Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 16

การทดลองที่ 6

Constant Head Test


จัดทำโดย
สมาชิกกลุ่มที่ 3
1. รหัสนิสิต 63361474 นายชัยสิทธิ์ จันทรา
2. รหัสนิสิต 63361566 นางสาวโชติกา คำไตรย์
3. รหัสนิสิต 63361603 นางสาวฐนิดา สถตินันท์
4. รหัสนิสิต 63361627 นายฐานวัฒน์ อธินพคุณพงศ์
5. รหัสนิสิต 63361757 นางสาวณภัสร จันมี
6. รหัสนิสิต 63361818 นายณัฐกิตติ์ สืบแก้ว
7. รหัสนิสิต 63361832 นางสาวณัฐจิรา เจริญบุญ
8. รหัสนิสิต 63361900 นายณัฐดนัย ทาแกง
9.รหัสนิสิต 63362020 นายณัฐภัทร กอคูณกลาง
10.รหัสนิสิต 63362181 นายดนุภพ ทะลอย
11. รหัสนิสิต 63362259 นายถกลกฤษณ์ เครือทิพย์
12. รหัสนิสิต 63362402 นายธดลเทพ สุวรรณเกิด
เสนอ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทิพย์วิมล แตะกระโทก
รายวิชา 304352 ปฏิบัติการปฐพีกลศาสตร์ Soil Mechanics Laboratory
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ประจำปีการศึกษา 2565
Test 6 Constant Head Test

ทฤษฎี

การไหลซึมของน้ำผ่านมวลดิน เป็นแบบ “Laminar Flow” ผ่านช่องคดเคี้ยวระหว่างเม็ดดิน ใน


ขณะเดียวกันแรงดันของน้ำก็จะเสียไปเพราะแรงเสียดทานของผิวช่องเม็ดดิน Darcy นักวิทยาศาสตร์ชาว
ฝรัง่ เศสได้เสนอกฎแห่งการไหลซึมไว้ว่า “ความเร็วของการไหลซึมของของเหลวผ่านตัวกลางพรุน (เช่นมวล
ดิน) จะเป็นปฏิภาคกับไฮดรอลิคเกรเดียน (Hydraulic Gradient)”

v α i (สมการที่ 1)
หรือ v = ki

เมื่อ
v = ความเร็วของการไหลซึม (LT-1)
i = ไฮดรอลิคเกรเดียน = Δ.h/Δ.y
k =ความซึมน้ำของตัวกลาง ซึง่ เป็นค่าคงที่ (LT-1)
Δh = ความต่างของระดับน้ำ (Head Difference) ในช่วงความยาวของการซึม ΔL

จากสมการที่ 1 จะนำไปใช้ในงานวิเคราะห์ปญ ั หาทางการไหลซึมของน้ำผ่านชั้นดิน ได้เกือบทุกแบบ สิง่ สำคัญ


คือ ค่าคงที่ที่เป็นคุณสมบัตเิ ฉพาะของชั้นดินทีเ่ รียกว่า ค่าความซึมน้ำ (Permeability) ซึง่ จะขึ้นอยูก่ ับอิทธิพล
ของสิ่งต่อไปนี้

1. ขนาดและรูปร่างของเม็ดดิน (Grain Size and Shape) แท้ที่จริงแล้วค่าความซึมน้ำควรจะขึ้นอยู่กบั ขนาด


และรูปร่างของช่องว่างระหว่างเม็ดดินมากกว่า แต่คุณสมบัติทั้งสองของมวลดินมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด
เช่น ดินที่มีเม็ดเล็กบางและเป็นแผ่น ช่องว่างที่น้ำซึมผ่านก็มกั จะมีลักษณะเช่นเดียวกัน Allen Hazen ได้เสนอ
ว่าในทรายและกรวด ค่าความซึมน้ำสามารถสัมพันธ์กบั ขนาดเม็ดดังนี้

K = 100 D210 ซม./ วินาที (สมการที่ 2)

เมื่อ D10 = ขนาดเม็ดเมื่อมี 10 เปอร์เซ็นต์ โดยน้ำหนักเป็นเม็ดที่เล็กกว่าทีร่ ะบุ (ซ.ม.)


2. ความหนืดของของเหลวทีซ่ ึมผ่าน (Viscousity of Pore Fluid) ในทางวิศวกรรมโยธามักเกี่ยวข้องกับน้ำ
เท่านั้น แต่ความหนืดของน้ำก็อาจเปลี่ยนแปลงได้เนื่องจากอุณหภูมิ และมักจะยึดถือเอาความหนืดทีอ่ ุณหภูมิ
20 °c เป็นเกณฑ์ เมื่ออุณหภูมิสงู ขึ้น ความหนืดจะลดลง ทำให้น้ำซึมผ่านได้ง่าย ดังนั้น ค่าความซึมน้ำ ณ
อุณหภูมิต่าง ๆ อาจมีความสัมพันธ์กบั ที่ 20 °c ดังนี้

kT = k20 × (η20 ÷ ηT) (สมการที่ 3)

เมื่อ η20, ηT เป็นความหนืดของน้ำที่อุณหภูมิ 20 °c และ T °c ตามลำดับ

3. อัตราส่วนของช่องว่าง (Void Ratio) คือ อัตราส่วนของช่องว่างระหว่างดินต่อปริมาตรเม็ดดิน เช่นในทราย


หลวม น้ำย่อมไหลสะดวกกว่าทรายอัดแน่น มีผู้พยายามค้นคว้าหาความสัมพันธ์ของค่าความซึมน้ำกับ
อัตราส่วนช่องว่าง เช่น

k = c × [e3/(1+e)] (สมการที่ 4)

4. ความอิ่มตัวของมวลดิน (Degree of Saturation) เมื่อมวลดินไม่อิ่มตัว ย่อมจะมีฟองอากาศคอยกั้นช่องว่าง


ทำให้น้ำไหลซึมไม่สะดวก ดังนั้นในการทดลองในห้องปฏิบัตกิ ารจึงมักใช้ตัวอย่างดินที่อมิ่ ตัว เพื่อหลีกเลี่ยง
อิทธิพลนี้

ในการทดลองหาค่าความซึมน้ำอาจทำได้หลายวิธี เช่น แบบความดันน้ำคงที่ (Constant head) หรือความดัน


น้ำเปลี่ยนไป (Variable head) หรือแม้แต่ทดสอบในสนาม ดังนั้นการเลือกใช้วิธีทดลองจึงมีส่วนสำคัญ ซึง่
พอจะแนะนำได้ดังนี้

ตารางที่ 1 วิธีทดสอบหาค่าความซึมน้ำที่เหมาะสม
รูปที่ 1 การทดสอบความซึมน้ำโดยวิธีความดันคงที่

รูปที่ 1 แสดงการทดลองหาค่าความซึมน้ำโดยวิธีความดันคงที่ จากสมการที่ 1 ถ้าพื้นที่หน้าตัดของตัวอย่างดิน


เท่ากับ A ดังนั้นปริมาณน้ำที่ไหลผ่านตัวอย่างดินจะเท่ากับ

เมื่อ : Q = vA = kiA (สมการที่ 5)


K = ค่าความซึมน้ำของตัวอย่างดิน ซึง่ ต้องการทราบ
i = ไฮโดรลิค เกรเดียน = h/L
เมื่อแทนค่า i แล้วหาค่า k ในเทอมตัวแปรต่าง ๆ จะได้

k = QL/Ah (สมการที่ 6)

เมื่อ Q = ปริมาณน้ำที่วัดระหว่างการทดสอบ, ซม.3/วินาที


L = ความยาวของตัวอย่างดิน, ซม.
A = พื้นที่หน้าตัดตัวอย่างดิน, ซม.2
h = ความต่างของระดับน้ำ (ดังรูปที่ 1), ซม.
ในกรณีที่ใช้ความดันเข้าช่วย h = p/γw ดังนั้นสมการ 6 จะเป็น

k = (Q × L × γw)/AP (สมการที่ 7)

รูปที่ 2 แสดงการทดลองหาค่าความซึมน้ำโดยวิธีความดันเปลี่ยน โดยใช้ความดันจากความสูงของระดับน้ำใน


หลอดแก้ว (Burette) ซึง่ มีพื้นทีห่ น้าตัด a และระดับน้ำจะลดลงเรื่อยๆ ในระหว่าการทดลอง ถ้าเราพิจารณาที่
ช่วงเวลาใดๆ dt โดยระดับน้ำในหลอดแก้วลงลง dt จากสมการ 1

รูปที่ 2 การทดสอบความซึมน้ำ โดยวิธีความดันเปลี่ยน


สมการที่ 8

สมการที่ 9
เมื่อ
a, A = พื้นที่หน้าตัดของหลอดแก้วและ ตัวอย่างดิน ตามลำดับ, ซม.2
L = ความยาวของตัวอย่างดิน, ซม.
T = เวลาที่ทำการทดลองปล่อยให้ระดับ น้ำตกจาก ระดับ h1 ถึงระดับ h2, วินาที
h11, h2 = ระดับน้ำเมือ่ เริ่มจับเวลา และระดับน้ำเมื่อเวลาผ่านไป 0 และ T วินาที ตามลำดับ, ซม.

เอกสารอ้างอิง (Reference)
1.1 American Society for Testing and Material. Annual Book of ASTM Standard. 1995 p.
192-196
1.2 Bowles, J.E. Engineering Properties of soil and Their Measurement. 1970 p. 113-120
1.3 Braja M. Das(1998). Principles of Geotechnical Engineering. p. 159-226
1.4 วรากร ไม้เรียง จิรพัฒน์ โซติกไกร และประทีป ดวงเดือน. ปฐพีกลศาสตร์. 2525. หน้า 94-10

วัตถุประสงค์ (Objectives)
เพื่อหาคำสัมประสิทธิ์การซึมผ่าน (Hydraulic Conductivity) ของตัวอย่างดิน Cohesionless
(granular) ด้วยวิธี Constant Head Test
หลักการ (Principals)

ในการทตสอบด้วยวิธีนี้เป็นการทดสอบหาความซึมน้ำโดยใช้ความดันจากความสูงของระดับน้ำใน
หลอดแก้ว จะจัดให้ระดับน้ำของทางเข้าและทางออกมีระดับแตกต่างกันอย่างคงที่ และหลังจากปล่อยให้น้ำ
ไหลซึมผ่านด้วยอัตราเร็วคงที่ จนกระทัง่ มีปริมาณน้ำที่ไหลลงไปในกระบอกตวงตามจำนวนที่กำหนด
จะสามารถคำนวณหาปริมาณน้ำที่ไหลซึมผ่านมวลดินลงสู่กระบอกตวง ดังแสดงได้ต่อไปนี้

𝑄 = 𝐴𝑣𝑡

จากความสัมพันธ์ Darcy's law 𝑣 = 𝑘𝑖

จะได้ 𝑄 = 𝐴(𝑘𝑖)𝑡
4. อุปกรณ์ (Apparatus)
4.1 แผงเครื่องมือทดสอบการซึมผ่าน
4.2 กระบอกทดสอบการซึมผ่าน (Permeablity Cell)
4.3 กระบอกตวง 1000 cm'
4.4 นาฬิกาจับเวลา
4.5 ปรอทวัดอุณหภูมิ
4.6 กรวย
4.7 ตาชั่ง (balance)
4.8 สายวัด
4.9 กระป้องใส่ตัวอย่างดิน
5. วิธีการทดลอง (Method)
5.1 การเตรียมตัวอย่างดิน Cohesionless (granular) soil

หมายเหตุ
𝛾 = ความหนาแน่นของตัวอย่างดิน
𝑊𝑠 = มวลของตัวอย่างดิน
𝑉𝑝 = permeameter volume (𝑐𝑚3 )
5.2 การทดสอบแบบระดับน้ำคงที่ (Constant Head Test)
6. ข้อมูลที่วัดในห้องทดลอง (Measured Data)

6.1 ความยาวของตัวอย่างดิน (L)


6.2 เส้นผ่าศูนย์กลางของตัวอย่างดิน (D)
6.3 มวลของตัวอย่างดินที่บรรจุในแบบบดอัดดิน (Wms )
6.4 มวลของแบบบดอัดดิน (W)
6.5 Constant Head (h)
6.6 เวลา (T)
6.7 ปริมาณน้ำที่ไหลผ่านมวลดินตัวอย่างในช่วงเวลา t (Q)
6.8 อุณหภูมิ (T)
7. ผลการทดสอบ

Sample height L (cm) 7.1 Mass of mold + soil 𝑾𝑴𝑺 (gm) 3218

Sample diameter D (𝒄𝒎𝟐 ) 6.4 Mass of mold 𝑾𝑴 (gm) 2805.5

Sample area A (cm) 32.17 Mass of soil 𝑾𝑺 (gm) 412.5

Type of sample compacted soil Density of soil 𝝆(𝒕/𝒎𝟑 ) 1.806

Falling Head Permeability Test : Area of standpipe a (𝒄𝒎𝟐 ) 1.646


Trial No 𝐡𝟏 𝐡𝟐 Time 𝑸𝒐𝒖𝒕 𝑻 Trail 𝐡𝟏 𝐡𝟐 Time
(cm) (cm) (sec) (cm )
3
(℃) NO. (cm) (cm) (sec)
1 62 22.5 53.13 65 28 1 62 22.5 53.13
2 62 22.5 53.20 65 28 2 62 22.5 53.20
3 62 22.5 53.47 65 28 3 62 22.5 53.47
4 62 22.5 54.26 65 28 4 62 22.5 54.26
5 62 22.5 54.70 65 28 5 62 22.5 54.70
a = (65) / (62-22.5) = 1.646 𝑐𝑚2 Average value 62 22.5 53.752
Hydraulic Conductivity , k (cm/sec) 0.007

8. ตัวอย่างการคำนวณ (Sample of Calculation)

8.1 Sample area , A


𝜋𝐷2
𝐴=
4

𝜋(6.42 )
=
4

= 32.17 𝑐𝑚2
8.2 Mass of Soil, 𝑾𝒔
𝑊𝑆 = 𝑊𝑀𝑆 − 𝑊𝑀

= 3218 − 2805.5

= 412.5 𝑔𝑚

8.3 Density of soil, 𝝆


𝑊𝑆
𝜌=
𝑉𝑆

1556.9
=
(45.6 ∗ 20.3)

= 1.682 𝑔𝑚/𝑐𝑚3

8.4 Hydraulic Conductivity, K


ℎ1
(2.303 ∗ 𝑎 ∗ 𝐿 ∗ log ( ))
ℎ2
𝐾=
𝐴∗𝑇

62
(2.303 ∗ 1.646 ∗ 7.1 ∗ log ( ))
= 22.5
32.17 ∗ 53.75

= 0.007
วิเคราะห์ผลการทดสอบ

วิเคราะห์ผลจากการทดสอบหาค่า Hydraulic Conductivity , (K) ทราบได้ว่าค่า K นั้นแปรผันตรงกับ


a (area) , L (ความยาว) และแปรผกผันกับ A (area) และ T (time)

สรุปผลการทดสอบ
จากการทดสอบพบว่า ได้ค่า Hydraulic Conductivity , (K) เท่ากับ 0.007 𝑐𝑚3 /𝑠𝑒𝑐
ภาคผนวก

You might also like