Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 3

Positive Discipline for Preschoolers วินัยเชิงบวกสำหรั บเด็กเล็ก

การอบรมสัง่ สอนเด็ก โดยการใช้ วินยั เชิงบวก คือ การสอนและการฝึ กฝนเด็กให้ มีพฤติกรรมตามที่เราคาดหวังด้ วยการสือ่ สารเชิง
บวก และฝึ กให้ เด็กใช้ ทกั ษะสมองส่วนหน้ าเชิง Executive function หรื อ EF เป็ นการฝึ กให้ เด็ก คิดเป็ น ทาเป็ น เรียนรู้เป็ น
แก้ ปัญหาเป็ น อยูก่ บั ผู้อื่นอย่างมีความสุข มีการรักษาสัมพันธภาพระหว่างกัน มีการแสดงความรักความเอาใจใส่ หลีกเลีย่ งการใช้
ความรุนแรง ไม่ใช้ คาสัง่ ห้ ามหรื อดุดา่ เมื่อไม่เป็ นตามความคาดหวังของตน

1. Modelling กำรเป็ นแบบอย่ ำง : เด็กเรี ยนรุ้ ผา่ นประสบการณ์และซึมซับทุกอย่างจากคนรอบตัว หากเราต้ องการให้


เด็กเป็ นอย่างไร เราต้ องทาตัวเป็ นแบบอย่างในทุกๆเรื่ อง เช่น การตรงต่อเวลา ความมีมารยาท การจัดการอารมณ์ ฯลฯ
2. Routine กิจวัตรที่ชัดเจน : การที่ทาให้ ทกุ ๆวันมีตารางกิจวัตรทีช่ ด
ั เจน และช่วยส่งเสริ มให้ เด็กทาตามตารางกิจวัตรได้
ฝึ กให้ เด็กมีวินยั จะช่วยให้ เด็กมีความมัน่ คงทางจิตใจ อารมณ์ และส่งเสริ มพัฒนาการได้ ดี
3. What to do (instead of what not to do ) บอกว่ ำควรทำอะไร แทนที่จะบอกว่ ำไม่ ควรทำอะไร : เพราะเด็ก
จะเข้ าใจได้ งา่ ยกว่าหากเราชัดเจนในสิง่ ที่เราต้ องการ เช่น แทนที่จะบอกว่า อย่าพูดเสียงดัง แต่ให้ บอกเด็กว่า พูดเบาๆ
นะคะ และพูดเบาๆให้ เด็กดู
4. Pick you battles (say yes whenever you can) เลือกสนำมประลองให้ ดี (ตอบรั บเท่ ำที่คุณจะทำได้ ) :
บางครัง้ เราควรทีจ่ ะตอบรับในคาขอของลูกให้ มากที่สดุ เท่าที่จะทาได้ โดยสิง่ ที่เด็กร้ องขอ ไม่กระทบต่อการฝึ กวินยั หรื อ
กฏพื ้นฐานที่คณ
ุ เคยตกลงกันไว้ เช่น หากเด็กร้ องขออยากจะใส่ถงุ เท้ าข้ างละสี ซึง่ ไม่ได้ สง่ ผลกระทบอะไรกับใคร ผู้ใหญ่
ไม่ควรไปห้ าม เพราะเราควรที่จะห้ ามเฉพาะในเรื่ องที่สาคัญ การห้ ามตลอดเวลาทาให้ เด็กรู้สกึ อึดอัดและต่อต้ าน และ
ส่งผลทาให้ การห้ ามของผู้ใหญ่ดไู ม่ใช่เรื่ องสาคัญอะไรเพราะห้ ามตลอดเวลาอยูแ่ ล้ ว
5. Redirection กำรเบี่ยงเบนให้ ทำกิจกรรมอื่นแทน : เวลาเด็กทาอะไรที่ไม่เหมาะสมอาจใช้ การเบี่ยงเบนด้ วยกิจกรรม
ที่เด็กอยากทา แทนที่จะห้ ามอย่างเดียว เช่น เด็กเห็นน ้าในถังและอยากเล่น อาจจะเบี่ยงเบนบอกเด็กว่าเราต้ องรี บทาน
ข้ าวเพื่อที่จะได้ ไปดูสตั ว์กนั / เด็กเคาะโต๊ ะ ไม่สงั่ ห้ ามให้ หยุดทาแต่ให้ ทาอย่างอื่นแทน
6. Offer two choices นำเสนอทำงเลือกสองทำง : เวลาที่เราใช้ หลายๆวิธีแล้ วแต่ยงั ไม่ได้ ผล อาจเสนอทางเลือกที่เรา
รับได้ ทงสองทางให้
ั้ เด็กเลือก อย่างน้ อยการที่เด็กยังมีทางเลือกยังช่วยให้ เค้ าตัดสินใจได้ ดีขึ ้น และรู้สกึ ว่ายังมีอิสระที่
อย่างน้ อยยังได้ เลือก
7. Eye level กำรมองระดับสำยตำ : นัง่ ลงให้ อยูใ่ นระดับเดียวกันกับเด็ก สบตาเด็ก ทาให้ เด็กรู้ สกึ ว่าได้ รับการใส่ใจ มี
คุณค่าและเชื่อใจ จะทาให้ EF ทางานได้ ดีขึ ้น
8. Use timer ตัง้ เวลำโดยใช้ นำฬิกำจับเวลำ : ฝึ กให้ ร้ ู จกั การวางแผน ฝึ กการจัดการเวลา สามารถใช้ นาฬิกาจับเวลาเข้ า
มาช่วย สาหรับเด็กเล็กให้ ใช้ Visible Timer ที่มีแถบแสดงสถานะว่าเหลือเวลาเท่าไหร่ จะช่วยให้ เด็กเข้ าใจเวลาได้ ดีขึ ้น
9. Give information , not commands สอน ไม่ เอำแต่ ส่ งั : ให้ ข้อมูลว่าการทาแบบนี ้ส่งผลอย่างไร เพื่อให้ เด็กมีเหตุ
มีผลและรู้จกั ผลกระทบในการตัดสินใจ จะดีกว่าเอาแต่สงั่ เด็กอย่างเดียว เช่น ก่อนกินข้ าวควรล้ างมือให้ สะอาด และทา
ให้ ดวู า่ ทาอย่างไร
10.Give a heads up บอกล่ วงหน้ ำ : การบอกล่วงหน้ าช่วยให้ เด็กได้ เตรี ยมใจ โดยเฉพาะเด็กเล็กที่ยงั จัดการอารมณ์ได้
ไม่ดีพอและค่อนข้ างยึดติดกับรูปแบบกิจวัตรเดิมๆ ควรบอกเด็กล่วงหน้ าเมื่อจะมีการเปลีย่ นกิจกรรม หรื อเปลีย่ นแปลง
สภาพแวดล้ อมใดๆ
11.Ask (your toddler) for help ขอให้ เด็กช่ วย : เด็กเล็กชอบทีจ่ ะช่วยเหลือ เค้ าจะรู้สกึ ภูมิใจ และมีคณ ุ ค่า เมื่อได้
ช่วยเหลืออะไรแม้ จะเป็ นเรื่ องเล็กน้ อย ดังนัน้ ผู้ใหญ่ควรจะแบ่งงานในส่วนที่เด็กเล็กพอทาได้ หรื อมอบหมายหน้ าที่ความ
รับผิดชอบบางอย่างให้ เช่น ให้ ทางานบ้ าน เมื่อเด็กทาก็ชื่นชมเพื่อเสริ มสร้ างความภูมิใจในตัวเองให้ กบั เด็ก
12.Taking Turn สลับกันเล่ น : เวลาที่เด็กอยูร่ ่วมกับเด็กคนอื่น การแบ่งปั นสิง่ ของให้ กนั อาจเป็ นเรื่ องยาก เราควรเริ่มจาก
การตกลงกันก่อนว่าเราต้ องมีการสลับกันเล่น และกาหนดเวลาทีแ่ ต่ละคนจะเล่น เพราะเป็ นธรรมชาติทเี ด็กวัยนี ้จะหวง
ของเล่นและต้ องการเล่นเพียงคนเดียว แต่การฝึ กให้ สลับกันเล่น ช่วยฝึ กทักษะสังคม และเป็ นทักษะพื ้นฐานก่อนทีจ่ ะรู้จกั
แบ่งปั นต่อไป
13. Time in instead of time out อยู่กับเขำแทนที่จะตีเขำออกนอกวง : เวลาที่เด็กไม่ทาตามกฎพื ้นฐาน อาจต้ องมี
การลงโทษสันๆด้ ้ วยการพาเด็กออกจากสถานการณ์ที่เรียกว่า Time out (พาออกนอกวง) แต่ถ้าจะให้ ดี ผู้ใหญ่ควรทีจ่ ะ
อยูก่ บั เด็กด้ วย อาจจะแค่นงั่ ใกล้ ๆ ไม่ได้ ทาให้ เด็กรู้สกึ ว่าถูกทอดทิ ้ง เพราะการทิ ้งให้ เด็กนัง่ คนเดียวบางครัง้ ไม่ได้ ชว่ ยให้
เด็กคิดเองได้ แต่กลับทาให้ เด็กรู้สกึ โกรธแค้ น และอาจไม่เข้ าใจสิง่ ที่สอน หรื อเลีย่ งที่จะไม่ทาสิง่ เดิมเพราะกลัวถูกลงโทษ
โดยไม่ได้ เข้ าใจเหตุและผลที่แท้ จริ ง ผู้ใหญ่ที่นงั่ ด้ วยเพียงแค่นงั่ รอให้ เด็กสงบสติอารมณ์ อาจใช้ วธิ ีเชื่อมโยงหรื อบรรยาย
อารมณ์เด็กตอนนันก่ ้ อน และยังไม่ต้องรี บที่จะสอนสิง่ ที่ควรทา ให้ มนั่ ใจก่อนว่าเด็กอยูใ่ นสภาวะอารมณ์ที่พร้ อมให้ สอน
แล้ วค่อยสอน
14.Visible rules & routines กฎระเบียบพืน้ ฐำนและกิจวัตรที่เห็นได้ ชดั เจน : ให้ เขียนกฎระเบียบพื ้นฐาน (ไม่ควร
มากเกินไป มีไม่เกิน 5 ข้ อ) และกิจวัตร วันที่อยูบ่ ้ าน และวันที่ไม่อยูบ่ ้ าน ไว้ และติดในที่ที่เห็นได้ ชดั เจน มีการพูดคุยกับ
เด็กก่อนเพื่อให้ เด็กรับรู้ถึงสิง่ ทีเ่ ราจะยึดถือ หากเด็กทาได้ ให้ ชื่นชม และเมื่อไหร่ทาไม่ได้ ให้ กลับมาจริ งจังในสิง่ ทีต่ กลงกัน
15.Connect before correct เชื่อมโยงก่ อนจะแก้ ไข : เวลาอยูใ่ นสถานการณ์ใดๆทีเ่ ด็กมีปัญหาทางอารมณ์ ให้
เชื่อมโยงและปรับอารมณ์เด็กก่อนที่จะสอนสิง่ ที่ควรทา ให้ ประคองเด็กให้ สามารถ Talk it out และบรรยายอารมณ์
ความรู้สกึ ออกมาให้ ได้ ก่อน
16.Remain calm yourself ควบคุมอำรมณ์ ให้ สงบก่ อน : การควบคุมอารมณ์ตนเองเป็ นสิง่ สาคัญมากๆ เป็ นธรรมชาติ
ที่เด็กวัยนี ้จะยังควบคุมอารมณ์ได้ ไม่ดีพอ แต่ผ้ ใู หญ่อย่างเราต้ องทาหน้ าที่เป็ นสมองส่วนหน้ าทีแ่ สดงให้ เด็กเห็นว่าการ
ควบคุมอารมณ์ทดี่ ีทาอย่างไร ทาเป็ นตัวอย่างให้ เด็กเห็นตลอด และวันหนึง่ เด็กๆจะทาแบบเราได้
17.Set the limit (I’m sorry. I cannot let you do that) จำกัดขอบเขต (ขอโทษนะ แม่ อนุญำตให้ หนูทำแบบ
นัน้ ไม่ ได้ ) : บางอย่างที่ออกนอกเหนือกฎระเบียบที่ตกลงกันไว้ เราจะยืนยันหนักแน่นว่าเราอนุญาตให้ เด็กทาไม่ได้ และ
จริ งจังกับสิง่ ทีต่ กลงกันแล้ ว
18.Calm and Firm. ใจเย็นและจริงจัง : การที่ไม่ดุ ไม่ตะคอก ไม่ตวาด ไม่ขู่ ไม่หลอก ไม่ตดิ สินบน หรื อลงโทษเด็กรุนแรง
เพียงแต่ยงั คงความจริ งจังว่าอะไรควรทาอะไรไม่ควรทา ด้ วยน ้าเสียงจริงจัง แต่ไม่ใช้ ความรุนแรงใดๆ เด็กจะรู้ขอบเขตได้
ดี โดยไม่จาเป็ นต้ องถูกทาให้ กลัว
19.Process Praise. Character Praise. Value Praise. ชมที่กระบวนกำร ชมที่อุปนิสัย และชมที่คุณค่ ำ : การชม
เป็ นการปลูกฝัง Growth Mindset (กรอบความคิดเติบโต) ที่ดี แต่ผ้ ใู หญ่ต้องรู้จกั วิธีการชม เราจะไม่ชมไปที่ลกั ษณะ
ส่วนบุคคล ( เช่น หนูเก่งมาก หนูหล่อมาก ) หรื อผลลัพธ์ (เช่น หนูสอบได้ ที่หนึง่ หนูทอ่ งคาศัพท์ได้ ) แต่จะชมไปที่
กระบวนการ เช่น หนูพยายามดีมาก / หนูตงใจซ้ ั ้ อมดีมาก หรื อชมที่ลกั ษณะนิสยั เช่น แม่ชอบมากเลยที่หนูมีน ้าใจช่วย
แม่ทางาน / แบบนี ้เค้ าเรี ยกว่ามีความพยายามและอดทน เป็ นต้ น หรื อชมที่คณ ุ ค่าที่ควรยึดถือ เช่น หนูช่วยงานแม่แบบนี ้
แสดงถึงความกตัญญู / หนูทาน ้าหกแล้ วเช็ดแสดงว่าหนูมีความรับผิดชอบ เป็ นต้ น การชมลักษณะนี ้ไม่ต้องกังวลว่าจะ
เป็ นคาศัพท์ที่ยากเกินไป เด็กจะค่อยๆซึมซับและเข้ าใจในวันหนึง่ แต่การสอดแทรกเข้ าไปในทุกๆการกระทาทีด่ ีของเด็ก
เด็กจะรับรู้ผา่ นน ้าเสียง แววตา และค่อยๆสะสมคลังคาศัพท์ทเี่ กี่ยวข้ อง การที่ผ้ ใู หญ่ชมเรื่ อยๆจะเป็ นการปลูกฝังเมล็ด
พันธุ์แห่งความดี เด็กๆจะเรี ยนรู้ ซึมซับ จดจา และทาให้ เด็กไม่ไปยึดถือเปลือกนอกที่ผลลัพธ์หรื อลักษณะเฉพาะคน แต่
จะมองทีก่ ระบวนการในการทางาน คุณค่าและอุปนิสยั ที่ดีมากกว่า
20.First... Then... หลักกำรอะไรก่ อนหลัง : กาหนดเงื่อนไขที่นา่ สนใจเพื่อลดการต่อต้ าน เช่นทาการบ้ านเสร็ จแล้ ว ถึงจะ
ไปเล่นได้
21.I message , instead of You message. บอกความต้ องการและความรู้สกึ ของตัวเอง ต่อพฤติกรรมที่ลกู ทาโดยไม่ใช้
อารมณ์และไม่มงุ่ เน้ นไปที่การตาหนิลกู เช่น แม่ร้ ูสกึ เสียใจที่หนูพดู แบบนี ้ แม่อยากให้ หนูสงบสติอารมณ์ก่อน แทนที่จะ
เป็ น พูดแบบนี ้ไม่นา่ รักเลย จะช่วยให้ เด็กให้ ความร่วมมือได้ ดีกว่า
22.Talk it out ฝึ กให้ พดู ออกมำ : ใช้ รูปแบบประโยค ฉันรู้สกึ ... เมื่อ... ช่วย... เช่น หนูร้ ูสกึ กังวล ถ้ าแม่ไม่ได้ อยูก่ บั หนู
ด้ วย หนูขอให้ แม่อยูใ่ กล้ ๆหนูได้ ไหม เป็ นต้ น ซึง่ โดยปรกติ เด็กอาจจะยังไม่สามารถพูดบรรยายสิง่ ที่ร้ ูสกึ และความ
ต้ องการได้ ดีนกั ผู้ใหญ่เองต้ องช่วยประคอง และถามคาถามเพื่อนาทางให้ เด็กสามารถอธิบายได้ เข่น เกิดอะไรขึ ้นคะ หนู
รู้สกึ อย่างไร หนูต้องการอะไร การประคองด้ วยคาถามจะช่วยให้ เด็กเรี ยบเรี ยงความรู้สกึ และความต้ องการของตัวเองได้
ดี และเด็กจะกล้ าทีจ่ ะแสดงความเป็ นตัวเองแบบสันติ เป็ นหลักการของ Non-violence Communication ที่ควร
ช่วยกันส่งเสริ มให้ เกิดขึ ้นในสังคมต่อไป

You might also like