Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 2

บทที่ 3

ผลกระทบภายหลังการบังคับใช้นโยบายการจัดการซากผลิตภัณฑ์
เครื่องใช้ไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์
การใช้นโยบายการจัดการซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้ าและ
อิเล็กทรอนิกส์ Waste Electrical and Electronic Equipment
(WEEE) ได้มีการนำหลักการ Extended Producer Responsibiliy หรือ
ที่เรียกว่า หลัก EPR มาใช้ควบคู่กัน ซึ่งหลักการนีเ้ ป็ นหลักการที่ต้องการ
ให้ผู้ผลิตรับผิดชอบต่อกระบวนการต่างๆ ในการผลิตและภายหลังสินค้า
หมดอายุการใช้งาน เช่น การกำหนดให้ผผ
ู้ ลิตต้องออกค่าใช้จ่ายด้วยตัว
เอง ตัง้ แต่ขน
ั ้ ตอนของการออกแบบผลิตภัณฑ์ การผลิต การรับคืน
การนำกลับมาใช้ใหม่และการใช้ซ้ำ รวมถึงการกำจัดซากส่วนอื่นๆ ที่ไม่
สามารถนำกลับมาใช้ได้อีก ซึง่ มีตนทุนการผลิตและการกําจัดเศษขยะเห
ลือใชและเศษขยะอิเล็คทรอนิกส์ที่ค่อนข้างสูง แต่ด้วยต้นทุนการผลิตที่สูง
ทำให้ผู้ผลิตสร้างอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึน

3.1 ผลกระทบต่อผู้ผลิต/ผู้ประกอบการจากการบังคับใช้นโยบาย
(Waste from Electrical and Electronics Equipment : WEEE)
ภายใต้การใช้นโยบายการจัดการซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้ าและ
อิเล็กทรอนิกส์ (Waste from Electrical and Electronics
Equipment : WEEE) ผู้ผลิตในฐานะที่เป็ นผู้สร้างผลิตภัณฑ์ขน
ึ ้ มา ต้อง
เป็ นผู้รับผิดชอบต่อกระบวนการต่างๆ ในการผลิตและภายหลังสินค้าหมด
อายุการใช้งาน เช่น การกำหนดให้ผผ
ู้ ลิตต้องออกค่าใช้จ่ายด้วยตัวเอง
ตัง้ แต่ขน
ั ้ ตอนของการออกแบบผลิตภัณฑ์ การผลิต การรับคืน การนำ
กลับมาใช้ใหม่และการใช้ซ้ำ รวมถึงการกำจัดซากส่วนอื่นๆ ที่ไม่สามารถ
นำกลับมาใช้ได้อีก ซึ่งมีตนทุนการผลิตและการกําจัดเศษขยะเหลือใชและ
เศษขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่ค่อนข้างสูง เนื่องจากความแตกต่างทางด้าน
เทคโนโลยีในการกำจัดซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์
รวมถึงมีข้อจำกัดด้านค่าใช้จ่าย ทำให้ผผ
ู้ ลิตบางกลุ่มพยายามหาแนวทาง
เพื่อลดข้อจำกัดดังกล่าว ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของประเทศ
อื่นด้วย
3.2 ผลกระทบต่อประเทศอื่น
เนื่องจากจากการบังคับใช้นโยบายการจัดการซากผลิตภัณฑ์เครื่อง
ใช้ไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ (Waste from Electrical and Electronics
Equipment : WEEE) ทำให้หน้าที่ของผูผ
้ ลิตที่ต้องเป็ นผู้รับผิดชอบค่าใช้
จ่ายในกระบวนการต่างๆ ค่อนข้างสูง ดังนัน
้ เพื่อลดค่าใช้จ่าย ทำให้มีการ
ส่งออกขยะอิเล็กทรอนิกส์ไปยังประเทศอื่นๆอย่างประเทศที่กำลังพัฒนา
ซึ่งมีต้นทุนการกำจัดซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูก
กว่าอยู่เป็ นประจำ อย่างในประเทศไทย “ข้อมูลของกรมควบคุมมลพิษ
ในปี 2003 ประเทศไทยมีขยะอิเล็กทรอนิกส์ประมาณ 58,000 ตัน ในปี
2004 - 2005 มีการนำเข้าสินค้าอิเล็กทรอนิกส์มือสองจากญี่ปุ่น ฮ่องกง
เกาหลี และสิงคโปร์ มากถึง 265,000 ตัน”
นอกจากนี ้ “ประเทศไทยกลายเป็ นส่วนหนึ่งของปลายทางขยะ
อิเล็กทรอนิกส์จากทั่วโลก ซึ่งถูกแฝงมาในรูปของการนำเข้าสินค้า
คอมพิวเตอร์และโทรศัพท์มือถือที่ใช้แล้วจากต่างประเทศ ซึ่งมีอายุการใช้
งานสัน
้ และพร้อมจะเป็ นขยะอิเล็กทรอนิกส์ สร้างปั ญหามลพิษต่อไป ถ้า
หากใครเคยไปเดินที่พันธ์ทิพย์ จะเห็นว่ามีคอมพิวเตอร์มือสองวางขาย
เป็ นจำนวนมาก และคนก็ชอบซื้อ เพราะราคาถูกกว่า 50-70% เลยที
เดียว”

You might also like