Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 5

ทบทวนสอบปลายภาค2/65

โคลนติดล้อ
ตอนนิยมความเป็นเสมียน

ที่มาของเรื่อง สื อ ร ว ม บ ท ความ
ล้ อ เป็ น ห นั ง
บทความเรื่อง โคลนติด บ า ท สมเด็จ
รา ชนิ พ น ธ์ใ น พ ร ะ
แสดงความคิด พระ ฝ ง ว่ า “อัศวพาหุ”
ว โ ด ย ใ ช้น า ม แ
พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หั า อั งก ฤ ษ เมื่ อปี
าไท ย แ ล ะ ภ าษ
พระราชนิ พนธ์เป็นภาษ ม พ์ ไ ท ย ” และต่อ
ใน “ห นั ง สื อ พิ
พ.ศ.๒๔๕๘ เพื่อลงพิมพ์
อพิ มพ์ สย าม อ อ บ เซ อ ร์เวอร์”
มา “หนั งสื

ลักษณะคำประพันธ์
เป็นบทความร้อยแก้ว แสดงคามคิดเห็นเกี่ยว
กับค่านิ ยมของคนไทยที่นิ ยมอาชีพเป็นเสมียน

น้ าที่ เกี่ ย ว กั บ ห นั ง สื อ ผู้มีการศึ กษา


ม เป็ น เส มี ย น เสมียนคือผู้ทำห
เนื้ อเรื่อง ตอนที่ ๔ ค ว าม นิ ย
ย น จึ ง ไม่ ส น ใจ ก ลั บ ไป ทำการเกษตรใน
คื อ นิ ย ม เข้ ารั บ ร าช การผู้ที่เป็น เสมี
นั้ นนิ ยมเป็นเสมี ย น
าผู้ที่ เป็ นเส มี ย น จึ ง นิ ย มใช้ชีวิตอยู่ใน
ต น ซึ่ง ก่ อ ให้ เกิ ด ป ร ะโ ยชน์ ได้มากกว่ ง เพ ร าะ ค น ที่ ได้รับ
มิลำ เน าข อง ศ ข อ ง ต น เอ
ภู
ว่ าก าร ทำ งาน อ ย่ างอื่นไม่สมเกียรติย
กรุ งเทพฯ บุคคลเหล่านี้
เห็ น
น จำ พ ว ก นี้ จึ ง ย อ ม ท น ใช้ชีวิตอยู่
ง าน ที่ ค น ไม่ รู้หนั งสื อก็ทำได้ค
การศึ กษาไม่ควรเสี ยเว
ล าไ ป ทำ
อ ก าร ต่ าง ๆ เช่ น นุ่ ง ผ้าม่วงสี ดูหนั ง
เงิ น เดื อ น ไม่ ม าก แ ต่ ก็ จับจ่ายใช้ทรัพย์เพื่ ก ว่ าก ารเป็น
ในกรุ งเทพฯ ทั้งที่ ย มเห็นว่าการเป็นเส มี ย น มีศั ก ดิ์ ศ รี สู ง
น เร ายั ง มี ค่ านิ
กินข้าว ตามร้านอาหาร
ถ้ าค
ย าก เป็ น เส มีย น เมื่ อ ก ระทรวงทบวง
ค น ก็ มั ก จ ะ ใฝ่ ทะเยอทะยานอ
ชาวนา ชาวสวน หรื อ พ่ อ ค้ า
ล เห ล่ านี้ จ ะไ ม่ ส าม าร ถไปทำงานอื่นได้
ค วาม จำเป็นออก บุค ค
มี ย น ที่ มีม าก เกิ น ผ ล ห ลายประการ
การคัดเลือกเส ยนไม่อาจไปเป็นช าว น าไ ด้ ด้ ว ย เห ตุ
ผู้ที่ เป็ น เส มี
เพราะเคยเป็นเสมีย น ม าน าน
อ ก ได้ ดั ง นั้ น จึ ง ค ง อ ยู่ ในเมือง เพื่อหา
เกี ย ร ติ ข อ ง ต น ไม่ อ าจ ไปอยู่ตามบ้านน ด้ วยคำถาม
เช่น เห็นว่าไม่ส ม ท้ าย ข อ ง บ ท ค ว าม จ บ
อ ายุ ม าก ขึ้ น โอ ก าส ยิ่ งน้ อยลง ในตอน งาน อื่น ๆ ที่
ตำ แ ห น่ งเส มี ยน ต่ อ ไป มีย น แ ล้ ว หั น ไป ทำ
อ ไม่ ที่ จ ะเ ป ลี่ ยน ค่ านิ ยมในการเป็น เส
รหรื
กระตุ้นให้คิดว่า สมคว
ป ระโ ยช น์ ได้ ดี ก ว่ าก ารเป็นเสมียน
ทำ

คุณค่าด้านวรรณศิ ลป์
๑.ใช้ถ้อยคำเรียบง่าย สื่อความตรงไปตรงมา มีการใช้ศัพท์ภาษาอังกฤษบ้างดังตัวอย่าง
“..เด็กทุก ๆ คนซึ่งเล่าเรียนสำเร็จออกมาจากโรงเรียนล้วนแต่มีความหวังฝังอยู่ว่าจะได้
มาเป็น เสมียน หรือเป็นเลขานุการ และจะได้เลื่อนยศเลื่อนตำแหน่ งขึ้นเร็ว ๆ เป็น
ลำดับไป เด็กที่ออกมาจากโรงเรียน เหล่านี้ ย่อมเห็นว่ากิจการอย่างอื่นไม่สมเกียรติยศ
นอกจากการเป็นเสมียน ข้าพเจ้าเองได้เคยพบเห็นพวกหนุ่ ม ๆ ชนิ ดนี้ หลายคนเป็นคน
ฉลาดและว่องไว และถ้าหากเขาทั้งหลายนั้ นไม่มีความกระหายจะทำงานอย่างที่พวก เขา
เรียกกันว่า "งานออฟฟิศ" มากีดขวางอยู่แล้ว เขาก็อาจจะทำประโยชน์ ได้มาก..”
ทบทวนสอบปลายภาค2/65
โคลนติดล้อ
ตอนนิยมความเป็นเสมียน

น ย้ำ แส ด งค ว าม ห นั ก แน่ นของความ


๒. การซ้ำคำ เพื่อเน้ “ไ ม่ มี ใค ร เห็ น ไม่มีใคร
คล้อ ยต าม เช่น
ทำให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์ าร ล ง เอ ย อ ย่ าง มื ด แห่งชีวิต
รอาลัย เป็ น ก
รู้จัก ไม่มีใครรัก ไม่มีใค
ที่มืดไม่มีสาระ” แล ะเ ข้ าใ จชัดเจนยิ่งขึ้น
ผู้ อ่ าน เห็ น ภ าพ
๓. การใช้โวหาร ทำให้ เป็ น การใช้โวหาร
“โ ค ล น ติ ดล้ อ ”
เช่น ชื่อเรื่องบทความ ถึ ง ปั ญ ห าแ ละอุปสรรคที่
โ ค ล น ห ม าย
ภาพพจน์ แบบอุปลักษณ์ มื อ น โค ล น ที่ ติดล้อรถ
งประเท ศ ช าติ เห
กีดขวางความเจริญ ขอ
สะดวก
ทำให้รถเคลื่อนไปได้ไม่

นอกจากนี้ ยังมีการใช้ภาพพจน์ แบบอุปมา เป็นการใช้


ความเปรียบเทียบให้ผู้อ่านเกิดความรู้สึก คล้อยตามและเห็น
ด้วย ดังตอนที่กล่าวถึงผู้นิ ยมความเป็นเสมียนว่า“..ถ้าจะเปรียบ
พืชที่เขาได้ทำให้งอก ต้องนั บว่าน้ อยกว่าผลที่เขาได้กินเข้าไป ..”

คุณค่าด้านสั งคม อ ผู้ อ่ าน ได้ อ่ าน บ ท ค ว ามแล้ว จะ


ล ะค่ านิ ย ม ข อ ง สั งคมไทยในอดีต เมื่
๑. สะท้อนภาพ ชี วิ ต แ
ได้ เป็ น อ ย่ าง ดี เช่ น ค่ านิ ยมที่ยกย่อง
ม แ ล ะค่ านิ ย ม ข อ ง ผู้ ค น ในสมัยรัชกาลที่ ๖
มองเห็นภาพสั งค เมื องห ล ว ง ไม่ ก ลั บ ไป ประกอบอาชีพใน
ราชก าร ทำ ให้ ผู้ มี ก าร ศึ กษาใช้ชีวิตอยู่ใน าก โร ง เรียนแล้ว ไม่
คน รั บ าม ศึ ก ษ าม าจ
ย่ าง “. .เข าต อ บ ว่ าเ ข าเป็นผู้ที่ได้รับคว
ภูมิลำเนาของตน ดัง ตั
ว อ
ล ะเ พ ร าะ เข าไ ม่ อ ย าก จ ะลืมวิชาที่เขา
ง าน ช นิ ด ซึ่ง ค น ที่ ไม่ รู้หนั งสื อก็ทำได้ แ
ควรจะเสี ยเวลาไปทำ อ ด อ ย าก อ ยู่ ใน ก รุ งเท พฯ ได้เงิน
ย น นั้ น ด้ ว ย เพ ร าะ เหตุนี้ เขาสู้ สมัคร
ได้เรียนรู้มาจากโร ง เรี
ลั บ ไป ป ร ะก อ บ ก าร เพื่ อเพิ่มพูนความ
น ละ ๑ ๕ บ าท ห รื อ ๒ ๐ บาท ยิ่งกว่าที่จะก น ซึ่งส่ งผล
เดือนเพียงเดือ อ ง ผู้ ที่ นิ ย ม เป็ น เส มี ย
ภู มิ ลำ เน าเ ดิ ม ข อง เข า..” ค่านิ ยมผิด ๆ ข
สมบูรณ์ แห่งประเทศใน เกิ น ฐ าน ะใ ช้ จ่ าย อ ย่ าง สุรุ่ยสุร่าย
อ ง ใช้ ความเป็นอยู่แบ บ
บ าก เพ ร าะ ต้
ให้ต้องอดทนต่อคว าม ลำ
เดื อ น ๑ ๕ บ าท นี้ พ่ อ เส มียนยังอุตส่ าห์
น้ าต าข อ ง ค น ดั งตัวอย่าง “..ในเงิน
เพื่อรักษาเกียรติ แ ล ะห
ส วม ห ม ว ก สั ก ห ล าด และในเวลาที่
รัพ ย์ ได้ ต่ าง ๆ เช่ น นุ่ ง ผ้าม่วงสี ใส่ เสื้ อ ขาว ต ย์ ละ ๒ ครั้ง
จำหน่ ายจ่ายท ง ไป ดู ห นั ง อี ก อ าทิ
ก็ ต้ อ ง ส ว ม ก าง เก ง แ พ รจีนด้วย และจะต้อ
กลับจากออฟฟิศแล้ว
เป็นอย่างน้ อย..”

๒. ทราบปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นในอดีต บทความนี้ ทำให้เราทราบว่าสมัย


รัชกาลที่ ๖ ปัญหา ที่คอยขัดขวางถ่วงความเจริญของบ้านเมืองในขณะนั้ นว่ามีอะไร
บ้าง เช่น การเชื่อถือข้อความ ทางหนั งสือพิมพ์ที่ยังไม่ได้พิจารณาข้อเท็จจริง
๓. สะท้อนข้อคิดที่สามารถนำไปใช้ในการดำเนิ นชีวิต บทความเรื่องโคลน
ติดล้อ ให้ข้อคิดแก่ คนในสังคมไทยได้เป็นอย่างดีว่า ไม่ควรลืมรากฐานของตนเอง
ไม่ดูถูกอาชีพเกษตรกรรม ไม่ควรใช้จ่าย สุรุ่ยสุร่ายเกินรายและฐานะทางเศรษฐกิจ
ของตนและที่สำคัญควรรู้จักใช้ความรู้ความสามารถสร้างประโยชน์ ให้แก่สังคม
อย่างเต็มที่ ซึ่งข้อคิดนี้ ยังไม่ล้าสมัยสามารถนำไปปรับใช้ได้เป็นอย่างดีในปัจจุบัน
ประโยค

ประโยคสามัญ

ประโยคสามัญกริยาเดียว
ครูปุ้ยนอนในห้องเรียน
ประโยคสามัญกริยาหลายวลี
ครูสิขับรถออกจากโรงเรียน ประโยครวม
สังเกตจากคำเชื่อมเสมอภาค

กับ,แต่,และ,หรือ
คำว่า "และ" ต้องเชื่อมกริยาเท่านั้น

ประโยคซ้อน
นามานุประโยค
ที่ ที่ว่า ว่า ให้ นำหน้ าประโยคย่อย
พ่อไม่ชอบให้ใครมาตอแยลูกสาว
คุณานุประโยค
ผู้ ที่ ซึ่ง อัน อยู่หลังคำนามที่ขยาย
คนที่สวยมักถูกเลือกให้เป็นดาวโรงเรียน

วิเศษณานุประโยค
เพราะ เพราะ...จึง ถ้า จน เมื่อ เพื่อ เวลาดูประโยคให้ดู
เขาพูดเร็วมากจนคนฟังตามไม่ทัน
คำที่กำหนดให้ก็พอจ้า
ทบทวนวรรณศิลป์

โวหาร
บรรยายโวหาร = เล่าเรื่องคำธรรมดา
พรรณนาโวหาร = คำละเอียด เว่อร์วัง เห็นภาพชัดเจน
เทศนาโวหาร = สั่งสอนอย่างมีเหตุผล ภาพพจน์
สาธกโวหาร = ยกตัวอย่างประกอบ
อุปมา = ดุจ ดั่ง เหมือน เฉก เช่น พ่าง เพียง ฯลฯ
อุปมาโวหาร = กล่าวเปรียบเทียบ (อุปมาอุปมัย)
อุปลักษณ์ = คือ เป็น
สัทพจน์ = เลียนเสียงธรรมชาติ
บุคลวัต/บุคลาธิษฐาน = เลียนแบบกริยามนุษย์
อติพนจ์/อธิพจน์ = กล่าวเกินจริง
อวพจน์ = กล่าวน้อยกว่าจริง
การเล่นเสียง ปฏิพากษ์ = การใช้คำที่มีความหมายตรงข้าม (เลวบริสุทธิ์)
นามนัย = ใช้คำ/วลี บอกลักษณะของสิ่งหนึ่งแทนสิ่งหนึ่ง
การเล่นเสียงพยัญชนะ = ใช้พยัญชนะต้นตัวเดียวกัน สัญลักษณ์ = ใช้สิ่งหนึ่งแทนสิ่งหนึ่ง
ตย. เขียวขาว ครวญคราง คำถามเชิงวาทศิลป์/ปฏิปุจฉา = การถามที่ไม่ต้องการคำตอบ
การเล่นเสียงสระ = ใช้สระและตัวสะกดมาตราเดียวกัน
ตย. รอต่อก่อนร่อนลงในหญ้า
การเล่นเสียงวรรณยุกต์ = การใช้คำไล่ระดับเสียง
ตย. ลวงล่วงล้วง
อื่นๆ เช่น การซ้ำคำ,การเล่นคำพ้อง ,เชิงคำถาม,คำตรงข้าม
ส่ งคำ ต อบให้
ว่าส อ บ อ ยาก 555
รู้ ด้อย่างเ ดี ยว
งกำลั งใ ห้ไ
เป็ นค รู ไ ง เลยส่
แต่
รสวรรณคดี

เสาวรจนี = ชมความงามของคน สัตว์ ธรรมชาติ สถานที่


นารีปราโมทย์ = จีบหญิง เกี้ยวพาราสี
พิโรธวาทัง = โกรธ แค้น ประชด
สัลปังคพิสัย = เศร้า คร่ำครวญ เสียใจ

You might also like