Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 14

โรงเรียนชัยเกษมวิทยา ต.ชัยเกษม อ.บางสะพาน จ.

ประจวบคีรีขันธ์
สพม.ปข.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
รายวิชา โลกดาราศาสตร์และอวกาศพื้นฐาน ว 33101 ชัน ้ มัธยมศึกษาปี
ที่ 6 เวลา 2 ชั่วโมง
(แผ่นดินไหว)
ใช้สอนวันที่.......................................................... พ.ศ. 2564

1. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
ภูเขาไฟระเบิด แผ่นดินไหว และสึนามิ เป็ นธรณีพิบัติภัยที่เกิดจาก
กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาแบบฉับพลันและรุนแรงซึ่งผลต่อสิ่งมี
ชีวิตและสิง่ แวดล้อม ดังนัน
้ การศึกษาถึงสาเหตุกระบวนการเกิด ผลที่เกิดขึน

รวมทัง้ แนวทางในการเฝ้ าระวังและการปฏิบัติตนให้ปลอดภัย จะช่วยให้มนุษย์
เข้าใจถึงธรรมชาติของการเกิดธรณีพิบัติภัย และสามารถเตรียมพร้อมรับ
สถานการณ์เพื่อให้เกิดความสูญเสียน้อยที่สุด
2. ตัวชีว ้ ัด/จุดประสงค์การเรียนรู้
ตัวชีว้ ัด
ว 3.2 ม.6/5 อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกิด ขนาดและความรุนแรง และ
ผลจากแผ่นดินไหว รวมทัง้ สืบค้นข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัย ออกแบบและนำเสนอ
แนวทางการเฝ้ าระวังและการปฏิบัติตนให้ปลอดภัย
จุดประสงค์การเรียนรู้
- ด้านความรู้ (K) : นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะการเกิดแผ่น
ดินไหวได้
- ด้านกระบวนการ (P) : นักเรียนสามารถทดลองกลไกการเกิดแผ่น
ดินไหวได้
- ด้านเจตคติ (A) : นักเรียนตัง้ ใจเรียนและเก็บอุปกรณ์เข้าที่เมื่อ
ใช้งานเสร็จ
3. สาระการเรียนรู้
การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
 ความสามารถในการสื่อสาร  ความสามารถในการคิด 
ความสามารถในการแก้ปัญหา
 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต  ความสามารถในการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ
5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์  อยู่อย่างพอเพียง 

ซื่อสัตย์สุจริต
 มุ่งมั่นในการทางาน  มีวินัย  รักความ
เป็ นไทย
 ใฝ่ เรียนรู้  มีจิตสาธารณะ
6. ความสามารถและทักษะศตวรรษที่ 21
 Reading(อ่านออก)  (W)Riting (เขียนได้ ) 

(A)Rithmetics(คิดเลขเป็ น)
 Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมี
วิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหา)
 Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์และ
นวัตกรรม)
 Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่าง
วัฒนธรรม)
 Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ
การทางานเป็ นทีม และภาวะผูน
้ ำ)
 Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการ
สื่อสารสารสนเทศ และรูเ้ ท่าทันสื่อ)
 Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร)
 Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้)
 Compassion (ทักษะด้านคุณธรรม)
7. อัตลักษณ์ของนักเรียน
 รับผิดชอบ  มีน้ำใจ  ใฝ่ เรียนรู้
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขัน
้ ที่ 1 ขัน
้ สร้างความสนใจ (Engagement Phase)
1. ครูให้นักเรียนดูวิดีทัศน์ที่เกี่ยวข้องกับแผ่นดินไหวที่เกิดขึน
้ ที่
ประเทศญี่ปุ่น

ที่มา : https://www.youtube.com/watch?v=XcJKkvtdhYk
2. จากนัน
้ ครูตงั ้ คำถามกระตุ้นความคิดของนักเรียน โดยครูถาม
นักเรียนดังนี ้
2.1 จากวิดิทัศน์แผ่นดินไหวส่งผลอย่างไรกับพื้นที่ที่เกิด
เหตุการณ์ดังกล่าว
( แนวการตอบ แผ่นดินไหวก่อให้เกิดผลกระทบในด้านความเสียหาย ซึง่ อาจจะ
เป็ นทัง้ การสูญเสียชีวิตของมนุษย์ที่อาศัยอยู่บริเวณใกล้เคียง หรือการสูญเสีย
และการสร้างความเสียหายให้กับอาคารบ้านเรือนรวมทัง้ สิ่งของต่างๆ )
2.2 นักเรียนคิดว่าแผ่นดินไหวส่งผลกระทบต่อด้านใดบ้าง
( แนวการตอบ ขึน
้ อยู่ความคิดของนักเรียน )
2.3 นักเรียนคิดว่าประเทศไทยมีเหตุการณ์แผ่นดินไหวหรือไม่
( แนวการตอบ มีเหตุการณ์แผ่นดินไหวเกิดขึน
้ ซึง่ ส่วนใหญ่เกิดขึน
้ บริเวณที่เป็ น
รอยเลื่อนที่มีอยู่ในประเทศไทย เช่นรอยเลื่อนแม่จัน อยู่บริเวณจังหวัดเชียงราย
และจังหวัดเชียงใหม่ รอยเลื่อนเมยอยู่บริเวณจังหวัดตาก เป็ นต้นซึง่ ยังเป็ นรอย
เลื่อนที่มีพลังอาจส่งผลให้ในอนาคตมีเหตุการณ์แผ่นดินไหวเกิดขึน
้ )
2.4 นักเรียนคิดว่าหากเกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวนักเรียนควร
รับมือกับเหตุการณ์นอ
ี ้ ย่างไร โดยให้แต่ละคนเขียนลงในสมุดของตนเองไม่ต้อง
ปรึกษาเพื่อนๆ
3. ครูกระตุ้นความคิดของนักเรียน โดยการถามนักเรียนว่า ถ้าหาก
นักเรียนพบเจอกับสถานการณ์ดังกล่าวนักเรียนจะมีวิธีการเอาตัวรอดด้วยวิธี
การใดหรือมีการรับมือกับสถานการณ์ดังกล่าวอย่างไร ( นักเรียนไม่ต้องตอบ
คำถามครู เพราะคำถามดังกล่าวนีน
้ ำไปสู่กิจกรรมในขัน
้ ต่อไป )
ขัน
้ ที่ 2 ขัน
้ สำรวจและค้นหา (Exploration Phase)
1. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็ น 9 กลุ่มเท่าๆกันตามความสมัคร
ใจของนักเรียนที่จัดไว้จากคาบที่แล้ว จากนัน
้ ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกัน
ศึกษาบทเรียนเรื่องแผ่นดินไหว จากสื่อออนไลน์และหนังสือเรียน โดยทัง้ นีค
้ รูให้
นักเรียนแต่ละกลุ่มตอบคำถามให้ได้ว่า แผ่นดินไหวเกิดจากอะไร บริเวณที่เกิด
แผ่นดินไหวบ่อยๆอยู่บริเวณใดบ้าง
2. จากนัน
้ ครูนำนักเรียนเข้าสู่กิจกรรมที่ 7.2 การทดลองกลไกการ
เกิดแผ่นดินไหวเพื่อศึกษาว่าแผ่นดิน ไหวมีกระบวนการเกิดอย่างไร โดยครูจะมี
อุปกรณ์ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มได้แก่ ไม้บัลซาร์ กว้าง 3 ซ.ม. ยาว 30 ซ.ม. หนา
0.3 ซ.ม. กลุ่มละ 1 แผ่น โดยมีวิธีการดำเนินกิจกรรมดังนี ้
2.1 เตรียมตัวดันปลายไม้ โดยวางมือและแผ่นไม้ ดังรูป

ที่มา : คู่มือครูรายวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศพื้นฐาน


2.2 ใช้มือสองข้างดันปลายไม้เข้าหากันอย่างช้า ๆ พร้อม
สังเกตการเปลี่ยนแปลงลักษณะของแผ่นไม้ เสียง และการสั่นสะเทือนของแผ่น
ไม้ ตัง้ แต่เริ่มดันแผ่นไม้จนกระทั่งแผ่นไม้หัก และบันทึกสิง่ ที่สังเกตได้ลงใน
ตารางบันทึกผลการทดลองตามหนังสือเรียน
2.3 เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงลักษณะของไม้ในแต่ละขัน

ตอน
3. ในขณะที่นักเรียนกำลังดำเนินกิจกรรมครูพยายามเดินสำรวจและ
แนะนำนักเรียนในการเรียนรู้
4. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนกันนำเสนอ

ขัน
้ ที่ 3 ขัน
้ อธิบายและลงข้อสรุป (Explanation Phase)
1. จากกิจกรรมนักเรียนสามารถบันทึกผลการทดลองได้ดังนี ้
ตัวอย่างการบันทึกผลการทดลอง
2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลการทดลอง กล่าวคือ เมื่อออกแรง
กระทำกับแผ่นไม้ แผ่นไม้เริ่มเกิดการโค้งงอ แรงที่กระทำกับแผ่นไม้ถูกสะสมไว้
ในแผ่นไม้ เมื่อออกแรงกระทำกับแผ่นไม้เพิ่มขึน
้ ทำให้แผ่นไม้โค้งงอมากขึน

และเกิดการหักในที่สุด พลังงานที่สะสมอยู่ในแผ่นไม้จะถูกปลดปล่อยออกมา
ในรูปของการสั่นของแผ่นไมและเสียงไม้หัก จากนัน
้ จะเห็นว่าแผ่นไม้มีการ
ปรับสภาพเป็ นแผ่นตรงเหมือนก่อนที่จะมีแรงมากระทำซึ่งลักษณะการ
เปลี่ยนแปลงของแผ่นไม้ดังกล่าว
3. ครูสรุปเรื่องแผ่นดินไหวให้นักเรียนเข้าใจ กล่าวคือ แผ่นดินไหว
(Earthquake) แผ่นดินไหวเกิดขึน
้ จากแผ่นธรณีมีการเคลื่อนที่ทำให้เกิดการ
เสียดสีและ/หรือชนกัน เกิดการสะสมพลังงานในชัน
้ หินบนแผ่นธรณี จน
กระทั่งชัน
้ หินเกิดการแตกหักและเคลื่อนตัวอย่างกระทันหันปลดปล่อย
พลังงานออกมาในรูปคลื่นไหวสะเทือน เกิดเป็ นแผ่นดินไหวเป็ นปรากฏการณ์
ธรรมชาติซึ่งเกี่ยวเนื่องกับกระบวนธรณีแปรสัณฐาน (Plate Tectionics) ซึง่
เกิดขึน
้ เมื่อหินเปลือกโลกเคลื่อนที่หรือสั่นสะเทือนและคายพลังงานออกมาซึ่ง
เป็ นการปรับสมดุลของโลก
4. ครูเปิ ดโอกาสให้นักเรียนแต่ละกลุ่มตัง้ ประเด็นคำถาม กลุ่มละ 1
ประเด็น เพื่อให้ครูช่วยอธิบายข้อสงสัย

ขัน
้ ที่ 4 ขัน
้ ขยายความรู้ (Elaboration Phase)
1. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่องรอยเลื่อนที่มีพลังของไทย กล่าว
คือ ปั จจุบันประเทศไทยมีรอยเลื่อนที่มีพลังทัง้ หมด 14 รอยเลื่อน โดย
กระจายอยู่ใน 22 จังหวัด ได้แก่ รอยเลื่อนแม่จัน อยู่ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่
และจังหวัดเชียงราย ,รอยเลื่อนแม่อิงอยู่ในพื้นที่จังหวัดเชียงราย ,รอยเลื่อน
แม่ฮ่องสอน อยู่ในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน ,รอยเลื่อนเมย อยู่ในพื้นที่จังหวัด
ตาก จังหวัดกำแพงเพชร นครสวรรค์ และจังหวัดอุทัยธานี ,รอยเลื่อนแม่ทา
อยู่ในพื้นที่จังหวัดลำพูนและจังหวัดเชียงใหม่ ,รอยเลื่อนเถิน อยู่ในพื้นที่
จังหวัดลำปางและจังหวัดแพร่ ,รอยเลื่อนพะเยา อยู่ในพื้นที่จังหวัดลำปางและ
จังหวัดพะเยา, รอยเลื่อนปั ว อยู่ในพื้นที่จังหวัดน่าน ,รอยเลื่อนอุตรดิตถ์ อยู่ใน
พื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ์และจังหวัดน่าน ,รอยเลื่อนเจดีย์สามองค์อยู่ในพื้นที่
จังหวัดกาญจนบุรี ,รอยเลื่อนศรีสวัสดิ ์ อยู่ในพื้นที่จังหวัดอุทัยธานีและจังหวัด
กาญจนบุรี ,รอยเลื่อนเพชรบูรณ์อยู่ในพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์ ,รอยเลื่อน
ระนอง อยู่ในพื้นที่จังหวัดระนอง ชุมพร ประจวบ คีรีขันธ์ และพังงา และรอย
เลื่อนคลองมะรุ่ย อยู่ในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดพังงาและจังหวัด
ภูเก็ต
2. ครูให้นักเรียนตอบคำถามหลังกิจกรรม ดังนี ้
2.1 การที่แผ่นไม้มีการโค้งงอจนกระทั่งหักนัน
้ เนื่องมาจาก
สาเหตุใด
( แนวการตอบ เนื่องจากมีแรงมากระทำกับแผ่นไม้ )
2.2 เมื่อเริ่มต้นดันแผ่นไม้จนกระทั่งแผ่นไม้หัก นักเรียน
ออกแรงเท่ากันหรือไม่
( แนวการตอบ ไม่เท่ากันแต่ออกแรงเพิ่มขึน
้ อย่างต่อเนื่อง)
2.3 เมื่อแผ่นไม้ไม่สามารถทนต่อแรงที่มากระทำได้นน
ั ้ มีการ
เปลี่ยนลักษณะไปอย่างไร
( แนวการตอบ เกิดการหัก )
2.4 ขณะที่แผ่นไม้หัก มีสิ่งใดเกิดขึน
้ บ้าง
( แนวการตอบ เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นไม้ และเสียงไม้หัก )
2.5 หลังจากแผ่นไม้หักออกจากกันแล้ว แผ่นไม้ยังคงโค้งงอ
อยู่หรือไม่ และมีลก
ั ษณะอย่างไร ( แนวการตอบ เมื่อแผ่นไม้หักออกจากกัน
แผ่นไม้ที่เคยโค้งงอจะกลับมาเป็ นแผ่นตรง )
3. ครูนำอภิปรายเพื่อเชื่อมโยงความรู้ที่ได้จากกิจกรรม 7.2 กับการ
เกิดแผ่นดินไหว โดยใช้คำถามดังตัวอย่างต่อไปนี ้
3.1 จากกิจกรรมข้างต้นหากกำหนดให้แผ่นไม้แทนหิน การ
ใส่แรงกระทำต่อไม้จะเปรียบได้กับสิ่งใดในการเกิดแผ่นดินไหว ( แนวการตอบ
แรงที่กระทำต่อแผ่นไม้เปรียบได้กับแรงที่มากระทำกับหิน ซึ่งเกิดจากการ
เคลื่อนที่ของแผ่นธรณีและสาเหตุอ่ น
ื ๆ)
3.2 ในขัน
้ ตอนใดของกิจกรรมที่เปรียบได้กับการเกิดแผ่นดิน
ไหว ( แนวการตอบ ขณะที่แผ่นไม้หัก นักเรียนจะได้ยินเสียงและรู้สึกถึงการ
สั่น เช่นเดียวกันกับการเกิดแผ่นดินไหวเมื่อหินสะสมพลังงานไว้จนถึงระดับที่
ไม่สามารถทนได้อีกต่อไป จะเกิดการปลดปล่อยพลังงานออกมาอย่างฉับพลัน
ในรูปแบบของคลื่นไหวสะเทือน ซึ่งจะทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน )
4. ครูให้ความรู้เกี่ยวกับศูนย์เกิดแผ่นดินไหว จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่น
ดินไหว และคลื่นไหวสะเทือนโดยใช้ภาพ 7.10 ในหนังสือเรียนหน้า 156 และ
อธิบายเชื่อมโยงจากข่าวว่าจะรายงานพิกัดภูมิศาสตร์ของจุดเหนือศูนย์เกิด
แผ่นดินไหว ซึ่งก็คือ จุด ก ในภาพ และรายงานระดับความลึกของจุดเกิดแผ่น
ดินไหว ระยะห่างจากจุด ก ไปถึงจุด ข โดยจุด ข เป็ นบริเวณที่ปลดปล่อย
พลังงานทำให้เกิดแผ่นดินไหวขนาดต่าง ๆ
ที่มา : คู่มือครูรายวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศพื้นฐาน
5. ครูอาจใช้ส่ อ
ื Power point อธิบายเพิ่มเติมเรื่อง แผ่นดินไหว
6. ครูแนะนำให้นักเรียนศึกษาเว็บไซด์ที่น่าสนใจเกี่ยวกับเรื่องแผ่น
ดินไหว เช่น
- https://www.thairath.co.th/tags
- https://www.youtube.com/watch?
v=Cq3Bk1qwvXA
ขัน
้ ที่ 5 ขัน
้ ประเมิน (Evaluation Phase)
1. การอภิปรายผลการดำเนินกิจกรรมกลุ่ม
2. การทำแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยที่ 2 กระบวนการ
เปลี่ยนแปลงภายในโลก
3. การตอบคำถามของนักเรียนภายในชัน
้ เรียน

9. การวัดและประเมินผล
เกณฑ์
การ
เป้ าหมาย วิธีการ เครื่องมือ
ประเมิ

ด้านความรู้
(K) - การตอบคำถาม - แบบประเมินการ ผ่านเกณฑ์
- นักเรียน ในชัน
้ เรียน ตอบคำถาม ระดับ
สามารถอธิบาย คุณภาพ 2
ลักษณะการเกิด
แผ่นดินไหวได้
ด้านทักษะ
กระบวนการ
(P) - ตรวจกิจกรรม - แบบประเมินการ ผ่านเกณฑ์
- นักเรียน การทดลองกลไก ทำงานกลุ่ม ระดับ
สามารถทดลอง การเกิดแผ่นดิน - แบบประเมิน คุณภาพ 2
กลไกการเกิด ไหว การนำเสนอผล
แผ่นดินไหวได้ งาน

ด้านเจตคติ (A)
- นักเรียนตัง้ ใจ - การปฏิบัติงาน - แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์
เรียนและเก็บ ในชัน
้ เรียน คุณลักษณะอันพึง ระดับ
อุปกรณ์เข้าที่ ประสงค์ คุณภาพ 2
เมื่อใช้งานเสร็จ
10. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
- สื่อ Power point เรื่อง แผ่นดินไหว
- หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์โลกและ
อวกาศ ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6
- สื่อออนไลน์และสื่อวิดิทัศน์ออนไลน์
- กิจกรรมที่ 7.2 กลไกการเกิดแผ่นดินไหว

ลงชื่อ...............................................ครูผู้สอน
(นางสาวอัยลัด
ดา ตองอ่อน)
วันที่.........................................................พ.ศ.
2564

ข้อเสนอแนะของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

…………………………………………………………………………….....................................
..............................

…………………………………………………………………………….....................................
..............................
ลงชื่อ...............................................
(นางณัฐนรี
แขวงโสภา)
วัน
ที่.........................................................พ.ศ. 2564
ความเห็นผู้อำนวยการ/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย
 เป็ นแผนการจัดการเรียนรู้ที่มีองค์ประกอบครบถ้วน ตามมาตรฐาน และตัว
ชีว้ ัด
 เป็ นแผนการจัดการเรียนรู้ที่มีองค์ประกอบสัมพันธ์กัน
 เป็ นแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญ

อื่นๆ....................................................................................................................
...........................................
...........................................................................................................................
...................................................

ลงชื่อ...............................................
(นางสาวมัฑ
นีย์ ศรีนาค)
ผู้อำนวยการโรงเรียนชัย
เกษมวิทยา
วัน
ที่.........................................................พ.ศ. 2564
บันทึกหลังสอน
นักเรียนจำนวน................................คน
ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้...............คน คิดเป็ น
ร้อยละ.................................
ไม่ผ่านจุดประสงค์............................คน คิดเป็ น
ร้อยละ................................
ได้แก่

1. ..................................................................................................................

2. ..................................................................................................................
นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษได้แก่

1. ....................................................................................................................

2. ...................................................................................................................
…………………………………………………………………………….....................................
..............................
…………………………………………………………………………….....................................
..............................
…………………………………………………………………………….....................................
..............................
…………………………………………………………………………….....................................
..............................
…………………………………………………………………………….....................................
..............................
ข้อเสนอแนะ
…………………………………………………………………………….....................................
..............................
…………………………………………………………………………….....................................
..............................
อุปสรรคและแนวทางแก้ปัญหา
…………………………………………………………………………….....................................
..............................
…………………………………………………………………………….....................................
..............................
ลงชื่อ...............................................ครูผู้สอน
(นางสาวอัยลัดดา ตองอ่อน)
วัน
ที.่ ........................................................พ.ศ. 2564
ข้อเสนอแนะของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
…………………………………………………………………………….....................................
..............................
…………………………………………………………………………….....................................
..............................
ลงชื่อ...............................................
(นางณัฐนรี
แขวงโสภา)
วัน
ที่.........................................................พ.ศ. 2564
ข้อเสนอแนะของหัวหน้าวิชาการ
…………………………………………………………………………….....................................
..............................
…………………………………………………………………………….....................................
..............................
ลงชื่อ...............................................
(นายเฉลิม
ศักดิ ์ ลาภส่งผล)
วัน
ที่.........................................................พ.ศ. 2564

ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………….....................................
..............................
…………………………………………………………………………….....................................
..............................
…………………………………………………………………………….....................................
..............................

ลงชื่อ...............................................
(นางสาว
มัฑนีย์ ศรีนาค)
ผู้อำนวยการโรงเรียนชัย
เกษมวิทยา
วัน
ที่.........................................................พ.ศ. 2564

You might also like