Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 23

รายงาน 857-105 ปฏิบัติการ ิ กรรมกระบ นการพื้นฐาน

บทปฏิบตั ิการที่ 5
ระบบท่อ ่งถ่ายของเ ล

ันที่ทำการทดลอง
1 กุมภาพันธ์ 2566
รายงานโดย กลุ่มที่ 3
นาง า พรรพ า แก้ มณี ร ั นัก ึก า 6511010036
นาง า พ ิกา เชา ลิต ร ั นัก ึก า 6511010038
นาง า ภ ิ ย์พร พร มเจริญ ร ั นัก ึก า 6511010042
นาง า รัณย์พร ไชย ุขทัก ิณ ร ั นัก ึก า 6511010055
เ นอ
ผ .ดร. ิริยะ ด ง ุ รรณ
รายงานเล่มนี้เป็น ่ น นึ่งของราย ิชา 857-105 ปฏิบัติการ ิ กรรมกระบ นการพื้นฐาน
ภาคการ ึก าที่ 2 ปีการ ึก า 2565
คณะอุต า กรรมเก ตร ม า ิทยาลัย งขลานครินทร์ ิทยาเขต าดใ ญ่
บทปฏิบตั ิการที่ 5
ระบบท่อส่งถ่ายของเหลว
1. บทนำ
ในโรงงานแปรรูปอาหารเชิงพาณิชย์โรงงานใดก็ตาม การส่งถ่ายอาหารเหลวจากต่ำแหน่งหนึ่งไปยังอีก ต่ำ
แหน่งหนึ่งใน โรงงานถือเป็นความจำเป็นขั้นพื้นฐาน มีการใช้ระบบการส่งถ่ายแบบต่าง ๆ หลากหลายระบบ เพื่อส่ง
ถ่ายทั้งวัตถุดิบที่เป็น ของเหลวหรืออาหารเหลวที่ยังไม่ผ่านการแปรรูป รวมไปถึงผลิตภัณฑ์อาหารที่เป็น ของเหลว
ที่พร้อมจะเข้าสู่กระบวนการ บรรจุเพื่อส่งออกจำหน่าย ประเภทของอาหารเหลวในกระบวนการผลิต มีหลากหลาย
และมีคุณสมบัติทางการไหลที่ แตกต่างกันมากตั้งแต่น้ำนมไปจนถึงมะเขือเทศข้น นอกจากจะ คำนึงถึงอัตราการ
ไหลที่เหมาะสม, ชนิดและขนาดของปั๊ม ที่เหมาะสม และชนิดและขนาดของท่อ ข้ อต่อต่าง ๆ และวาล์วต่าง ๆ ที่
เหมาะสมแล้ว การออกแบบระบบส่งถ่ายของเหลว ในกระบวนการผลิตอาหารจะคำนึงถึง ความสะอาด ความมี
สุ ข อนามั ย เป็ น หลั ก ด้ ว ย นอกจากนี ้ ยั ง จะต้ อ งออกแบบระบบ ให้ ม ี ก ารล้ า งทำความสะอาด ได้ ง ่ า ยและ
มีประสิทธิภาพ
ของเหลวที่ไหลในท่อถูกนำมาประยุกต์ใช้ในกระบวนการท่าความร้อน (heating) การทำความเย็น
(cooling) รวมทั้งการ ส่งถ่าย (distribution) ของเหลวไปยังจุดต่าง ๆ โดยใช้ปั๊มเป็นตัวผลักให้ของเหลว เคลื่อนที่
ไปในท่อ โดยปกติแล้วแรง เสียดทานระหว่างของเหลวกับผนังท่อทำให้ของเหลวในท่อที่ภาคตัดขวาง เดียวกันมี
ความเร็วไม่เท่ากัน โดยของเหลวที่อยู่ ใกล้ผิวท่อจะมีความเร็วน้อยกว่าของเหลวที่อยู่กลางท่อ ของเหลวที่อยู่ติดผิว
ท่อจะมีความเร็วเป็นศูนย์ ขณะที่บริเวณกลาง ท่อ (กรณีท่อสมมาตรในแนวรัศมี) จะมี ความเร็วสูงสุด ในการ
คำนวณจะใช้ค่าความเร็วเฉลี่ย ในที่นี้ถ้ากล่าวถึงความเร็ว ของของเหลวในท่อจะหมายถึง ความเร็วเฉลี่ยเท่านั้น
องค์ประกอบหลักของระบบส่งถ่ายอาหารเหลวประกอบด้วย ถังบรรจุของเหลว, ท่อตรง ปกติมีขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลาง ตั้งแต่ 2 ถึง 10 เซนติเมตร, ปั๊ม, วาล์วสำหรับควบคุมอัตราการไหล และข้อต่อต่าง ๆ เช่น ข้อ
โค้ง ข้องอ ข้อต่อตรง ข้อต่อ สามทาง เพื่อบังคับทิศทางการไหล ของเหลวในอุตสาหกรรมอาหารถูกส่งถ่ายผ่าน ท่อ
กลม (pipes) หรือท่อไม่กลม (ducts) เป็นส่วนใหญ่ ส่วนการไหลในช่องเปิดเช่น ราง อาจมีบ้างแต่มักจะ หลีกเลี่ยง
ด้วยเหตุผลด้านความสะอาด ระบบ ท่อส่วนใหญ่ท่าด้วยโลหะสแตนเลส เพราะมีผิวเรียบ ท่าความ สะอาดง่าย และ
ทนต่อการกัดกร่อน หากการไหลของของเหลวในระบบส่งถ่ายไม่ได้เกิดจากแรงโน้มถ่วง ระบบดังกล่าวจะต้องมีปั๊ม
นั่นคือ เราจะต้องใส่ พลังงานเข้าไปเพื่อขับปั๊มให้ท่างานผลักดันของเหลวให้ไหลไปตามท่อ ปั๊มมีหลากหลาย
ประเภท และสามารถแบ่งปั๊มเป็น สองกลุ่มใหญ่ คือ
(1) ปั๊มที่อาศัยแรงผลักดัน (positive displacement pumps) ปั๊มชนิดนีอาศัยแรงไปกระทำ (ผลักดัน)
ต่อของเหลว โดยตรง ทำให้เกิดความดันที่ทำให้ของเหลวเคลื่อนที่ไป การเคลื่อนที่ของของเหลวจะ เร็วหรือช้าและ
จะมากหรือน้อยมี ความเกี่ยวพันโดยตรงกับความเร็วของชิ้นส่วนผลักดันภายในปั๊ม ปั๊มประเภท นี้มีสองแบบคือ (i)
แบบโรตารี เช่น ปั๊มแบบ เฟืองหรือเกียร์ปั๊ม (gear pump), ปั๊มแบบใบพัดเวนหรือเวนปั๊ม (vane pump) และ
โหลบปั๊ม (lobe pump), และ (ii) แบบลูกสูบ
(2) ปั๊มที่อาศัยแรงเหวี่ยง (centrifugal pumps) ปั๊มชนิดนี้ อาศัยแรงเหวี่ยงในการเพิ่มความดัน ให้
ของเหลวโดยตัวใบพัด ถูกครอบไว้ ของเหลวจะไหลเข้าสู่ตัวปั๊มตรงตำแหน่งศูนย์กลางใบพัดที่กำลังหมุน จากนั้นจะ
ถูกใบพัดเหวี่ยงออกไปในแนว รัศมี ทำให้มีความดันสูงขึ้นและไหลออกตรงช่องทางออกเพื่อเข้าสู่ ระบบท่อต่อไป
2. ทฤษฎี
2.1 สมการความต่อเนื่อง (continuity equation)
เรามักใช้หลักการอนุรักษ์มวลสารมาแก้ปัญหาด้านการไหล สมการความต่อเนื่อง (Continuity
Equation) กล่าวว่ามวล ของของไหลในท่อจะไหลด้วยความต่อเนื่องกันไปไม่มีขาดตอน อัตราการไหลเชิงมวล จะ
คงที่ทุกหน้าตัดของท่อ
ρ1 A1 u̅1 = ρ2 A2 u̅2 (1)

หรือ
ṁ 1 = ṁ2 (2)

โดยที่ 𝑚̇ = 𝜌𝐴𝑢̅ คืออัตราการไหลเชิงมวล (mass flow rate) มีหน่วยเป็น kg/s, 𝜌 คือความหนาแน่น


ของ ของไหล มีหน่วยเป็น kg/m3 , A คือพื้นที่หน้าตัดภายในของท่อ มีหน่วยเป็น m2 และ 𝑢̅ คือความเร็วเฉลี่ย
ของ ของไหล ณ ต่ำแหน่งหน้าตัดท่อที่พิจารณา มีหน่วยเป็น m/s ถ้าเป็นของไหลที่อัดตัวไม่ได้ (incompressible
fluids) เช่น ของเหลว จะมีความหนาแน่นคงที่ สมการที่ (1) จะเหลือ
A1 u̅1 = A2 u̅2 (3)

หรือ
V1̇ = V2̇ = Au̅ (4)

เมื่อ V̇ = Au̅ คืออัตราการไหลเชิงปริมาตร (volumetric flow rate) สมการที่ (3) หรือ (4) เป็นสมการ
ความต่อเนื่องในกรณีที่ของไหลมีความหนาแน่นคงที่ อัตราการไหล เชิงปริมาตรจะคงที่ทุกหน้าตัดของท่อ
2.2 เรย์โนลด์นัมเบอร์(Reynolds number)
เราสามารถท่าการทดลองอย่างง่าย ๆ เพื่อสังเกตลักษณะการไหลของของเหลวโดยค่อย ๆ ฉีดสีลงใน
ของเหลวที่ก่าลังไหลอยู่ในท่อ พบว่าที่อัตราการไหลต่่า ๆ สีที่ฉีดอย่างต่อเนื่องจะเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงใน แนวแกน
ท่อ เรียกการไหลลักษณะนี้ว่าการไหลแบบราบเรียบ (laminar flow) จากนั้นเมื่อของเหลวมีอัตรา การไหลในท่อ
เพิ่มขึ้นถึงระดับกลาง ๆ เส้นสีที่ระยะห่างออกไปจากหัวฉีดสีจะเริ่มบิดเบี้ยว ไม่เป็นเส้นตรง นั่น แสดงว่าเส้นสีมีการ
เคลื่อนที่ในแนวรัศมีท่อด้วย เรียกการไหลลักษณะนี้ว่าการไหลแบบทรานสิชัน (transitional flow) และที่อัตรา
การไหลสูง ๆ เส้นสีเริ่มบิดเบี้ยวชัดเจนในแนวรัศมีและแนวแกนท่อตั้งแต่เริ่ม ออกจากหัวฉีดสี เรียกการไหล
ลักษณะนี้ว่าการไหลแบบปั่นป่วน (turbulent flow) การไหลแบบราบเรียบ (laminar flow) ได้รับอิทธิพลจาก
สมบัติของของไหล อัตราการไหล และ รูปทรงของพื้นผิวสัมผัสระหว่างของไหลกับของแข็ง เมื่ออัตราการไหลเชิง
มวลเพิ่มขึ้น ของไหลจะมีโมเมนตัม หรือแรงเฉื่อยเพิ่มขึ้น แต่แรงดังกล่าวจะถูกต้านทานโดยแรงเสียดทานหรือแรง
เนื่องจากความหนืดภายในเนื้อ ของไหลที่ก่าลังไหล เมื่อแรงนี้ถึงจุดสมดุลจะท่ าให้รูปแบบการไหลเปลี่ยนแปลงไป
จากการทดลองของเรย์ โนลย์ (Osborne Reynolds (1842-1912)) พบว่าแรงเฉื่อยเป็นฟังก์ชันของความหนาแน่น
𝜌 ของของไหล, เส้นผ่าศูนย์กลางท่อ D ของท่อ, และความเร็วเฉลี่ย u̅ ของการไหลในท่อ ในขณะที่แรงเสียดทาน

หรือแรงหนืด เป็นฟังก์ชันของความหนืด เรียกอัตราส่วนระหว่างแรงเฉื่อยและแรงหนืดว่าเรย์โนลด์นัมเบอร์


(Reynolds number) ใช้สัญลักษณ์ NRe (ต่าราบางเล่มใช้สัญลักษณ์ Re)
แรงเฉื่อย
NRe = แรงหนืด (5)

หรือ
̅D
ρu
NRe = (6)
μ

เรย์โนลด์นัมเบอร์ใช้อธิบายการไหลของของไหลได้ทั้งการไหลในท่อและการไหลบนพื้นผิวของวัตถุ รูปร่าง
ต่าง ๆ เราจะใช้ตัวเลขนี้ระบุสภาวะการไหลว่าเป็นแบบใด จากสมการที่ (5) ถ้าแรงหนืดมีค่ามากคือมี อิทธิพลมาก
ต่อการกระจายพลังงาน ค่าเรย์โนลด์นัมเบอร์จะน้อย (ตัวหารมีค่ามาก) นั่นคืออยู่ในช่วงการไหล แบบราบเรียบ
(NRe ≤ 2100) อิทธิพลของแรงหนืดจะลดลงเมื่อการไหลเป็นแบบทรานสิชัน (2100 < NRe < 4000) และเมื่อ

แรงหนืดมีผลน้อยมากต่อการกระจายพลังงาน การไหลจะเป็นแบบปั่นป่วน (NRe ≥ 4000


2.3 แรงเสียดทานของการไหลในระบบท่อ
2.3.1 แรงเสียดทานหลัก แรงหนืด แรงเสียดทานหลักหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าการสูญเสียหลักในระบบท่ อ
(major losses in pipe system) จะพิจารณาเฉพาะเมื่อของเหลวไหลในท่อ แรงที่จะผลักดันของเหลวให้ไหลไป
ตามท่อได้นั้นนอกจาก จะต้องเอาชนะแรงเนื่องจากความหนืดในเนื้อของเหลวแล้วจะต้องเอาชนะแรงเสียดทาน
ระหว่างของเหลวและ ผนังท่อด้วย แรงเสียดทานดังกล่าวแปรผันตามอัตราการไหลซึ่งอธิบายด้วยค่าเรย์โนลด์นัม
เบอร์ (สมการที่ (6)) และความขรุขระของผนัง (surface roughness) ผลของแรงเนื่องจากความเสียดทานแสดงใน
รูปของแฟก เตอร์ความเสียดทาน (friction factor, 𝑓 )

แฟกเตอร์ความเสียดทาน คืออัตราส่วนระหว่างความเค้นเฉือนที่ผนัง ( w ) กับพลังงานจลน์ของของ


ไหลต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร

𝑓 = ρu̅2w/2 (7)

โดยค่าความเค้นเฉือนที่ผนัง (r = D/2) เขียนได้ดังนี้


D∆P
w= (8)
4L

แทนสมการที่ (8) ลงในสมการที่ (7) จะได้


∆PD
𝑓= ̅̅̅̅
̅2
(9)
2Lρu

เรีย กแฟกเตอร์ ความเสี ย ดทาน f ในสมการที่ (9) ว่า Fanning friction factor ส่าหรับ ในต่าราด้ า น
วิศวกรรม เคมีจะนิยมใช้ Fanning friction factor รวมถึงในเอกสารนี้ด้วย อย่างไรก็ตามในต่าราด้านวิศวกรรม
โยธา และวิศวกรรมเครื่องกลจะอ้างถึงแฟกเตอร์ความเสียดทานที่ต่างออกไปเรียกว่า แฟกเตอร์ความเสียดทาน
ของ ดาร์ซี่ (Darcy friction factor) ใช้สัญลักษณ์เดียวกันคือ f โดยที่ Darcy friction factor มีค่าเป็นสี่เท่าของ
Fanning friction factor สมการที่ (9) ใช้หาแฟกตอร์ความเสียดทานส่าหรับการไหลทุกรูปแบบในท่อถ้าหาก
ทราบความดันตก ΔP ของ การไหลเป็นระยะทาง L ในท่อเส้นผ่าศูนย์กลางภายใน D แต่ถ้าหากเขียนความดันตก
ΔP ในรูปของความสูง สูญเสีย (head loss) หรือ Δh สมการที่ (9) จะเขียนได้เป็น
gD∆h
𝑓= ̅2
2Lu
(10)

ในการไหลแบบราบเรียบ (laminar flow) พัฒนาเต็มรูปในท่อ เขียนค่าความความดันตก ΔP ได้ดังนี้


̅L
32μu
∆𝑃 = (11)
D2
เมือ่ แทนสมการที่ (11) ลงในสมการที่ (9) จะได้
𝑓=N
16
Re
(laminar flow) (12)

ในกรณีการไหลแบบทรานสิชันและแบบปั่นป่วน สมการทางคณิตศาสตร์มีความซับซ้อน ในที่นี้จึงนิยม ใช้


แผนผังที่แสดงแฟกเตอร์ความเสียดทานเป็นฟังก์ชันของเรย์โนลด์นัมเบอร์ที่ไหลในท่อที่มีความขรุขระของ ผนังด้าน
ในค่าต่าง ๆ กัน เรียกแผนผังนี้ว่า “Moody chart” หรือ “Moody diagram” ดังแสดงในรูปที่ 1 ซึ่งรวมเอา
ลักษณะการไหลทั้งสามแบบ (ราบเรียบ, ทรานสิชัน, ปั่นป่วน) ไว้ในแผนผังเดียว จะเห็นว่าที่ค่าเรย์ โนลด์นัมเบอร์
ต่่ามาก ๆ (NRe ≪ 2100) เส้นกราฟจะเป็นไปตามสมการที่ (12) ซึ่งไม่ได้รับผลกระทบจากความ ขรุขระของผนัง
ด้านในของท่อ (surface roughness, ε) ส่าหรับในช่วงที่การไหลก่าลังเปลี่ยนจากแบบ ราบเรียบไปเป็นแบบ
ปั่น ป่ว น (เรีย กว่าช่ว ง transition หรือ critical region) เส้น กราฟจะมีห ลายเส้น ให้เลือก ตั้งแต่ท่อผิว เรี ย บ
จนกระทั่งผิวขรุขระระดับต่าง ๆ ความแม่นย่าของ Moody chart อยู่ที่ ±15%
Moody chart แสดงให้เห็นว่าแฟกเตอร์ความเสียดทานไม่มีค่าเป็นศูนย์แม้ว่าจะเป็นท่อผิวเรียบ ทั้งนี้
เพราะยังมีความขรุขระอยู่ในระดับจุลภาค (microscopic level) ของไหลยังยึดติดกับผนังท่อไม่ว่าท่อจะมีผิว
เรียบขนาดไหนก็ตาม จึงยังมีการสูญเสียเนื่องจากความเสียดทานเสมอขณะของไหลไหลในท่อ
สมการที่ใช้ประมาณค่าแฟกเตอร์ความเสียดทาน (Fanning friction factor) ส่าหรับการไหลทุก รูปแบบ
เมื่อทราบค่ าเรย์โ นลด์นัมเบอร์ ค่าเส้น ผ่าศูนย์กลางภายในของท่อ และค่าความขรุขระที่ผิวด้านในของ ท่อ
เขียนได้ดังนี้
1 6.9 𝜀/𝐷
= −3.6 log [𝑁 + 3.7
) (13)
√𝑓 𝑅𝑒
ค่าความขรุขระของผิวท่อ (ɛ) จะขึ้นกับชนิดของวัสดุที่ใช้ท่าท่อ ค่าความขรุขระของผิววัสดุบางชนิด
แสดงไว้ท้ายค่าบรรยายรูปที่ 1

รูปที่ 1 Moody diagram ส่าหรับการอ่านค่า Fanning friction factor (ค่าความขรุขระของผนังด้านใน


ท่อ (ε) ของท่อใหม่ในหน่วยเมตร (m): ท่อเหล็กหล่อ, 259x10-6 ; ท่อทองแดง ทองเหลือง, 1.5235x10-6 ; ท่อ
เหล็กกัล วาไนซ์ , 152x10-6 ; ท่อเหล็กกล้า , 45.7x10-6 ; ท่อสเตนเลส, 2x10-6 ; ท่อแก้ว ท่อพลาสติก , 0 ; ท่อ
คอนกรีต, 900 x10-6 - 9000 x10-6 ; ท่อท่าจากไม้, 500 x10-6 )
2.3.2 แรงเสียดทานรอง แรงเสียดทานรองหรือการสูญเสียรอง (minor losses in pipe) เกิดจากรอยต่อที่ทางเข้า
หรือ ทางออกของท่อ ขนาดท่อที่โตขึ้นหรือเล็กลงอย่างทันทีทันใด ข้อต่อต่าง ๆ เช่น ข้อต่อลดขนาดท่อ ข้อโค้ง ข้อ
งอ สามทาง เป็นต้น วาล์วประเภทต่าง ๆ ที่เปิดบางส่วนหรือเปิดเต็มที่ ของเหลวที่ไหลผ่านอุปกรณ์หรือ ชิ้นส่วน
เหล่านี้จะมีความดันลดลง หรือเกิดความดันตก (pressure drop) เพราะเกิดแรงเสียดทานในอุปกรณ์ ดังกล่าว
(1) ความดันตกเนื่องจากการบีบตัว
เมื่อของเหลวไหลผ่านท่อที่ลดขนาดทัน ทีทัน ใด หรือไหลจากถังเข้าสู่ท่อที่เชื่อมต่อกันโดย ต่าแหน่ง
เชื่อมต่ออยู่ต่ากว่าระดับผิวของเหลวในถัง มันจะเกิดการบีบตัว (contraction) ในการไหล ท่าให้ พลังงานสูญเสีย
ไป ถ้าให้ 𝑢̅ เป็นความเร็วเฉลี่ย จะเกิดความดันตก ดังนี้
̅2
ρu
∆P = Cfc 2
(14)
โดยที่ Cfc คือสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานจากการบีบตัว
Cfc= 0.4[1.25 − A2 ]
A
เมื่อ A2/A1 < 0.715 (15)
1

A
Cfc = 0.75[1 − A2 เมื่อ A2/A1 > 0.715 (16)
1

A1 คือพื้นที่หน้าตัดการไหลขาเข้า และ A2 คือพื้นที่หน้าตัดการไหลขาออก ในกรณีที่ท่อต่อกับถังเก็บขนาดใหญ่ซึ่ง


A1 >> A2 ให้ถือว่า A2/A1 = 0 นั่นคือจะได้ Cfc = 0.5
(2) ความดันตกเนื่องจากการขยายตัว
เมื่อของไหลไหลผ่านท่อที่เพิ่มขนาดทันทีทันใด หรือไหลจากท่อเข้าสู่ถังที่เชื่อมต่อกันโดย ต่าแหน่ง
เชื่อมต่ออยู่ต่ากว่าระดับผิวของเหลวในถัง จะเกิดความดันตก ดังนี้
̅2
ρu
∆P = Cfe 2
(17)

โดยที่ Cfe คือ สัมประสิทธิ์แรงเสียดทานจากการขยายตัว


Cfe= (1 − A1 /A2 )2 (18)

ในกรณีไหลจากท่อเข้าสู่ถังเก็บที่มีขนาดใหญ่ จะได้ A1/A2 = 0 นั่นคือจะได้ Cfe = 1

(3) ความดันตกเนื่องจากการไหลผ่านข้อต่อและวาล์ว
วาล์วและข้อต่อต่าง ๆ เรียกรวม ๆ ว่า fittings สิ่งเหล่านี้ตา้ นทานการไหล นั่นคือมีแรงเสียด ทานเกิดขึ้น
เมื่อของเหลวไหลผ่าน เกิดความดันตกดังนี้
̅2
ρu
∆P = Cff 2
(19)

ค่า Cff หรือสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานของวาล์วและข้อต่อ แสดงในตารางที่ 1


ตารางที่ 1 ค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานของวาล์วและข้อต่อต่าง ๆ

(4) ความดันตกเนื่องจากการไหลผ่านอุปกรณ์อื่น ๆ ในระบบท่อ


สำหรับอุปกรณ์อย่างอื่นที่ติดตั้งในระบบท่อ เช่น เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน ผู้ผลิตจะต้อง ให้ค่าความดัน
ตกมาด้วย ถ้าไม่มีจะต้องวัดค่านี้เอง
2.4 กำลังงานที่ใช้ขับปั๊ม
จากที่กล่าวมาของเหลวจะสามารถไหลในระบบท่อได้ต้องเอาชนะแรงเสียดทานหลักและแรงเสียด ทาน
รองทั้งหมดให้ได้ ดังนั้นของเหลวต้องรับพลังงานมาจากปั๊มด้วยพลังงานขั้นต่่าสุดที่ท่าให้เกิดการไหลพอดี
“พลังงานที่ของเหลวรับมาจากปั๊ม” (Ep) เพื่อให้เกิดการไหลหาได้จาก
+ 2(u̅22-u̅12) + g(z1-z1) + Ef ,major + Ef, minor
P2 −P1 1
EP = ρ
(20)

หรือ
̅2 L ̅2 ̅2 ̅2
+ 2 (u̅22-u̅12) + g(z2-z1) +
P2 −P1 1 2fu u u u
E P= ρ D
+ Cfc 2 + Cfe 2 + Cff 2 (21)
หรือหารสมการ (2.95) ด้วยความเร่ง g เราจะได้พลังงานจากปั๊มในรูปของความสูง (head) ดังนี้

EP ในสมการ (21) มีหน่วยเป็นพลังงานต่อหนึ่งหน่วยมวล เช่น J/kg เป็นต้น ถ้าเราน่าอัตราการไหลของของ ไหล


ไปคูณเราจะได้ก าลังงาน (power) จากปั๊มที่ของไหลรับไป มีหน่วยเป็นวัตต์ (W)
Power = ṁ(Ep) (23)

ซึ่งพิสูจน์หน่วยดังนี้ Power = ṁ(EP)≡


kg J

s kg
J
≡ ≡W
s

การคำนวณขนาดปั้มหรือกำลังที่ใช้ขับปั๊มจำเป็นต้องทราบประสิทธิภาพเชิงกลของปั๊มมาคำนวณ
ร่วมกับค่ากำลังที่ได้จากสมการที่ (23) จึงสามารถระบุขนาดที่แท้จริงของปั๊มได้
2.4 การเลือกปั๊ม
การเลือกปั๊มให้เหมาะกับระบบส่งของเหลวจะต้องทราบ 2 อย่างคือ ข้อมูลเกี่ยวกับปั๊มและข้อมูล
เกี่ยวกับระบบท่อส่ง ระบบท่อส่งที่เราออกแบบไว้สามารถรองรับอัตราการไหลได้หลายค่า ซึ่งสามารถหา เส้นกราฟ
ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการไหลของของเหลวในระบบท่อกับพลังงานที่ต้องใช้ ที่พอดีกับอัตราการ ไหลนั้น ๆ ได้
โดยใช้สมการที่ (22) สร้างความสัมพันธ์ดังกล่าว ซึ่งเส้นกราฟความสัมพันธ์ที่ได้เมื่อนำมาเทียบ กับกราฟของปั๊มแต่
ละตัวที่ผู้ผลิตทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการไหลของของเหลวและพลังงานที่ใช้ขับ ดันของเหลวรวมทั้ง
ประสิทธิภาพเชิงกลของปั๊มตัวนั้น ก็จะทราบอัตราการไหลและพลังงานที่เหมาะสมเมื่อนำ ปั๊มตัวนั้นมาใช้งานกับ
ระบบท่อของเรา
3. วัสดุอุปกรณ์
3.1 ชุดระบบท่อส่งน้่า ดังแสดงเป็นแผนผังในรูปที่ 2
3.2 ดิจิตอลเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์
3.3 ตลับเมตร
3.4 เทอร์โมมิเตอร์ส่าหรับวัดอุณหภูมิน้ำ
3.5 สายยางส่าหรับท่ามานอมิเตอร์

4. การทดลองและการวิเคราะห์ข้อมูล (ดูผังอุปกรณ์ในรูปที่ 2)
4.1 การศึกษาค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานเมื่อน้่าไหลผ่านท่อ ข้อต่อ ข้องอ และวาล์ว

รู ปที่ 2 แผนผังอุปกรณ์การทดลองระบบท่อส่งน้ า
วิธีการทดลอง
ผลการทดลอง
ตารางบันทึกผลการทดลอง
ตารางที่ 1 บันทึกข้อมูลของระบบท่อที่มีขนาด 1 , ¾ , ½ นิ้ว
ขนาด ความถี่ 𝑣̇ 𝑣̇ P1 P2 P1 P2 L ρ 𝑢̅ f Re 𝛥𝑃
ท่อ ไฟฟ้า (L/min) (m3/s) (kg/cm ) (kg/cm2)
2 (N/m2) (N/m2) (m) (kg/m3) (m/s) 𝜌
(J/kg)
(Hz)
1 นิ้ว 50.0 18.63 0.00031 0.41 0.39 41,000 39,000 1.84 995.7 0.5414 0.0503 18,368.71 2.0086
42.6 14.9 0.00025 0.26 0.24 26,000 24,000 1.84 995.7 0.4366 0.0773 14,813.04 2.0086
34.4 11.93 0.00020 0.12 0.08 12,000 8,000 1.84 995.7 0.3493 0.2415 11,851.11 4.0172
¾ นิ้ว 50.0 15.93 0.00027 0.42 0.32 42,000 32,000 1.84 995.7 0.7795 0.0943 20,569.89 10.0432
46.6 15.4 0.00026 0.34 0.26 34,000 26,000 1.84 995.7 0.7507 0.0813 19,809.90 8.034
42.4 14.86 0.00025 0.26 0.18 26,000 18,000 1.84 995.7 0.7218 0.0880 19,047.27 8.034
½ นิ้ว 50.0 15.97 0.00027 0.46 0.22 46,000 22,000 1.84 995.7 1.3428 0.0581 26,997.77 24.1036
45.8 13.73 0.00023 0.36 0.16 36,000 16,000 1.84 995.7 1.1439 0.0667 22,998.77 20.1036
41.6 12.17 0.00020 0.28 0.12 28,000 12,000 1.84 995.7 0.9947 0.0706 1,999.02 16.0691

ตารางที่ 2 บันทึกข้อมูลของระบบวาล์ว

ขนาด ความถี่ 𝑣̇ 𝑣̇ P1 P2 P1 P2 L ρ Cff Re 𝛥𝑃


ท่อ ไฟฟ้า (L/min) (m /s) (kg/cm ) (kg/cm2)
3 2 (N/m2) (N/m2) (m) (kg/m3) 𝜌
(J/kg)
(Hz)
Globe 50.0 7.6 0.00031 0.82 0.12 82,000 12,000 995.7 0.6466 336.301 13,000.27 70.30
valve
45.8 7.43 0.00012 0.7 0.08 70,000 8,000 995.7 0.5968 416.0636 13,000.27 62.27
42.3 6.67 0.00011 0.56 0.02 56,000 2,000 995.7 0.5471 362.378 10,999.76 54.23
Gate 50.0 15.87 0.00026 0.5 0.37 50,000 37,000 995.7 1.2931 37.8397 25,998.53 13.06
valve
44.0 11.17 0.00019 0.38 0.26 38,000 26,000 995.7 0.9449 56.2431 18,997.76 12.05
40.9 9.93 0.00017 0.32 0.18 32,000 18,000 995.7 0.8455 64.6252 16,999.37 14.06
Ball 50.0 11.23 0.00019 0.52 0.4 52,000 40,000 995.7 0.9449 26.9967 18,997.76 12.5
valve
45.6 10.17 0.00017 0.42 0.31 42,000 31,000 995.7 0.8455 30.9072 16,999.27 11.05
40.5 9.67 0.00016 0.32 0.24 32,000 24,000 995.7 0.7957 25.3800 15,998.01 8.03
ตารางที่ 3 บันทึกข้อมูลของระบบท่องอ

ท่องอ ความถี่ 𝑣̇ 𝑣̇ P1 P2 P1 P2 ρ 𝑢̅ Cff Re 𝛥𝑃


ไฟฟ้า (L/min) (m3/s) (kg/cm2) (kg/cm2) (N/m2) (N/m2) (kg/m3) (m/s) 𝜌
(J/kg)
(Hz)
ท่องอ 50.0 18.63 0.00031 0.42 0.4 42,000 40,000 995.7 0.5414 13.7055 18,368.71 2.0086
ตั้งฉาก 42.6 14.9 0.00025 0.28 0.26 28,000 26,000 995.7 0.4366 21.0748 14813.04 2.0086
90º 34.4 11.93 0.00020 0.14 0.12 14,000 12,000 995.7 0.3493 32.9256 14,813.04 2.0086
ท่องอ 50.0 18.63 0.00031 0.53 0.3 53,000 30,000 995.7 0.5414 157.6133 18368.71 23.099
โค้ง 3
90º 42.6 14.9 0.00025 0.4 0.12 40,000 12,000 995.7 0.4366 295.0476 14,813.04 28.132
49
34.4 11.93 0.00020 0.26 0 26,000 0 995.7 0.3491 428.5239 11,844.32 2.6112

Moody diagram ของท่อทั้ง 3 ขนาด


กราฟแสดงค่า NRe และค่า ∆P ของท่อ 1 นิ้ว, ท่อ 3/4 นิ้ว, ท่อ 1/2 นิ้ว, ท่องอตั้งฉาก 90˚,
ท่องอโค้ง 90˚, Globe vale, Gate vale และ Ball value

กราฟแสดงค่า NRe และค่า Cff ของท่องอตั้งฉาก 90˚, ท่องอโค้ง90˚, Globe vale, Gate vale และ
Ball value
สรุปผลการทดลอง
จากการทดลองสามารถสรุปผลได้ว่า ของเหลวเมื่อไหลผ่านท่อ ข้อต่อ ข้องอ และวาล์วชนิดต่างๆ จะเกิด
การสูญเสียพลังงาน จากแรงเสียดทานหลักหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าการสูญเสียหลักในระบบท่อ (major losses
in pipe system) จะพิจารณาเฉพาะเมื่อของเหลวเกิดการไหลในท่อ แรงที่จะผลักดันของเหลวให้ไหลไปตามท่อได้
นั้นนอกจาก จะต้องเอาชนะแรงเนื่องจากความหนืดในเนื้อของเหลวแล้วจะต้องเอาชนะแรงเสียดทานระหว่าง
ของเหลวและ ผนังท่อด้วยแรงเสียดทานดังกล่าวแปรผันตามอัตราการไหลซึ่งอธิบายด้วยค่า Re โดยท่อที่มีค่า Re
มาก จะทำให้มีค่า f น้อย
ในกระบวนการผลิตอาหารในขั้นตอนของการออกแบบระบบส่งถ่ายของเหลวจะต้องคำนึงถึงอัตราการ
ไหล,ชนิดและขนาดของปั๊ม รวมถึงสุขอนามัย และความสะอาด และควรจะมีการออกแบบให้สามารถทำความ
สะอาดได้ง่ายเพื่อให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
อภิปรายผลการทดลอง
จากการทดลองระบบท่อส่งถ่ายของเหลว สามารถบันทึกข้อมูลเบื้องต้น ได้ดังนี้ น้ำมีอุณหภูมิ 30 องศา
เซลเซียส สามารถอ่านค่า ความหนืดได้ 792.377x10-6 ความหนาแน่นของน้ำ เท่ากับ 995.7 kg/m3 ขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลางภายในของท่อ 1 นิ้ว 3/4นิ้ว และ1/2 นิ้ว เท่ากับ 0.021 เมตร, 0.021 เมตร และ0.016 เมตร
ตามลำดับ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางภายในของข้องอตั้งฉาก 90 องศา และ ข้องอโค้ง 90 องศา เท่ากับ 0.027 เมตร
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางภายในของ globe valve, gate valve และ ball valve คือ 0.016 เมตร และ ความยาว
L ของท่อ 1 นิ้ว, 3/4 นิ้ว และ 1/2 นิ้ว คือ 1.84 เมตร
จากการศึกษาค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานเมื่อน้ำไหลผ่านท่อ ในการหาแฟกเตอร์ความเสียดทาน (f) ของ
ท่อ 1 นิ้ว, 3/4 นิ้ว และ 1/2 นิ้ว สามารถสรุปได้ว่า ท่อ ขนาด 1 นิ้ว อัตราการไหลของน้ำ เท่ากับ 0.00031 m3/s
ค่าความดันน้ำไหลเข้าท่อ เท่ากับ 41,000 N/m2 และค่าความดันไหลออกจากท่อ 39,000 N/m2 ความเร็วเฉลี่ย
เท่ากับ 0.5414 m/s ค่าเรย์โนลด์นัมเบอร์ เท่ากับ 16,368.71 โดยสามารถคำนวณหาค่าแฟกเตอร์ความเสียดทาน
ได้ เท่ากับ 0.0503 และมีความดันที่สูญเสียไป เท่ากับ 2.0086 J/kg อัตราการไหลของน้ำ เท่ากับ 0.00025 m3/s
ค่าความดันน้ำไหลเข้าท่อ เท่ากับ 26,000 N/m2 และค่าความดันไหลออกจากท่อ 24,000 N/m2 ความเร็วเฉลี่ย
เท่ากับ 0.4366 m/s ค่าเรย์โนลด์นัมเบอร์ เท่ากับ 14813.04 โดยสามารถคำนวณหาค่าแฟกเตอร์ความเสียดทาน
ได้ เท่ากับ 0.0773 และมีความดันที่สูญเสียไป เท่ากับ 2.0086 J/kg อัตราการไหลของน้ำ เท่ากับ 0.00020 m3/s
ค่าความดันน้ำไหลเข้าท่อ เท่ากับ 12,000 N/m2 และค่าความดันไหลออกจากท่อ 8,000 N/m2 ความเร็วเฉลี่ย
เท่ากับ 0.3493 m/s ค่าเรย์โนลด์นัมเบอร์ เท่ากับ 11,851.11 โดยสามารถคำนวณหาค่าแฟกเตอร์ความเสียดทาน
ได้ เท่ากับ 0.2415 และมีความดันที่สูญเสียไป เท่ากับ 4.0172 J/kg
ท่อ ขนาด 3/4 นิ้ว อัตราการไหลของน้ำ เท่ากับ 0.00027 m3/s ค่าความดันน้ำไหลเข้าท่อ เท่ากับ
42000 N/m2 และค่าความดันไหลออกจากท่อ 32,000 N/m2 ความเร็วเฉลี่ย เท่ากับ 0.7795 m/s ค่าเรย์โนลด์
นัมเบอร์ เท่ากับ 20,569.89 โดยสามารถคำนวณหาค่าแฟกเตอร์ความเสียดทานได้ เท่ากับ 0.0943 และมีความ
ดันที่สูญเสียไป เท่ากับ 10.0432 J/kg อัตราการไหลของน้ำ เท่ากับ 0.00026 m3/s ค่าความดันน้ำไหลเข้าท่อ
เท่ากับ 34,000 N/m2 และค่าความดันไหลออกจากท่อ 26,000 N/m2 ความเร็วเฉลี่ย เท่ากับ 0.7507 m/s
ค่าเรย์โนลด์นัมเบอร์ เท่ากับ 19,809.90 โดยสามารถคำนวณหาค่าแฟกเตอร์ความเสียดทานได้ เท่ากับ 0.0813
และมีความดันที่สูญเสียไป เท่ากับ 8.034 J/kg อัตราการไหลของน้ำ เท่ากับ 0.00025 m3/s ค่าความดันน้ำไหล
เข้าท่อ เท่ากับ 26,000 N/m2 และค่าความดันไหลออกจากท่อ 18,000 N/m2 ความเร็วเฉลี่ย เท่ากับ 0.7218
m/s
ค่าเรย์โนลด์นัมเบอร์ เท่ากับ 19,047.27 โดยสามารถคำนวณหาค่าแฟกเตอร์ความเสียดทานได้ เท่ากับ 0.0880
และมีความดันที่สูญเสียไป เท่ากับ 8.034 J/kg
ท่อ ขนาด 1/2 นิ้ว อัตราการไหลของน้ำ เท่ากับ 0.00027 m3/s ค่าความดันน้ำไหลเข้าท่อ เท่ากับ
46,000 N/m2 และค่าความดันไหลออกจากท่อ 22,000 N/m2 ความเร็วเฉลี่ย เท่ากับ 1.3428 m/s ค่าเรย์โนลด์
นัมเบอร์ เท่ากับ 2,6997.77 โดยสามารถคำนวณหาค่าแฟกเตอร์ความเสียดทานได้ เท่ากับ 0.0581 และมีความ
ดันที่สูญเสียไป เท่ากับ 24.1036 J/kg อัตราการไหลของน้ำ เท่ากับ 0.00023 m3/s ค่าความดันน้ำไหลเข้าท่อ
เท่ากับ 36,000 N/m2 และค่าความดันไหลออกจากท่อ 16,000 N/m2 ความเร็วเฉลี่ย เท่ากับ 1.1439 m/s ค่า
เรย์โนลด์นัมเบอร์ เท่ากับ 22,998.77 โดยสามารถคำนวณหาค่าแฟกเตอร์ความเสียดทานได้ เท่ากับ 0.0667 และ
มีความดันที่สูญเสียไป เท่ากับ 20.0864 J/kg อัตราการไหลของน้ำ เท่ากับ 0.00020 m3/s ค่าความดันน้ำไหลเข้า
ท่อ เท่ากับ 28,000 N/m2 และค่าความดันไหลออกจากท่อ 12,000 N/m2 ความเร็วเฉลี่ย เท่ากับ 0.9947 m/s
ค่าเรย์โนลด์นัมเบอร์ เท่ากับ 1,999.02 โดยสามารถคำนวณหาค่าแฟกเตอร์ความเสียดทานได้ เท่ากับ 0.0706
และมีความดันที่สูญเสียไป เท่ากับ 16.0691 J/kg
จากการศึกษาค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานเมื่อน้ำไหลผ่ านวาล์ว พบว่า หาสัมประสิทธิ์แรงเสียดทาน (Cff)
ของ globe valve, gate valve และ ball valve สามารถสรุปได้ว่า
globe valve อัตราการไหลของน้ำ เท่ากับ 0.00013 m3/s ค่าความดันน้ำไหลเข้าท่อ เท่ากับ 82,000
N/m2 และค่าความดันไหลออกจากท่อ 12,000 N/m2 ความเร็วเฉลี่ย เท่ากับ 0.6466 m/s ค่าเรย์โนลด์นัมเบอร์
เท่ากับ 13,000.27 โดยสามารถคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานได้ เท่ากับ 336.301 และมีความดันที่
สูญเสียไป เท่ากับ 70.30 J/kg อัตราการไหลของน้ ำ เท่ากับ 0.00012 m3/s ค่าความดันน้ำไหลเข้าท่อ เท่ากับ
70,000 N/m2 และค่าความดันไหลออกจากท่อ 8,000 N/m2 ความเร็วเฉลี่ย เท่ากับ 0.5968 m/s ค่าเรย์โนลด์
นัมเบอร์ เท่ากับ 13,000.27 โดยสามารถคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานได้ เท่ากับ 416.0636 และมี
ความดันที่สูญเสียไป เท่ากับ 62.27 J/kg อัตราการไหลของน้ำ เท่ากับ 0.00011 m3/s ค่าความดันน้ำไหลเข้าท่อ
เท่ากับ 56,000 N/m2 และค่าความดันไหลออกจากท่อ 2,000 N/m2 ความเร็วเฉลี่ย เท่ากับ 0.5471 m/s ค่าเรย์
โนลด์นัมเบอร์ เท่ากับ 10,999.76 โดยสามารถคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานได้ เท่ากับ 362.378 และมี
ความดันที่สูญเสียไป เท่ากับ 54.23 J/kg
gate valve (เกทวาล์ว) อัตราการไหลของน้ำ เท่ากับ 0.00026 m3/s ค่าความดันน้ำไหลเข้าท่อ เท่ากับ
50,000 N/m2 และค่าความดันไหลออกจากท่อ 37,000 N/m2 ความเร็วเฉลี่ย เท่ากับ 1.2931 m/s ค่าเรย์โนลด์
นัมเบอร์ เท่ากับ 25,998.53 โดยสามารถคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานได้ เท่ากับ 37.8397 และมีความ
ดันที่สูญเสียไป เท่ากับ 13.06 J/kg อัตราการไหลของน้ำ เท่ากับ 0.00019 m3/s ค่าความดันน้ำไหลเข้าท่ อ
เท่ากับ 38,000 N/m2 และค่าความดันไหลออกจากท่อ 26,000 N/m2 ความเร็วเฉลี่ย เท่ากับ 0.9449 m/s ค่า
เรย์โนลด์นัมเบอร์ เท่ากับ 18,997.76 โดยสามารถคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานได้ เท่ากับ 56.2431
และมีความดันที่สูญเสียไป เท่ากับ 12.08 J/kg อัตราการไหลของน้ำ เท่ากับ 0.00017 m3/s ค่าความดันน้ำไหล
เข้าท่อ เท่ากับ 32,000 N/m2 และค่าความดันไหลออกจากท่อ 18,000 N/m2 ความเร็วเฉลี่ย เท่ากับ 0.8455
m/s ค่าเรย์โนลด์นัมเบอร์ เท่ากับ 16,999.37 โดยสามารถคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานได้ เท่ากับ
64.6252 และมีความดันที่สูญเสียไป เท่ากับ 14.06J/kg
ball valve อัตราการไหลของน้ำ เท่ากับ 0.00019 m3/s ค่าความดันน้ำไหลเข้าท่อ เท่ากับ 52,000
N/m2 และค่าความดันไหลออกจากท่อ 40,000 N/m2 ความเร็วเฉลี่ย เท่ากับ 0.9449 m/s ค่าเรย์โนลด์นัมเบอร์
เท่ากับ 18,997.76 โดยสามารถคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานได้ เท่ากับ 26.9967 และมีความดันที่
สูญเสียไป เท่ากับ 12.5 J/kg อัตราการไหลของน้ำ เท่ากับ 0.00017 m3/s ค่าความดันน้ำไหลเข้าท่อ เท่ากับ
42,000 N/m2 และค่าความดันไหลออกจากท่อ 31,000 N/m2 ความเร็วเฉลี่ย เท่ากับ 0.8455 m/s ค่าเรย์โนลด์
นัมเบอร์ เท่ากับ 16,999.27 โดยสามารถคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานได้ เท่ากับ 30.9077 และมีความ
ดันที่สูญเสียไป เท่ากับ 11.055 J/kg อัตราการไหลของน้ำ เท่ากับ 0.00016 m3/s ค่าความดันน้ำไหลเข้าท่อ
เท่ากับ 32,000 N/m2 และค่าความดันไหลออกจากท่อ 24,000 N/m2 ความเร็วเฉลี่ย เท่ากับ 0.7957 m/s ค่า
เรย์โนลด์นัมเบอร์ เท่ากับ 15,998.01 โดยสามารถคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานได้ เท่ากับ 25.3800
และมีความดันที่สูญเสียไป เท่ากับ 8.03 J/kg
จากการศึกษาค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานเมื่อน้ำไหลผ่านข้องอ พบว่า หาสัมประสิทธิ์ แรงเสียดทาน (Cff)
ของข้องอตั้งฉากและข้องอโค้ง สามารถสรุปได้ว่าท่องอตั้งฉาก 90 อัตราการไหลของน้ำ เท่ากับ 0.00031 m3/s
ค่าความดันน้ำไหลเข้าท่อ เท่ากับ 42,000 N/m2 และค่าความดันไหลออกจากท่อ 40,000 N/m2 ความเร็วเฉลี่ย
เท่ากับ 0.5414 m/s ค่าเรย์โนลด์นัมเบอร์ เท่ากับ 18,368.71 โดยสามารถคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียด
ทานได้ เท่ากับ 13.7055 และมีความดันที่สูญเสียไป เท่ากับ 2.0086 J/kg อัตราการไหลของน้ำ เท่ากับ 0.00025
m3/s ค่าความดันน้ำไหลเข้าท่อ เท่ากับ 28,000 N/m2 และค่าความดันไหลออกจากท่อ 26,000 N/m2 ความเร็ว
เฉลี่ย เท่ากับ 0.4366 m/s ค่าเรย์โนลด์นัมเบอร์ เท่ากับ 14,813.04 โดยสามารถคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์แรง
เสียดทานได้ เท่ากับ 21.00748 และมีความดันที่สูญเสียไป เท่ากับ 2.0086 J/kg อัตราการไหลของน้ำ เท่ากับ
0.00020 m3/s ค่าความดันน้ำไหลเข้าท่อ เท่ากับ 14,000 N/m2 และค่าความดันไหลออกจากท่อ 12,000 N/m2
ความเร็ ว เฉลี ่ ย เท่ า กั บ 0.3493 m/s ค่ า เรย์ โ นลด์ น ั ม เบอร์ เท่ า กั บ 14,813.04 โดยสามารถคำนวณหาค่ า
สัมประสิทธิ์แรงเสียดทานได้ เท่ากับ 32.9256 และมีความดันที่สูญเสียไป เท่ากับ 2.0086 J/kg ท่องอโค้ง 90
อัตราการไหลของน้ำ เท่ากับ 0.00031 m3/s ค่าความดันน้ำไหลเข้าท่อ เท่ากับ 53,000 N/m2 และค่าความดัน
ไหลออกจากท่อ 30,000 N/m2 ความเร็วเฉลี่ย เท่ากับ 0.5414 m/s ค่าเรย์โนลด์นัมเบอร์ เท่ากับ 18,368.71
โดยสามารถคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานได้ เท่ากับ 157.6133 และมีความดันที่สูญเสียไป เท่ากับ
23.0993 J/kg อัตราการไหลของน้ำ เท่ากับ 0.00025 m3/s ค่าความดันน้ำไหลเข้าท่อ เท่ากับ 40,000 N/m2
และค่าความดันไหลออกจากท่อ 12,000 N/m2 ความเร็วเฉลี่ย เท่ากับ 0.4366 m/s ค่าเรย์โนลด์นัมเบอร์ เท่ากับ
14,813.04 โดยสามารถคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานได้ เท่ากับ 295.0476 และมีความดันที่สูญเสียไป
เท่ากับ 28.13249 J/kg อัตราการไหลของน้ำ เท่ากับ 0.00020 m3/s ค่าความดันน้ำไหลเข้าท่อ เท่ากับ 26,000
N/m2 และค่าความดันไหลออกจากท่อ 0 N/m2 ความเร็วเฉลี่ย เท่ากับ 0.3491 m/s ค่าเรย์โนลด์นัมเบอร์ เท่ากับ
11,844.32 โดยสามารถคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานได้ เท่ากับ 428.5239 และมีความดันที่สูญเสียไป
เท่ากับ 2.6112 J/kg
จากกราฟจากกราฟระหว่างค่า Re (แกน x) และค่า f (แกน y) ของท่อทั้ง 3 ขนาด สามารถอภิปรายได้ว่า
หาก ท่อที่มีค่า Re มาก จะทำให้มีค่า f น้อย ซึ่งถูกต้องตามหลักทฤษฎีที่ว่า แรงที่จะผลักดันของเหลวให้ไหลไปตาม
ท่อได้นั้นนอกจากจะต้องเอาชนะแรงเนื่องจากความหนืดของเนื้อของเหลวแล้วจะต้องเอาชนะแรงเสียดทาน
ระหว่างของเหลวและผนังท่อด้วย แรงเสียดทานดังกล่าวจะแปรผันตามอัตราการไหลซึ่งอธิบายด้วยค่าเรย์ โนลด์
นัมเบอร์
จากกราฟระหว่างค่า Re (แกน x) และค่า Cff (แกน y) ของข้องอตั้งฉาก, ข้องอโค้ง, gate valve , globe
valve และ ball valve ที่มีขนาด 1 นิ้ว สามารถอภิปรายได้ว่า หากมีค่า Re มาก จะทำให้มีค่า Cff น้อย ซึ่ง จาก
กราฟมี globe valve ที่มีผลแตกต่างจากอุปกรณ์อื่น อาจเป็นผลมาจากในขั้นตอนการทดลองปั๊มมีการทำงานที่ไม่
เสถียร ปั๊มมีการหยุดการทำงาน ทำให้ค่าต่างๆที่ได้จากการทดลองมีความผิดพลาด เมื่อนำมาคำนวณต่อจึงส่งผล
ให้ค่าคำนวณที่ได้เกิดความคลาดเคลื่อน

*
จากผลการทดลอง ค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทาน (Cff)ที่ได้ทั้งหมด สามารถอภิปรายผลได้ ดังนี้ ค่า
สัมประสิทธิ์แรงเสียดทาน (Cff) ของ globe valve, gate valve และ ball valve สามารถอภิปรายผลได้ ดังนี้
globe valve มีค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานได้ เท่ากับ 336.301 ที่ความถี่ไฟฟ้า 45.8 Hz มีค่าสัมประสิทธิ์แรง
จากผลการทดลอง ค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทาน (Cff) ของทั้ง Globe valve, Gate valve, Ball valve,
ท่องอตั้งฉาก 90º และท่องอโค้ง 90º ไปเปรียบเทียบกับค่าอ้างอิง พบว่าค่าที่ได้จากการทดลองมีค่าสูงกว่าค่า
อ้างอิงมาก โดย Globe valve ค่า Cff จากการทดลองได้เท่ากับ 336.301, 416.0636 และ 362.378 ตามลำดับ
ส่วนค่าอ้างอิง ได้เท่ากับ 10, Gate valve ค่า Cff จากการทดลองได้เท่ากับ 37.8397, 56.2431 และ 64.6252
ตามลำดับ ส่วนค่าอ้างอิง ได้เท่ากับ 0.15, Ball valve ค่า Cff จากการทดลองได้เท่ากับ 26.9967, 30.9072 และ
25.3800 ตามลำดับ ส่วนค่าอ้างอิง ได้เท่ากับ 0.05, ท่องอตั้งฉาก 90º ค่า Cff จากการทดลองได้เท่ากับ 13.7055,
21.0748 และ 32.9256 ตามลำดับ ส่วนค่าอ้างอิงได้เท่ากับ 1.5 และท่องอโค้ง 90º ค่า Cff จากการทดลองได้
เท่ากับ 157.6133, 295.0476 และ 428.5239 ตามลำดับ ส่วนค่าอ้างอิงได้เท่ากับ 0.7
อ้างอิง
วิริยะ ดวงสุวรรณ. 2566. บทปฏิบัติการที่ 5 ระบบส่งถ่ายของเหลว
https://lms2.psu.ac.th/pluginfile.php/480463/mod_assign/introattachment/0/Chapter
%205.pdf?forcedownload=1

You might also like