Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 11

การทดลองที่ 7

Compaction Determination Test


จัดทาโดย
สมาชิกกลุ่มที่ 3
1. รหัสนิสติ 63361474 นายชัยสิทธิ ์ จันทรา
2. รหัสนิสติ 63361566 นางสาวโชติกา คาไตรย์
3. รหัสนิสติ 63361603 นางสาวฐนิดา สถตินันท์
4. รหัสนิสติ 63361627 นายฐานวัฒน์ อธินพคุณพงศ์
5. รหัสนิสติ 63361757 นางสาวณภัสร จันมี
6. รหัสนิสติ 63361818 นายณัฐกิตติ ์ สืบแก้ว
7. รหัสนิสติ 63361832 นางสาวณัฐจิรา เจริญบุญ
8. รหัสนิสติ 63361900 นายณัฐดนัย ทาแกง
9.รหัสนิสติ 63362020 นายณัฐภัทร กอคูณกลาง
10.รหัสนิสติ 63362181 นายดนุภพ ทะลอย
11. รหัสนิสติ 63362259 นายถกลกฤษณ์ เครือทิพย์
12. รหัสนิสติ 63362402 นายธดลเทพ สุวรรณเกิด
เสนอ
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ทพิ ย์วมิ ล แตะกระโทก
รายวิชา 304352 ปฏิ บตั ิ การปฐพีกลศาสตร์ Soil Mechanics Laboratory
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ประจาปี การศึกษา 2565
Test 7 Compaction Determination Test

ทฤษฎี
การบดอัดดินเพื่อให้ดนิ มีคุณสมบัตดิ า้ นวิศวกรรมดีขน้ึ จะสัมพันธ์โดยตรงกับ d ของดิน ดินทีม่ ี
d
ทีส่ ูงขึน้ ก็จะมีคณ
ุ สมบัตทิ างวิศวกรรมทีด่ ขี น้ึ โดยปกติการบดอัดดินจะสัมพันธ์กบั ปริมาณน้า ในดิน
พลังงาน
ในการบดอัด และลักษณะของดิน การเปลีย่ นแปลงปริมาณน้าในดินหรือพลังงานในการบดอัดจะมีผลต่อ
การ เปลีย่ นแปลงต่อ d ของดินบดอัด

พรอคเตอร์ (Procter, 1933) แสดงให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้าในดินทีใ่ ช้บดอัด และ


dทีไ่ ด้หากใช้พลังงานในการบดอัดค่าหนึง่ เส้นกราฟของรูปที่ 5.5.1 เรียกว่าเส้นกราฟการบดอัด
(CompactionCurve) โดยจะมีลกั ษณะโค้งเป็ นรูประฆังคว่า (Hyperbolic curve) จุดสูงสุดของกราฟ
เรียกว่า dสูงสุด (Maximum Dry Density) ปริมาณน้าในการบดอัดทีใ่ ห้ dสูงสุดเรียกว่า ปริมาณน้าที่
เหมาะสมหรือปริมาณความชืน้ ทีเ่ หมาะสม (Optimum Water ContentหรือOptimum Moisture
Content)
รูปที่ 10.5.2 แสดงลักษณะของเม็ดดินทีถ่ ูกบดอัด

จากรูป ทีเ่ ปอร์เซ็นต์ความชื้นของดินต่า (Low water content) เม็ดดินจะถูกล้อมรอบไปด้วย


แผ่นฟิ ล์มบางๆของน้า เมื่อความชื้นเพิม่ ขึน้ ปริมาณทีเ่ พิม่ เข้าไปจะท้าให้เม็ดดินสามารถทีจ่ ะถูกบดอัด
ได้ง่ายขึน้ และอากาศภายในดิน (Void) จะถูกแทนทีด่ ว้ ยน้าเหล่านัน้ ส่งผลให้ค่า Dry density เพิม่ มาก
ขึน้ โดยน้าจะถูกเพิม่ ไปเรื่อยๆกระทั ่งถึงจุดทีเ่ ม็ดดินจะถูกบดอัดจนถึงสภาวะทีแ่ น่นทีส่ ุด เมื่อเพิม่ น้าเข้า
ไปอีก มันจะกลับท้าให้เกิดการผลักกันของเม็ดดิน ท้าให้ดนิ หลวม ส่งผลให้ค่าความหนาแน่นลดลง จึง
ท้าให้ค่า dลดลงตามไปด้วยจากลักษณะความสัมพันธ์ของดินทีบ่ ดอัดกับปริมาณน้าทีถ่ ูกเพิม่ เข้าไป
ดังทีก่ ล่าวข้างต้นสามารถเขียนเป็ น Phase Diagram ของดินได้ดงั นี้

รูปที่ 10.5.3 Phase Diagram ของดิน

เอกสารอ้างอิ ง (Reference)
1) Braja M. Das(1998). Principles of Geotechnical Engineering. P. 104-158
2) Head, K.H.(1980). Manual of Soil Laboratory Testing. P. 268-310
3) American Society for Testing and Material. Annual Book of ASTM Standard. 1995 p.
118-125
4) วรากร ไม้เรียง, จิรพัฒน์ โชติกไกร และประทีป ดวงเดือน. ปฐพีกลศาสตร์. 2525.หน้า 59-68
5) วิศษิ ฐ์ อยู่ยงวัฒนา. ปฐพีกลศาสตร์ Soil Mechanics.ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยรังสิต, 2545.

วัตถุประสงค์ (Objectives)
1) เพื่อทดสอบหาความสัมพันธ์ระหว่างเปอร์เซ็นต์ความชื้น (Water Content) กับความหนาแน่น
(Density) ของดินตัวอย่างทีไ่ ด้จากการบดอัด
2) เพื่อทดสอบหาค่าความชื้นทีเ่ หมาะสมทีใ่ ช้บดอัด (Optimum Water Content)
3) เพื่อทดสอบหาค่าความหนาแน่นสูงสุด (MaximumDry Density)
อุปกรณ์(Apparatus)
1) แบบหล่อดิน (Compaction Mold)4” 4.6” หรือ 6” 5.0” พร้อมด้วยปลอก(Collar) ขนาด
เดียวกัน และแผ่นฐาน
2) ค้อนบดอัด (Hammer) ขนาด 5.5 ปอนด์ หรือขนาด 10 ปอนด์
3) ตะแกรงร่อน เบอร์ 4 (Standard Proctor Test) ตะแกรงร่อน เบอร์ 43นิ้ว (Modified Proctor
Test)
4) ค้อนยาง, แปรงอ่อนใช้ปัดดิน
5) ช้อนตักดิน
6) บรรทัดเหล็กปาดดิน
7) ถาดผสมดิน
8) ตาชั ่ง (Balance) ชั ่งได้ละเอียด 0.1 กรัม และ 0.01 กรัม
9) เตาอบ(Oven) ทีส่ ามารถควบคุมอุณหภูมใิ ห้สูงถึง 105C ได้อย่างสม่าเสมอ
10) กระป๋ องใส่ตวั อย่างดิน (Can)
11) เครื่องดันตัวอย่างดิน(Sample Ejector)
12) กระบอกตวง
รูปที1่ 0.5.7 เครื่องมือทีใ่ ช้ในการทดลองการบดอัด

วิธีการทดลอง(Method)
การเตรียมตัวอย่างดิน

ตัวอย่างดินแปลงสภาพร่อนผ่านตะแกรงเบอร์ 4 หนักประมาณ 3 – 5 กิโลกรัมแล้วผึง่ ให้แห้ง


โดยอากาศ หรือดินทีไ่ ด้จากการเก็บตัวอย่างในสนาม

1) นาตัวอย่างดินทีไ่ ด้จดั เตรียมไว้มาเทลงในถาดผสมดิน ใช้คอ้ นยางทุบดินทีเ่ กาะอยู่ออกจากกัน


ถ้าตัวอย่างเป็ นดินเหนียว ผึง่ ให้แห้งแล้วทุบให้ละเอียดหรืออาจใช้เครื่องบด
2) พิจารณาตัวอย่างของเม็ดดิน เพื่อเลือกใช้ Mold ให้เหมาะสมกับขนาดของเม็ดดิน ถ้าตัวอย่าง
เป็ นดินเม็ดเล็ก ให้ร่อนผ่านตะแกรงเบอร์ 4 ใช้กบั Mold ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 105 ม.ม. ถ้า
เม็ดดินมีขนาดใหญ่กว่า ตะแกรงเบอร์ 4 ให้ร่อนผ่านตะแกรงขนาด 3/4 นิ้ว (19.05 ม.ม.) ใช้กบั
Mold ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 152.4 ม.ม. โดยส่วนทีค่ า้ งตะแกรงขนาด 3/4 นิ้ว ให้แทนทีด่ ว้ ยดิน
ทีผ่ ่านตะแกรงขนาด 3/4 นิ้วและค้างตะแกรงเบอร์ 4 ในปริมาณทีเ่ ท่ากัน
3) ประมาณปริมาณความชื้นทีเ่ หมาะสม ตามวิธกี ารดังต่อไปนี้

วิธีการทดสอบ
1) วัดขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง, ความสูงของ Mold เพื่อหาปริมาตรของดินใน Mold จากนัน้
ประกอบ Mold และ Base plate พร้อมชั ่งน้าหนัก
2) นาตัวอย่างดินทีเ่ ตรียมไว้อย่างน้อย 3 กิโลกรัมสาหรับทดสอบแบบมาตรฐานและ 5
กิโลกรัมสาหรับการทดสอบแบบสูงกว่ามาตรฐาน โดยเริม่ ผสมน้าให้มคี วามชื้น ตาม
ค่าทีไ่ ด้จากขัน้ ตอนการเตรียมตัวอย่างแล้วคลุกเคล้าให้เข้ากัน
3) 3. ตักดินใส่ Mold ทีป่ ระกอบไว้แล้ว โดยกะให้ความสูงในแต่ละชัน้ เท่า ๆ กันโดยมี
จานวน 3 ชัน้ สาหรับ Standard และ 5 ชัน้ สาหรับ Modified เมื่อบดอัดครบจานวนชัน้
แล้วให้ดนิ พ้นขอบ Mold ขึน้ ไปประมาณ 1 - 2 ซม.
4) ใช้คอ้ นหนัก 5.5 ปอนด์สาหรับบดอัดแบบมาตรฐานและ 10 ปอนด์สาหรับบดอัดแบบสูง
กว่ามาตรฐาน บดอัดดินใน Mold แต่ละชัน้ ให้ท ั ่วทัง้ Mold บดอัดชัน้ ละ 25 ครัง้ สาหรับ
Moldขนาด 105 ม.ม. และ 56 ครัง้ สาหรับ Mold ขนาด 152.4 ม.ม. โดยให้ Mold วาง
อยู่บนพืน้ คอนกรีตเรียบ
5) ถอดปลอก (Collar) ออกแล้วใช้เหล็กปาดดิน (Straight Edge) ปาดดินทีเ่ กินขอบ Mold
ออก และแต่งผิวดินให้เรียบ ใช้แปรงขนอ่อนปัดเศษดินทีค่ า้ งอยู่ออกให้หมดแล้วนาไป
ชั ่งน้าหนัก
6) ดันแท่งตัวอย่างดินออกจาก Mold แล้วผ่ากลางตามแนวตัง้ เพื่อเก็บตัวอย่างตามแนวผ่า
ประมาณ 100 กรัม ไปอบเพื่อ หาค่าปริมาณความชื้น (Water Content)
7) ใช้คอ้ นยางทุบก้อนดินทีเ่ หลือให้แตกออกจนร่วน แล้วผสมน้าเพิม่ อีก 2 - 3 % คลุกเคล้า
ให้เข้ากันทั ่ว แล้วทดสอบซ้าตามข้อ 4 - 6 จนกระทั ่งน้าหนักดินเริม่ ลดลง แล้วทดลอง
เพิม่ อีกครัง้ เพื่อให้ได้กราฟทาง ด้านเปี ยกจานวนครัง้ ในการทดสอบไม่ควรเกิน 5 – 6
ครัง้

ตารางการทดสอบ
Mold Vol(cc) 994 cm3

กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Water content กับ Dry unit weight (gd)

Optimum Water Content, WOPT (%) 18.88 Maximum dry unit weight d MAX (kN/m3)
15.096

ตัวอย่างการคานวณ
Compute Water Content (%.w)

%w = × 100

= ×100

= ×100

= 5.06

WW = (mass of can + wet soil) - (mass of can + dry soil)

= WCWS - WCDS

= 96.90 – 93.11

= 3.79 g

WDS = (mass of can + dry soil) - (mass of can)

= WCDS - WC

= 93.11 – 18.25

= 74.86 g

Mass of wet soil in Mold, WWS


WWS = (mass of wet soil + mold) - (mass of mold)

= 5957 – 4407

= 1550 g

Wet Unit Weight , gT

gT = (density of soil) * 9.807

= rT * 9.807

rT =

= 1.550 g/cc

gT = 1.550 × 9.807

= 15.201 kN/m3

Dry Unit Weight , gD

gD =

= 14.468 kN/m3

วิเคราะห์ผลการทดสอบ

จากการทดสอบกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Water content กับ Dry unit weight (gd)


ดังนี้

ค่าของ Maximum dry unit weight จะอยู่ทคี่ ่าของ Optimum Water Content เท่ากับ18.88%

สรุปผลปฏิ บตั ิ การ

จากการทดสอบพบว่า ได้ค่า Optimum Water Content เท่ากับ 18.88 % และได้ค่า

Maximum dry unit weight เท่ากับ 15.096 kN/m3

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก.รูปภาพแสดงการเตรียมตัวอย่าง
รูปภาพที่ 1 ร่อนผ่านตะแกรงเบอร์ 4 รูปภาพที่ 2 ใช้คอ้ นยางทุบดินทีเ่ กาะอยู่ออกจากกัน

ภาคผนวก ข.รูปภาพแสดงการทดสอบ

รูปภาพที่ 3 ผสมน้าให้มีความชื้น ตามค่าทีไ่ ด้จาก รูปภาพที่ 4 บดอัดดินใน Mold แต่ละชัน้ ให้ทวั ่


ทัง้
ขัน้ ตอนการเตรียมตัวอย่างแล้วคลุกเคล้าให้เข้ากัน Mold บดอัดชัน้ ละ 25 ครัง้

You might also like