Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 14

ไฮโดรเจน : เชื้อเพลิงแหงอนาคตที่ไมมีวันสูญสิ้น

Hydrogen : Non – depleted Future Fuel


ละอองดาว แสงหลา1
วิระศักดิ์ เทพจันทร1
ธวัชชัย ศุภดิษฐ2

บทคัดยอ
จากการที่น้ํามันในตลาดโลกมีราคาแพงขึ้น สงผลกระทบตอ
การใชน้ํามันทั่วโลก โดยเฉพาะประเทศที่ตองพึ่งพาการนําเขาน้ํามัน
อย า งประเทศไทย มาตรการในการแก ป ญ หาอย า งหนึ่ ง คื อ การหา
พลังงานทดแทนที่มีความยั่งยืนและไมทําลายสิ่งแวดลอม อาทิ พลังงาน
ไฮโดรเจน โดยพลัง งานไฮโดรเจนกํา ลังไดรับ ความสนใจจากทั่ ว โลก
เนื่องจากสามารถผลิตไดจากหลายแหลง มีศักยภาพ ใหพลังงานสูง และ
แปลงเปนพลังงานอื่นไดงาย แตกระบวนการผลิตจะตองมีตนทุนต่ําและ
มีความปลอดภัยตอสิ่งแวดลอม การพัฒนากระบวนการผลิตไฮโดรเจน
ให เ ป น พลั ง งานที่ ส ะอาด มี ค วามยั่ง ยื น ในระบบ และเกิด การแขง ขั น
ทางดานตนทุนไดนั้นมีกระบวนการผลิตไดหลายวิธี ทั้งนี้ขึ้นกับชนิดของ
วัต ถุ ดิ บ ที่ ใ ช ได แ ก ก า ซธรรมชาติ ถ า นหิ น พลั ง งานนิ ว เคลี ย ร แหล ง
ทรัพยากรหมุนเวียน เชน มวลชีวภาพ สาหรายหรือแบคทีเรีย และน้ํา
หรือน้ําเสีย เปนตน สวนการจัดเก็บกาซไฮโดรเจนจะเก็บไวในสถานะ

1
ศูนยวิจัยพืชไรเชียงใหม ตําบลหนองหาร อําเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม 50290
2
ผูชวยศาสตราจารย คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร
ของเหลว ในวัสดุที่สามารถดูดซับและเก็บรักษาไฮโดรเจนไดดี ขณะที่
การนําก าซไฮโดรเจนไปใชประโยชนจะอยูในรูปของการใชเ ปนเซลล
เชื้อเพลิง

คําสําคัญ : เซลลเชื้อเพลิง พลังงาน สิ่งแวดลอม ไฮโดรเจน

Abstracts
According to an expensive of oil in the world market, it
affects to world oil consumption, especially Thailand that lacks oil
sources in the country. Alternative energy is one way to solve this
problem. Its production must consider to production’s cost and
environmental safety. Presently, hydrogen energy is being
interested around the world. It can be produced from many
resources that are high potential, high energy and transform
easily to other energy. Sustainable and cost competitive
hydrogen production process is a key to a viable future
hydrogen economy. Hydrogen can be produced via various
process technologies that depend on type of raw materials, such
as natural gas, coal, nuclear power, and renewable resources
(biomass, algae, bacteria, water and wastewater). It is stored in
liquid status in the well absorbed container and utilized in the
form of fuel cell.

Keywords : fuel cell, energy, environment, hydrogen

48 วารสารการจัดการสิ่งแวดลอม
คํานํา (Introduction)
ปจจุบันปญหาที่สําคัญของประเทศไทย คือ พลังงานมีราคา
แพงและการขาดแคลนพลังงานโดยเฉพาะพลังงานฟอสซิล จนตองมี
การนําเขาพลังงานในแตละปมูลคาหลายแสนบาท และมีแนวโนมที่จะ
เพิ่มมากขึ้น พลังงานนําเขาที่สําคัญ คือ พลังงานจากน้ํามันเชื้อเพลิง
โดยเฉพาะน้ํ า มั น ดี เ ซลที่ มี อั ต ราการเพิ่ ม ขึ้ น อย า งรวดเร็ ว ซึ่ ง เมื่ อ
สถานการณน้ํามัน ในตลาดโลกปรับตัวสูงขึ้น ทําใหตองนําเขาน้ํามันใน
ราคาที่แพง สงผลใหราคาน้ํามันที่จําหนายในประเทศแพงขึ้น และทําให
ตนทุนการผลิตทั้งในภาคอุตสาหกรรมและภาคเกษตรกรรมสูงตามไป
ดวย (กระทรวงพลังงาน, 2549) รัฐบาลจึงหาวิธีการแกไขเพื่อลดการ
นําเขาพลังงาน วิธีการหนึ่ง คือ การลดการใชพลังงาน โดยรณรงคใหคน
ไทยทั้งประเทศประหยัดพลังงาน ซึ่งจะตองทําอยางตอเนื่อง อีกวิธีการ
หนึ่ง คือ การหาพลังงานทดแทนภายในประเทศมาใชที่มีความยั่งยืนกวา
และไมทําลายสิ่งแวดลอม พลังงานทดแทนที่สําคัญ คือ พลังงานจาก
พืชที่เรียกวา เชื้อเพลิงชีวภาพ (Biofuel) (ธวัชชัย, 2548) โดยเปน
เชื้ อ เพลิ ง ที่ ไ ด จ ากสิ่ ง มี ชี วิ ต หรื อ ผลผลิ ต จากการสร า งและสลายของ
สิ่งมีชีวิต เชน มูลสัตว เปนตน (วิกิพีเดีย, 2549) นอกจากนี้ยังมี
การศึกษาถึงความเปนไปไดมากมายในการใชเชื้อเพลิงอื่น ๆ แทนการใช
น้ํามัน เชน กาซธรรมชาติ มีเทน หรือแอลกอฮอลในรูปแบบตาง ๆ แต
อยางไรก็ตาม เชื้อเพลิงเหลานี้ยังคงไมใชตัวเลือกที่ดีที่สุดในการผลิต
พลังงานทดแทน เพราะปจจัยที่ตองคํานึงถึงมากที่สุด คือ ดานตนทุน
การผลิ ต และผลกระทบต อ สิ่ ง แวดล อ ม พลั ง งานไฮโดรเจนนั บ เป น
พลังงานทดแทนรูปแบบหนึ่งที่หลายคนอาจจะมองขามไป โดยไฮโดรเจน

ไอโดนเจนเชื้อเพลิงแหงอนาคตฯ 49
เปนพลังงานที่มีศักยภาพสูง สามารถปลดปลอยพลังงานไดปริมาณมาก
ผลิตไดจากหลายแหลง และเปนพลังงานที่สามารถแปลงเปนพลังงาน
อื่นไดงาย (Energy Plus, 2547)

ภูมิหลังของกาซไฮโดรเจน (Background of Hydrogen Gas)


จากวิฤตการณพลังงานในชวงทศวรรษที่ 70 ที่ราคาน้ํามันพุงขึ้น
สูงเปนประวัติการณจนสงผลกระทบตอเศรษฐกิจโลก สงผลใหมีการ
คนควาหาแหลงพลังงานอื่น ๆ มาทดแทนการใชน้ํามัน ซึ่งในขณะนั้น
กาซไฮโดรเจนไดกาวเขามาเปนทางเลือกที่จะนํามาทดแทนน้ํามันใน
อนาคตดวยคุณสมบัติดีเดนหลายประการ เชน ใหพลังงานตอหนวยได
สูงสุดเมื่อเทียบกับบรรดาเชื้อเพลิงชนิดตาง ๆ (ภาพที่ 1) จึงไดมีการริเริ่ม
มาใชเปนพลังงานเชื้อเพลิงในจรวดขับดันสําหรับสงยานอวกาศ เพราะ
สามารถเผาไหมไดอยางสมบูรณและไมกอใหเกิดมลพิษ อันเปนจุดเดน
ของการเปนพลังงานสะอาด (Clean Energy) โดยผลิตผลที่เกิดจากการ
เผาไหมมีเพียงน้ําเทานั้น

ภาพที่ 1 เปรียบเทียบการใหพลังงาน (MJ/Kg) ของเชื้อเพลิงชนิดตาง ๆ


ที่มา : กิตติศักดิ์ (2549)

50 วารสารการจัดการสิ่งแวดลอม
อยางไรก็ตามในเวลาตอมาเมื่อราคาน้ํามันลดลง ความสนใจใน
การใช ไ ฮโดรเจนเป น เชื้ อ เพลิ ง ก็ ซ าลงไป จนกระทั่ ง ในทศวรรษที่ 90
เมื่ อ โลกเริ่ ม ตื่ น ตั ว กั บ ป ญ หาสิ่ ง แวดล อ มโดยเฉพาะอย า งยิ่ ง การเกิ ด
ปรากฏการณเรือนกระจก (Greenhouse Effect) ทําใหกาซไฮโดรเจน
กลับมาเปนทางเลือกที่นาสนใจอีกครั้ง เพราะเปนพลังงานสะอาดและไม
เปนกาซเรือนกระจกเหมือนอยางเชนกาซมีเทน แตการกลับมาของกาซ
ไฮโดรเจนในครั้งนี้ตางไปจากเดิม เพราะไมไดมองกาซไฮโดรเจนในฐานะ
เป น เชื้ อ เพลิ ง เพื่อ การเผาไหม แ บบเดี ย วกับ น้ํ า มั น หรื อ ก า ซธรรมชาติ
แตไดนํามาเปนแหลงพลังงานสําหรับเซลลเชื้อเพลิง (Fuel Cell) เพื่อ
ผลิตกระแสไฟฟา โดยเซลลเชื้อเพลิงสามารถผลิตกระแสไฟฟาไดจาก
ปฏิกิริยาเคมีระหวางกาซไฮโดรเจนกับกาซออกซิเจนจากอากาศ และไม
กอใหเกิดมลพิษตอสิ่งแวดลอม ตางไปจากการผลิตกระแสไฟฟาซึ่งใช
พลังงานความรอนจากการเผาไหมเชื้อเพลิงอื่น ๆ เชน ถานหิน น้ํามัน
กาซธรรมชาติ หรือแมแตการใชพลังงานนิวเคลียร

คุณสมบัติของไฮโดรเจน (Hydrogen Characteristics)


ไฮโดรเจนเปนธาตุที่เบาที่สุดและเปนองคประกอบของน้ําที่เปน
ปจจัยที่สําคัญมากที่สุดของสิ่งมีชีวิตบนโลก เปนโมเลกุลที่พบไดทั่วไป
ตามธรรมชาติ โดยบรรยากาศในโลกมีกาซไฮโดรเจนประมาณ 0.1 ppm
มีความแข็งแรงในการยึดโมเลกุล เทากับ 104 kcal/mol ดังนั้น เมื่อ
ตองการใหไฮโดรเจนโมเลกุลทําปฏิกิริยา จึงตองใชพลังงานเพื่อทําลาย
ความแข็งแรงในการยึดโมเลกุลดังกลาว เชน เพิ่มอุณหภูมิ หรือใชสารเรง
ปฏิกิ ริย า เป น ตน ไฮโดรเจนอะตอมประกอบดว ยนิ ว เคลี ย สอยูก ลาง
ภายในนิวเคลียส ประกอบดวยโปรตอนและนิวตรอน และมี อิเลคตรอน
ไอโดนเจนเชื้อเพลิงแหงอนาคตฯ 51
วิ่งรอบนอกเหมื อ นธาตุ อื่น ๆ ไฮโดรเจนมี 3 ไอโซโทป ขึ้ น กั บจํ า นวน
โปรตอนและจํานวนนิวตรอนที่ตางกัน ดังนี้
1. ไฮโดรเจน (Hydrogen) มีจํานวนโปรตอน 1 โปรตอน จํานวน
นิวตรอน 1 นิวตรอน มีน้ําหนักอะตอม เทากับ 1.0078
2. ดิวเทอเรียม (Deuterium) มีจํานวนโปรตอน 2 โปรตอน
จํานวนนิวตรอน 1 นิวตรอน มีน้ําหนักอะตอม เทากับ 2.0141
3. ตริเที่ยม (Tritium) มีจํานวนโปรตอน 3 โปรตอน จํานวน
นิวตรอน 1 นิวตรอน มีน้ําหนักอะตอม เทากับ 3.0161
ลักษณะทั่วไปของไฮโดรเจนทั้ง 3 สถานะ คือ ไฮโดรเจนที่เปน
ของแข็งจะไมมีสี มีโครงสรางผลึก 6 เหลี่ยม ปริมาตรตอโมล (Molar
Volume) เทากับ 2.56 cm3/mol สวนไฮโดรเจนที่เปนของเหลวจะไมมีสี
มีคาความหนืด (Viscosity) ต่ํา เคลื่อนที่ไดเร็ว ขณะที่ไฮโดรเจนที่เปน
กาซจะไมมีสี ไมมีกลิ่น ไมเปนพิษ กาซไฮโดรเจน 1 ลิตร มีมวล 0.0898
กรัม (กระทรวงพลังงาน, 2549)

การผลิตไฮโดรเจน (Hydrogen Production)


Department of Energy (2006) รายงานวา การผลิตไฮโดรเจน
สามารถผลิตไดจากหลายแหลง คือ จากกาซธรรมชาติ ถานหิน พลังงาน
นิวเคลียร หรือแหลงทรัพยากรทดแทน กระบวนการผลิตแบงออกไดเปน
3 รูปแบบ คือ
1. Thermochemical Processes เปนการใชความรอนในการ
เปลี่ ย นมวลชี ว ภาพ ก า ซธรรมชาติ ถ า นหิ น ให ก ลายเป น ก า ซผสม
และแยกไฮโดรเจนออกมา

52 วารสารการจัดการสิ่งแวดลอม
2. Photobiological Processes ใชแสงแดดและกระบวนการ
ทางชีวภาพของสาหรายเซลลเดียวและแบคทีเรีย ในการแยกน้ําใหเปน
ไฮโดรเจนและออกซิเจน
3. Photoelectrochemical Processes ใชเทคโนโลยีของ
Semiconductor เพื่อแยกน้ํา โดยใชพลังงานจากแสงอาทิตย
ประเทศไทยมีวัตถุดิบหลายชนิดที่สามารถผลิตกาซไฮโดรเจนได
โดยเฉพาะที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ พื ช ไร ซึ่ ง สามารถผลิ ต สารตั้ ง ต น คื อ
แอลกอฮอลกลุมตาง ๆ เพื่อใชในการผลิตกาซไฮโดรเจน พืชไรที่สําคัญ
ได แ ก กลุ ม พื ช ที่ ใ ห น้ํ า ตาล เช น อ อ ย หรื อ พื ช จํ า พวกแป ง เช น ข า ว
ขาวโพด ขาวสาลี ขาวฟาง ขาวบารเลย หรือมันสําปะหลัง ซึ่งในอนาคต
พืชไรที่กลาวมานี้ อาจจะมีชนิดใดชนิดหนึ่งที่ไดรับการยอมรับในการ
นํามาเปนวัตถุดิบที่ใชในการผลิตกาซไฮโดรเจนสําหรับประเทศไทยก็ได
และเมื่ อ ถึ ง เวลานั้ น ถื อ ได ว า เป น การเพิ่ ม มู ล ค า ให กั บ พื ช และเป น
ทางเลือกใหกับเกษตรกรในการเพาะปลูกพืช นอกจากนี้ยังอาจเปนการ
เปลี่ยนทิศทางของประเทศไทยครั้งใหญจากผูซื้อพลังงานกลายมาเปน
ผูขายพลังงานก็เปนได

การจัดเก็บไฮโดรเจน (Hydrogen Storage)


ในการเก็บรักษากาซไฮโดรเจน สามารถใชตัวดูดซับเพื่ อเก็ บ
รักษากาซไฮโดรเจนได 2 ชนิด คือ
1. Metal Hydrides เปนตัวดูดซับและเก็บรักษากาซไฮโดรเจน
และสามารถปลดปลอยออกมาไดเมื่อตองการนํากาซไฮโดรเจนไปใช
ประโยชน

ไอโดนเจนเชื้อเพลิงแหงอนาคตฯ 53
2. Carbon Nanostructures เปนตัวดูดซับที่มีโครงสรางที่เปน
รูพรุนขนาดเล็กมาก สามารถกักเก็บกาซไฮโดรเจนไวไดที่อุณหภูมิหอง

เศรษฐกิจแบบไฮโดรเจน (Hydrogen Economy)


ไฮโดรเจนเป น พลั ง งานที่ ส ามารถผลิ ต ได จ ากสิ่ ง ที่ อ ยู ร อบตั ว
ปจ จุ บั น จึ ง ได ถู ก นํ า มาใช เ ป น เชื้ อ เพลิ ง ในจรวดขั บ ดั น สํ า หรั บ ส ง ยาน
อวกาศ และเป น เชื้ อ เพลิ ง ในรถยนต ที่ เ รี ย กว า เซลล เ ชื้ อ เพลิ ง ซึ่ ง ใน
อนาคตเซลลเชื้อเพลิงจะเขามามีบทบาทในการเปลี่ยนวิถีการดํารงชีวิต
ของมนุษย เนื่องจากไมมีกลุมประเทศใดมีอิทธิพลเปนพิเศษ อีกทั้งยัง
เปนเชื้อเพลิงที่สะอาด ปราศจากมลพิษ ระบบการผลิตสามารถสรางใน
รูปแบบครัวเรือนและชุมชนได ซึ่งจะทําใหเวทีการคาดานพลังงานของ
โลกเปลี่ยนไปอย า งสิ้น เชิง กลุ ม ประเทศผู ผลิ ตน้ํา มั น และกลุม บริ ษั ท
น้ํามันยักษใหญที่เคยผูกขาดตลาดโลกและมีอิทธิพลเรื่องพลังงานมา
เปนเวลาหลายศตวรรษ อาจสูญเสียอํานาจอิทธิพลไป จะเปนการบริหาร
จัดการดานพลังงานที่กลับคืนมาสูภาคประชาชนและกอใหเกิดความ
ยั่งยืนอยางแทจริง ซึ่งหากยุคเศรษฐกิจไฮโดรเจนเกิดขึ้นและสามารถ
ทดแทนพลังงานจากฟอสซิลไดสําเร็จ ศูนยกลางของระบบเศรษฐกิจ
ไฮโดรเจนจะกลายเปนประเทศใดก็ได เพราะเปนเทคโนโลยีที่มีราคาถูก
ดังนั้น การคนหาเทคโนโลยีการผลิตที่มีประสิทธิภาพและตนทุนต่ํามาก
ที่สุ ด ในขณะนี้ จึ ง เป น สิ่ง ที่ ห ลายประเทศต องการ ป จจุ บั น จึ ง เกิ ด การ
พัฒนาเทคโนโลยีชนิดนี้อยางไมหยุดยั้ง (Energy Plus, 2547) ขณะที่
ในประเทศไทยมี ก ารผลิ ต ก า ซไฮโดรเจนซึ่ ง เป น ผลพลอยได จ าก
อุตสาหกรรมปโตรเลียมและปโตรเคมีอยูบางแลว โดยโรงงานจะใชกาซ

54 วารสารการจัดการสิ่งแวดลอม
ไฮโดรเจนเปนเชื้อเพลิงเพื่อผลิตไอน้ํา แตปริมาณที่ใชยังมีอยูนอยมาก
ดั ง นั้ น กลยุ ท ธ ห ลั ก ของการพั ฒ นาไปสู ยุ ค ดั ง กล า ว คื อ การพั ฒ นา
เทคโนโลยีการผลิตอยางไมหยุดยั้ง แตประเทศไทยยังมีปญหาและความ
ตองการในการผลิตและใชกาซเชื้อเพลิงไฮโดรเจนในประเทศ (พิศมัย,
2548) ดังนี้
1. ปญหาการรวบรวมและขนสงวัสดุทางการเกษตร เนื่องจาก
อยูกระจัดกระจาย
2. เทคโนโลยี ที่ใชใ นการผลิ ต พลัง งานจากชี ว มวล สว นใหญ
นําเขาจากตางประเทศ
3. ไมมีเทคโนโลยีที่ใชในการผลิต Syngas (H2, CO)
4. บางเทคโนโลยีที่นําเขามีราคาถูก แตมีประสิทธิภาพต่ําและ
กอใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม
5. ขาดความรูในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
จากปญหาดังกลาว ประเทศไทยจําเปนตองมีการศึกษาแนว
ทางการแกไขเพื่อเตรียมความพรอมของประเทศ โดยการสรางความ
รวมมือและแลกเปลี่ยนเทคโนโลยีกับตางประเทศ รวมทั้งตองมีการ
เรียนรูและพัฒนาเทคโนโลยีดวยตนเอง เพื่อใหสามารถพึ่งตนเองไดใน
ระยะยาว เพราะในอนาคตประเทศไทยอาจจะเปนประเทศหนึ่งที่มีการ
ผลิ ตกา ซไฮโดรเจนเพื่ อ ใช ในประเทศและ/หรื อสง ออกไปจํา หนา ยยั ง
ตางประเทศก็ได

ไอโดนเจนเชื้อเพลิงแหงอนาคตฯ 55
การใชประโยชน (Utilization)
การใช ป ระโยชน จ ากก า ซไฮโดรเจน จะใช อ ยู ในรู ป ของเซลล
เชื้อเพลิง (Fuel Cell) ซึ่งสามารถแบงไดตามอุณหภูมิการทํางานของ
เซลล ห รื อ ตามสารอิ เ ล็ ก โตรไลท ห รื อ สารนํ า ไฟฟ า ที่ ใ ช ใ นปฏิ กิ ริ ย าที่
แตกตางกัน (ตารางที่ 1)
ตารางที่ 1 แสดงขอมูลเกี่ยวกับเซลลเชื้อเพลิงชนิดตาง ๆ
Fuel Cell Temperature Efficiency Electrolyte Application
System Range (Cell) Area
Alkaline Fuel 60 – 80 oC 50 – 60 % 50 – 60 % KOH Space
Cell (AFC) Applications/
Traction
Applications
Polymer 50 – 80 oC 50 – 60 % Polymer Traction
Electrolyte Membrane Applications/
Fuel Cell (Nation/Dow) Space
(PEFC) Applications
Phosphoric 160 – 220 oC 55 % Concentrated Predominantly
Acid Phosphoric Acid Dispersed
Fuel Cell Power
(PAFC) Applications
Molten 620 – 660 oC 55 – 65 % Molten Power
Carbonate Carbonate Generation
Fuel Cell Melts
(MCFC) (U2CO3/Na2CO3)
Solid Oxide 800 – 1,000 oC No Data Yttrium – Power
Fuel Cell stabilized Generation
(SOFC) Zrkonofoxide
(Zro2/YN2O3)
ที่มา : Energy Plus (2547)
56 วารสารการจัดการสิ่งแวดลอม
ไฮโดรเจนสามารถใชในการผลิตพลังงานในระยะสั้น ระยะกลาง
และระยะยาวได สามารถนํ ามาใชเปน เซลลเ ชื้อเพลิง ในรถยนต โดย
ในขณะนี้ประเทศเยอรมนีซึ่งถือวาเปนประเทศที่มีเทคโนโลยีที่ทันสมัย มี
การทดลองผลิตไฮโดรเจนจากแอลกอฮอลเพื่อนํามาใชในภาคการขนสง
โดยมีสถานีเก็บไฮโดรเจนเหลวที่ทาอากาศยานมิวนิค นอกจากนี้กาซ
ไฮโดรเจนยังสามารถนําไปผลิตความรอนและผลิตกระแสไฟฟาไดใน
กระบวนการผลิตบางวิธี นอกจากพลังงานที่ไดแลวยังเกิดผลพลอยไดที่
มีมูลคาและเปนที่ตองการของตลาด (ตารางที่ 2) โดยเฉพาะการผลิต
ไฮโดรเจนจากสาหร า ยหรื อ แบคที เ รี ย ในขบวนการ Photobiological
Processes

ตารางที่ 2 ผลิตภัณฑที่ไดจากการผลิตกาซไฮโดรเจน
ผลิตภัณฑ ราคา ความตองการ
(US. ของตลาด
ดอลลาร/ (ลาน US.
กก.) ดอลลาร)
Biomass Health Food 15 – 28 180 – 200
Functional Food 25 – 52 Growing
Feed Additive 10 – 130 Fast Growing
Aquaculture 50 – 150 Fast Growing
Soil Conditioners >10 Promising
Coloring Astaxanthin >3,000 >50
Substances Phycocyanin >500 >10
Phycoerythrin >10,000 >2

ไอโดนเจนเชื้อเพลิงแหงอนาคตฯ 57
ตารางที่ 2 (ตอ)
ผลิตภัณฑ ราคา ความตองการ
(US. ของตลาด
ดอลลาร/ (ลาน US.
กก.) ดอลลาร)
Antioxidants Beta – carotene >750 >25
Superoxide >4,000 Promising
Dismutase 30 – 40 Stagnant
Tocopherol 20 – 35 12 – 20
AO – extracts
PUFA ARA No Data 20
EPA No Data >500
DHA (Omega 3) No Data 30
PUFA – extracts 30-80 10
Special Toxins No Data 1–3
Products Isotopes No Data <5
ที่มา : เกรียงศักดิ์ (2549)

ขอจํากัดและแนวทางแกไข (Restriction and Their Solutions)


ถึงแมพลังงานไฮโดรเจนจะเปนพลังงานที่มีประสิทธิภาพ แต
พบวาการผลิตยังมีตนทุนสูง เนื่องจากตองทําในระบบปด รวมไปถึงการ
เพิ่มผลผลิตของกาซที่ไดในแตละครั้ง นอกจากนี้ยังเกิดปญหาในการ
จัดเก็บ โดยเฉพาะการผลิตในเชิงพาณิชย ซึ่งตองมีภาชนะขนาดใหญ
และเพียงพอในการจัดเก็บ รวมไปถึงความปลอดภัยในการใชงาน แต
อยางไรก็ตามกระบวนการผลิตที่มีตนทุนสูงอยูในขณะนี้ สามารถชดเชย
ไดโดยการพยายามเพิ่มผลผลิตในแตละครั้ง และการเก็บเกี่ยวรายได
58 วารสารการจัดการสิ่งแวดลอม
จากผลพลอยไดในการผลิตตามตารางที่ 2 รวมไปถึงการคนหาแหลง
วัตถุดิบใหม ๆ ที่มีประสิทธิภาพในการผลิตกาซไฮโดรเจน และตองมีการ
พัฒนาเทคโนโลยีใหม ๆ ที่มีประสิทธิภาพสูงอยางตอเนื่อง (เกรียงศักดิ์,
2549; Energy Plus, 2547)

สรุป (Conclusion)
พลั ง งานไฮโดรเจนกํ า ลั ง เป น พลั ง งานคลื่ น ลู ก ใหม สํ า หรั บ
ศตวรรษที่ 21 โดยประเทศไทยในฐานะที่เ ปนประเทศที่มีการบริโภค
พลังงานและมีการนําเขาในปริมาณที่สูง โดยเฉพาะการใชในภาคการ
ขนสงที่มีสัดสวนการใชพลังงานสิ้นเปลืองมาก รวมทั้งทําใหเกิดมลพิษ
อยางมากตอสิ่งแวดลอม การลดการสิ้นเปลืองพลังงานและมลพิษจาก
ภาคขนสง นับเปนสิ่งทาทายของประเทศไทยซึ่งเปนประเทศเกษตรกรรม
ที่มีวัตถุดิบหลายชนิดที่สามารถใชเปนสารตั้งตนในการผลิตพลังงาน
ไฮโดรเจนได ไมวาจะเปนพืชที่มีสวนประกอบของน้ําตาลหรือพืชจําพวก
แป ง สาหร า ยหรื อ แบคที เ รี ย บางชนิ ด น้ํ า รวมไปถึ ง น้ํ า เสี ย แต ทั้ ง นี้
จะตองแกไขปญหาในการผลิตดังที่ไดกลาวมาแลวขางตน จึงจะทําให
ประเทศไทยสามารถพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตพลังงานไฮโดรเจนเพื่อ
อนาคตได ซึ่ ง เป น การเตรี ย มความพร อ มเพื่ อ เข า สู ยุ ค เศรษฐกิ จ
ไฮโดรเจนตอไป

ไอโดนเจนเชื้อเพลิงแหงอนาคตฯ 59
บรรณานุกรม
กระทรวงพลังงาน. 2549. (20 พฤษภาคม). รูเฟองเรือ่ งพลังงาน.
(Online). Available URL: http//www.energy.go.th/
th/knowledseDetail.asp?Id=36
กิตติศักดิ์ หยกทองวัฒนา. 2549. (4 มิถุนายน). กาซไฮโดรเจน แหลงพลังงาน
ทดแทนที่ไมมีวันสูญสิ้น. (Online). Available URL:
http//www.vcharkarn.com/include/article/showartrile.php?Aid=163
เกรียงศักดิ์ เลิศประภามงคล. 2549. (10 มิถุนายน). พลังงานสะอาด
จากเทคโนโลยีชวี ภาพ ตอนที่ 1 :เทคโนโลยีชีวภาพพลัง
แสงอาทิตย. (Online). Available URL:
http//www.thaiscience.com/ lab_vol/p14/p14%
ธวัชชัย ศุภดิษฐ. 2548. สิ่งแวดลอม นิเวศวิทยา และการจัดการ.
พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : บานพิมพการพิมพ.
พิ ส มั ย เจนวนิ ช ป ญ จกุ ล . 2548. พลั ง งานทดแทนจากชี ว มวล
(Biofuels). เอกสารประกอบการสัมมนาทางวิชาการ พลังงาน
ทดแทน....พลังงานเพื่ออนาคต. 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2548 ณ
ศูนยการแสดงสินคาอิมแพ็ค เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี.
วิกิพีเดีย. 2549. (30 พฤษภาคม). เชื้อเพลิง ชีวภาพ. (Online).
Available URL: http//th.wikipedia.org/wiki
Department of Energy. 2006. (March, 6). Hydrogen Production.
(Online). Available URL: http//
www.hydrogen.energy.gov/ production.html.
Energy Plus. 2547. ไฮโดรเจน เชื้อเพลิงแหงอนาคต. นวัตกรรมและ
เทคโนโลยี. 2 (เมษายน – มิถุนายน) : 24 – 27.
60 วารสารการจัดการสิ่งแวดลอม

You might also like