-สกุล ระดับคุณภาพการสังเกตทักษะ ผลการ


ขที่ การทำงานกลุ่ม ตัดสิน
4 3 2 1 ผ่า ไม่
น ผ่าน
1 ด.ช.กวินทิพย์ กุญชร  

น้อย
2 ด.ช.กิตติศักดิ ์ ใจหลัก  

3 ด.ช.จิระเดช คานเพ็ชร  

ทา
4 ด.ช.ณัฐภัทร จันทร์เทศ  

5 ด.ช.ธนภัทร ชาบัวน้อย  

6 ด.ช.ธีรภัทร กุญชรน้อย  

7 ด.ช.ปิ ยพงษ์ สุวัตถุดี  

8 ด.ช.วัชรพล พิมพันธุ์  

9 ด.ช.ณัฐพล พริมทอง  

10 ด.ช.ธนภัทร โสศาลา  

11 ด.ช.เกียรติศักดิ ์ การดี  

12 ด.ช.จิรายุ เพ็ญศรี  

13 ด.ช.ทัศไนย คงกล้า  

14 ด.ช.ธนวัฒน์ สอสุธรรม  

15 ด.ช.ธนาดล คมคาย  

16 ด.ช. ธนาธิป คมคาย  

17 ด.ช.ธนพนธ์ บุบผามะตะ  

นัง
18 ด.ช.พัสกร จอดนอก  

19 ด.ช.เมธาสิทธิ ์ คำมีมา  

20 ด.ช.วุฒิชัย บัวแดง  

21 ด.ช.เอกพล ชาลีกุล  

22 ด.ช.วิจักษฐ์ จันทรคร  

23 ด.ญ.ณภัชสร จันทร์แสง  

24 ด.ญ.สุพิชฌาย์ ทองทา  

25 ด.ญ.สุดารัตน์ อมุลราช  

26 ด.ญ.วิไลวรรณ นามวงศ์  

27 ด.ญ.พัชริดา โจทา  
28 ด.ญ.กชพร บุญเรืองนาม  

29 ด.ญ. จันทพร ผิวชวง  

30 ด.ญ.ณัฐธิดา คิดจะทำ  

31 ด.ญ.ปิ ยธิดา คุลีดี  

32 ด.ญ.วิภาดา โสภาบุตร  

33 ด.ญ.ไอรดา ศรีบานเย็น  

34 ด.ญ.จิราภรณ์ แสนบุด  

ดี

เกณฑ์การตัดสิน ได้ระดับคุณภาพ 3 ขึน


้ ไปถือว่าผ่าน

เกณฑ์การประเมินพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
ระดับ ประเด็นการประเมิน
คุณภาพ
4 มีความเป็ นผู้นำ ร่วมแสดงความคิดเห็น รู้จักรับฟั งความคิด
ดีมาก เห็นและให้ความร่วมมือ
ในการทำงานกลุ่มด้วยความตัง้ ใจอย่างสม่ำเสมอ
3 มีความเป็ นผู้นำ ร่วมแสดงความคิดเห็น รู้จักรับฟั งความคิด
ดี เห็นและให้ความร่วมมือ
ในการทำงานกลุ่มด้วยความตัง้ ใจเป็ นส่วนใหญ่
2 เป็ นผู้ตามที่ดี ร่วมแสดงความคิดเห็น รู้จักรับฟั งความคิด
พอใช้ เห็นและให้ความร่วมมือในการทำงานกลุ่มด้วยความตัง้ ใจ
เป็ นบางครัง้
1 เป็ นผู้ตามที่ดี ให้ความร่วมมือในการทำงานกลุ่ม แต่ไม่ร่วม
ปรับปรุง แสดงความคิดเห็น

แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์

เล ชื่อ-สกุล รายการสังเกตคุณลักษณะ ผลการ


ขที่ อันพึงประสงค์ ตัดสิน
ผ่าน ไม่
คุณค่าของการ

ผ่าน
ตระหนักใน
มุ่งมั่นในการ
ใฝ่ เรียนรู้

มีวินัย

เฉลี่ย

4 4 4 4 4
1 ด.ช.กวินทิพย์ กุญชร 2 2 2 2 

น้อย 2
2 ด.ช.กิตติศักดิ ์ ใจหลัก 4 4 4 4 4 

3 ด.ช.จิระเดช คานเพ็ชร 4 4 4 4 

ทา 4
4 ด.ช.ณัฐภัทร จันทร์เทศ 4 4 4 4 4 

5 ด.ช.ธนภัทร ชาบัวน้อย 4 4 4 4 4 

6 ด.ช.ธีรภัทร กุญชร 4 4 4 2 

น้อย 4
7 ด.ช.ปิ ยพงษ์ สุวัตถุดี 4 4 4 4 4 

8 ด.ช.วัชรพล พิมพันธุ์ 4 4 4 4 4 

9 ด.ช.ณัฐพล พริมทอง 4 4 4 4 4 

10 ด.ช.ธนภัทร โสศาลา 4 4 4 4 4 

11 ด.ช.เกียรติศักดิ ์ การดี 4 4 4 4 4 

12 ด.ช.จิรายุ เพ็ญศรี 4 4 4 4 4 

13 ด.ช.ทัศไนย คงกล้า 4 4 4 4 4 

14 ด.ช.ธนวัฒน์ สอสุธรรม 4 4 4 4 4 

15 ด.ช.ธนาดล คมคาย 4 4 4 4 4 

16 ด.ช. ธนาธิป คมคาย 4 4 4 4 4 

17 ด.ช.ธนพนธ์ บุบผามะ 4 4 4 4 

ตะนัง 4
18 ด.ช.พัสกร จอดนอก 4 4 4 4 4 

19 ด.ช.เมธาสิทธิ ์ คำมีมา 4 4 4 4 4 

20 ด.ช.วุฒิชัย บัวแดง 4 4 4 4 4 

21 ด.ช.เอกพล ชาลีกุล 4 4 4 4 4 

22 ด.ช.วิจักษฐ์ จันทรคร 4 4 4 4 4 
23 ด.ญ.ณภัชสร จันทร์ 4 4 4 4 

แสง 4
24 ด.ญ.สุพิชฌาย์ ทองทา 4 4 4 4 4 

25 ด.ญ.สุดารัตน์ อมุลราช 3 3 3 3 3 

26 ด.ญ.วิไลวรรณ นาม 3 3 3 3 3 

วงศ์
27 ด.ญ.พัชริดา โจทา 4 4 4 4 4 

28 ด.ญ.กชพร บุญเรือง 4 4 4 4 4 

นาม
29 ด.ญ. จันทพร ผิวชวง 4 4 4 4 4 

30 ด.ญ.ณัฐธิดา คิดจะทำ 4 4 4 4 4 

31 ด.ญ.ปิ ยธิดา คุลีดี 4 4 4 4 4 

32 ด.ญ.วิภาดา โสภาบุตร 4 4 4 4 4 

33 ด.ญ.ไอรดา ศรีบานเย็น 4 4 4 4 4 

34 ด.ญ.จิราภรณ์ แสนบุด 4 4 4 4 

ดี 4
เกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ระดับคุณภาพ
รายการประเมิน
4 3 2 1
1.ใฝ่ เรียนรู้ มีการ มีการ มีการ ไม่มีการ
วางแผน วางแผน วางแผน วางแผน
การทำงาน การทำงาน การทำงาน การ
ทำงานตาม ทำงานตาม ทำงานตาม ทำงาน
แผน ผล แผน แผนเป็ น ผลงาน
งานออกมา เป็ นส่วน ส่วนน้อย ออกมา
ถูกต้อง มาก ผลงาน ผลงานออก ไม่ถูกต้อง
ออกมาถูก มาถูกต้อง
ต้อง
2. มีระเบียบวินัย ตัง้ ใจทำงาน ตัง้ ใจทำงาน ตัง้ ใจ ไม่ตงั ้ ใจ
ไม่เล่นขณะ ไม่เล่นขณะ ทำงาน ไม่ ทำงาน
ทำงานหรือ ทำงานหรือ เล่นขณะ เล่นขณะ
เรียน เรียน ทำงานหรือ ทำงาน
ทำงานเสร็จ ทำงานเสร็จ เรียน หรือเรียน
ทันเวลา ทันเวลา ทำงาน ทำงาน
ทุกกิจกรรม เกือบทุก เสร็จทัน เสร็จ
กิจกรรม เวลาเป็ น ไม่ทัน
บาง เวลา
กิจกรรม
3. มุ่งมั่นในการ รับผิดชอบ รับผิดชอบ รับผิดชอบ ไม่รับผิด
ทำงาน ต่องานที่ได้ ต่องานที่ได้ ต่องานที่ได้ ชอบต่อ
รับมอบ รับมอบ รับมอบ งานที่ได้
หมาย มี หมาย มีงาน หมาย มี รับมอบ
งานส่งทุก ส่งทุก งานส่งเป็ น หมาย มี
กิจกรรม กิจกรรมแต่ ส่วนใหญ่ งานส่ง
และตรง ไม่ทันเวลา และตรง เป็ นบาง
เวลา เวลา ครัง้ และ
ไม่ตรง
เวลา
4. ตระหนักใน มีความ มีความตัง้ ใจ มีความ ไม่มีความ
คุณค่าของการ ตัง้ ใจ ในการเรียน ตัง้ ใจ ตัง้ ใจใน
เรียน ในการเรียน ร่วม ในการ การเรียน
วิทยาศาสตร์ ร่วม กิจกรรม เรียน ร่วม ร่วม
กิจกรรมทุก และตัง้ ใจ กิจกรรม กิจกรรม
ครัง้ ตัง้ ใจ ทำงานเป็ น และ ตัง้ ใจ เป็ นส่วน
ทำงาน ส่วนมาก ทำงานเป็ น น้อย ไม่
ทุกกิจกรรม บางครัง้ ตัง้ ใจ
ทำงาน

แบบสังเกตสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

เล ชื่อ-สกุล รายการสังเกตสมรรถนะ ผลการตัดสิน


ขที่ สำคัญของผู้เรียน
ผ่าน ไม่ผ่าน
มารถในการ
ความสาม

สามารถ
ความ

เฉลี่ย
รวม

4 4 8 4
1 ด.ช.กวินทิพย์ กุญชร 3 3 6 3 

น้อย
2 ด.ช.กิตติศักดิ ์ ใจหลัก 3 4 7 3.5 

3 ด.ช.จิระเดช คานเพ็ 4 4 8 4 

ชรทา
4 ด.ช.ณัฐภัทร จันทร์ 4 4 8 4 

เทศ
5 ด.ช.ธนภัทร ชาบัว 4 4 8 4 
น้อย
6 ด.ช.ธีรภัทร กุญชร 4 4 8 4 

น้อย
7 ด.ช.ปิ ยพงษ์ สุวัตถุดี 4 4 8 4 

8 ด.ช.วัชรพล พิมพันธุ์ 4 4 8 4 

9 ด.ช.ณัฐพล พริมทอง 4 4 8 4 

10 ด.ช.ธนภัทร โสศาลา 4 4 8 4 

11 ด.ช.เกียรติศักดิ ์ การ 4 4 8 4 

ดี
12 ด.ช.จิรายุ เพ็ญศรี 4 4 8 4 

13 ด.ช.ทัศไนย คงกล้า 4 4 8 4 

14 ด.ช.ธนวัฒน์ สอสุ 4 4 8 4 

ธรรม
15 ด.ช.ธนาดล คมคาย 4 4 8 4 

16 ด.ช. ธนาธิป คมคาย 4 4 8 4 

17 ด.ช.ธนพนธ์ บุบผามะ 4 4 8 4 

ตะนัง
18 ด.ช.พัสกร จอดนอก 4 4 8 4 

19 ด.ช.เมธาสิทธิ ์ คำมีมา 4 4 8 4 

20 ด.ช.วุฒิชัย บัวแดง 4 4 8 4 

21 ด.ช.เอกพล ชาลีกุล 4 4 8 4 

22 ด.ช.วิจักษฐ์ จันทรคร 4 4 8 4 

23 ด.ญ.ณภัชสร จันทร์ 4 4 8 4 

แสง
เล ชื่อ-สกุล รายการสังเกตสมรรถนะ ผลการตัดสิน
ขที่ สำคัญของผู้เรียน
ผ่าน ไม่ผ่าน

มารถในการ
ความสาม

สามารถ
ความ

เฉลี่ย
รวม
4 4 8 4
24 ด.ญ.สุพิชฌาย์ ทอง 4 4 8 4 

ทา
25 ด.ญ.สุดารัตน์ อมุล 3 4 7 3.5 

ราช
26 ด.ญ.วิไลวรรณ นาม 3 4 7 3.5 

วงศ์
27 ด.ญ.พัชริดา โจทา 4 4 8 4 

28 ด.ญ.กชพร บุญเรือง 4 4 8 4 

นาม
29 ด.ญ. จันทพร ผิวชวง 4 4 8 4 

30 ด.ญ.ณัฐธิดา คิดจะทำ 4 4 8 4 

31 ด.ญ.ปิ ยธิดา คุลีดี 4 4 8 4 

32 ด.ญ.วิภาดา โสภา 4 4 8 4 

บุตร
33 ด.ญ.ไอรดา ศรี 4 4 8 4 

บานเย็น
34 ด.ญ.จิราภรณ์ แส 4 4 8 4 

นบุดดี
เกณฑ์การตัดสิน ได้ระดับคุณภาพ 3 ขึน
้ ไปถือว่าผ่าน

เกณฑ์การประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
รายการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
1. ความ ถ่ายทอด ถ่ายทอด ถ่ายทอด ถ่ายทอด
สามารถ ความรู้ ความรู้ ความรู้ ความรู้
ในการสื่อสาร ความคิด ความคิด ความคิด ความคิด
ความ ความเข้าใจ ความเข้าใจ ความเข้าใจ
เข้าใจของ ของตนเอง ของตนเอง ของตนเอง
ตนเองโดย โดยการพูด โดยการพูด โดยการพูด
การพูด ได้อย่าง ได้อย่าง ได้แต่ยังไม่
การเขียน เหมาะสม เหมาะสม ต่อเนื่อง
ได้อย่าง แต่ด้านการ
เหมาะสม เขียนยังไม่
ต่อเนื่อง
2. ความ ใช้ ใช้ ใช้ พยายามใช้
สามารถในการ กระบวนก กระบวนกา กระบวนกา กระบวนกา
คิด ารคิดใน รคิดในการ รคิดในการ รคิดในการ
การแก้ แก้ปัญหา แก้ปัญหา แก้ปัญหา
ปั ญหาได้ ได้อย่าง ได้ แต่ไม่ กล้าตัดสิน
อย่าง เหมาะสม มั่นใจ ไม่ ใจ แต่การ
เหมาะสม รอบคอบ มี กล้าตัดสิน แก้ปัญหา
รอบคอบ ความมั่นใจ ใจ ยังไม่เป็ น
มีความ กล้าตัดสิน ผลสำเร็จ
มั่นใจ กล้า ใจเป็ นส่วน
ตัดสินใจ มาก
ทุกครัง้
ภาพจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญ
เรื่อง การดูดซับน้ำของวัสดุ

You might also like