Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 16

รายงาน

การทดสอบที่ 2
Water Content and Atterburg’Limit
วันที่ทาการทดลอง 6 กรกฎาคม 2565
กลุ่มที่ 3

ผู้จัดทา
63362259 นายถกลกฤษณ์ เครื อทิพย์

เสนอ
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ทิพย์วิมล แตะกระโทก

ครูช่างผู้ควบคุม
ครู ช่างชัยวัฒน์ กล่าแย้ม
ครู ช่างอภิชาต สุโยธีธนรัตน์

รายวิชา 304352 ปฏิบัติการปฐพีกลศาสตร์ Soil Mechanics Laboratory


ภาควิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
ภาคเรียนที่ 1 ประจาปี การศึกษา 2565
การทดลองที่ 2 (ตอนที่ 1)
Water Content Determination
ทฤษฎี
ความชื้นของดินตามธรรมชาติหรื อปริ มาณน้ าในมวลดิน เป็ นการทดสอบพื้นฐานที่จะให้ข ้อมูล
เกี่ยวกับสภาพของดิน ค่าพิกัดแอตเตอร์เบอร์ก (Atterberg Limits) ต่างๆ ที่ทดสอบก็คือค่าความชื้นในดิน
โดยสถานะต่างกับความชื้น ตามธรรมชาติของดิน การทดสอบความชื้ นของดินจึงมีค วามจาเป็ นในงาน
ทดสอบดิน
หลักการทดสอบหา water content ประกอบด้วย 2 ส่วนหลัก ดังรู ป คือ
1. การหาน้ าหนัก น้ า ( Ww ) ที่มีอยู่ในตัว อย่างดิ น ทดสอบ โดยการน าตัว อย่างดิ น ทดสอบ (ที่มี
ความชื้น ที่ตอ้ งการหาค่า water content) ไปอบในเตาอบ ที่ต้งั อุณหภูมิคงที่ ~ 105 °C นาน ~ 24 ชัว่ โมง
2. การหาน้ าหนักดินแห้ง (𝑊𝐷𝑆 ) หลังจากน้ าที่มีอยู่ในตัวอย่างดินทดสอบ ได้ถูกอบจนแห้ง
ตามที่กล่าวในข้อที่ 1

รู ปภาพประกอบหลักการทดสอบหา water content ในตัวอย่างดิน


วัตถุประสงค์
เพื่อหาค่าปริ มาณความชื้น (water content, w) ในตัวอย่างดินที่ใช้ทดสอบ
มาตรฐานการทดสอบ
มาตรฐาน ASTM D2216-98
อุปกรณ์
1. กระป๋ องใส่ตวั อย่างดิน (can)
2. เตาอบ (oven) ที่สามารถควบคุมอุณหภูมิให้สูงถึง 105 ◦C ได้อย่างสม่าเสมอ
3. ตาชัง่ (balance) ที่สามารถชัง่ น้ าหนักได้ละเอียดถึง 0.01 กรัม
วิธีการทดสอบ
1. เตรี ยมตัวอย่างดิน (เปี ยก) ที่จะใช้ทดสอบ (soil test specimen)

2. ชัง่ น้ าหนัก can ที่จะใช้ใส่ test specimen ให้เป็ น 𝑊𝑐


3. นา test specimen ใส่ can แล้วนาไปชัง่ น้ าหนัก และบันทึกค่าเป็ น 𝑊𝑐𝑤𝑠

4. นา can ที่มี test specimen ไปอบที่อุณหภูมิ105–110 °C นาน 15 – 24 ชัว่ โมง

5. นา can และ test specimen ทีอ่ บแห้งแล้ว ออกจากเตาอบมาชัง่ น้ าหนัก ให้เป็ น 𝑊𝐶𝐷𝑆

6. คานวนหาค่า water content


Ww
w= × 100%
Ws
WCWS −WCDS
w= × 100%
Ws

หมายเหตุ :
1. ตัวอย่างดินที่ใช้อบหาความชื้น ควรมีน้ าหนักอย่างน้อย 30 กรัมขึ้นไปสาหรับตาชัง่ ที่อ่านได้ถึง
0.1 กรัม และ 5 กรัมขึ้นไป สาหรับตาชัง่ ที่อ่านได้ถึง 0.01 กรัม
ข้อมูลที่จะต้องวัด สาหรับแต่ละตัวอย่างทดสอบประกอบด้วย

1) น้ าหนัก can (Wc)

2) น้ าหนัก can และ (ดินเปี ยก) test specimen (WCWS )

3) น้ าหนัก can และ test specimen ที่ถูกอบแห้งแล้ว (WCDS )


ผลการทดสอบ
Water Content Determination
Test No. 1 2 3
Weight of can Wc (gm) 9.807 10.906 8.270
Weight of can + wet soil WCWS (gm) 40.860 52.712 44.572
Weight of can + dry soil WCDS (gm) 38.120 48.742 40.641
Weight of water Ww (gm) 2.740 3.970 3.931
Weight of dry soil WDS (gm) 28.313 37.836 32.371
Water content W (%) 9.678 10.493 12.144

Note: 1. Ww = WCWS − WCDS 2. WDS = WCDS − WC

3. W = (WWDSw ) × 100

ตัวอย่างการคานวณ
Sample of Calculation for Test No. 1
Weight of can = Wc = 9.807 gm
Weight of can + wet soil = WCWS = 40.860 gm
Weight of can + dry soil = WCDS = 38.120 gm
Weight of water = WW = 40.860 – 38.120 = 2.740 gm
Weight of dry soil = WDS = 38.120 – 9.807 = 28.313 gm
Water content, w = W = 2.740 gm
(28.313 gm) × 100% = 9.678 %
การนาไปใช้ งาน
Water content เป็ นหนึ่งในคุณสมบัติทางกายภาพ (physical properties) ของดินสามารถ
นาไปใช้ได้ดงั นี้
1.เป็ นตัวบ่งชี้ (index) ถึง strength และ deformation ของดิน โดยเฉพาะหากได้มกี าร
รายงาน water content ไว้พร้อมกับ Liquid Limit, Plastic Limit และ Shrinkage Limit

รู ป Atterberg Limit (Das, 2001)

2.ใช้ในการคานวณที่เกีย่ วกับ Weight-Volume Relationship ในความสัมพันธ์ของสมการ


γ = (W/V) = (WS + WW)/V = WS [1+ (WW / WS)] / V = WS (1 + w) / V
3.ใช้หาค่า Optimum Water Content ในการทดลองการบดอัด (Compaction โดยวิธีการ วิเคราะห์
จากกราฟซึ่งมีค่า Dry Density เป็ นแกนตั้ง และ Water Content (%) เป็ นแกนนอน
วิเคราะห์ผลการทดสอบ
สรุปผลการทดสอบ
การทดลองที่ 2 (ตอนที่ 2)
Atterberg Limits Determination
ทฤษฎี
จุดเปลี่ยนสถานภาพ หรื อ ลิมิตของมวลดิน ถูกเสนอขึ้นเป็ นครั้งแรกโดยนักวิทยาศาสตร์ชาวสวีเดน
ชื่ อ A.Atterberg โดยมีอยู่ด้ว ยกัน 5 ลิมิต คือ Cohesion limit, Sticky Limit, Shrinkage Limit, Plastic Limit,
และ Liquid Limit แต่ ภ ายหลังมาใช้ประโยชน์ ทางด้านปฐพีกลศาสตร์เพียง 3 ลิมิต สุ ด ท้ายเท่านั้น ซึ่ งใน
ปั จ จุบัน ทางด้านวิศวกรรมโยธาจะใช้กันอยู่ 3 ขีด จ ากัด คือ ขีด จ ากัดการไหลตัว ขีด จ ากัด พลาสติกและ
ขีดจากัดการหดตัว ซึ่งค่าขีดจากัดเหลวและขีดจากัดพลาสติก จะใช้พิจารณาในการจาแนกดิน สภาพกาลัง
ของดิน ประมาณการทรุ ดตัวของดินแบบอัดตัวคายน้ าและประมาณความหนาแน่นสูงสุดจากการบดอัดดิน
ได้ ส่วนค่าขีดจากัดการหดตัวจะใช้พิจารณาการเปลี่ยนแปลงปริ มาตรของดินจากปริ มาณความชื้นที่มีอยู่ใน
ดินที่มีการเปลี่ยนแปลงไป
ดินพวกเม็ดละเอียดโดยเฉพาะดินเหนียว จะมีสมบัติเปลี่ยนไปตามปริ มาณที่มีอยู่ในมวลดินและ
ปริ มาณน้ าในดินนี้จะมีความสาคัญต่อสถานภาพของดิน ซึ่งจะทาให้ดินอยู่ในสภาพต่างๆกัน ความชื้นใน
มวลดินมีอิทธิพลสูงต่อการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติของดิน ทั้งในด้านการเปลี่ยนสถานะภาพ (เช่นน้ ามากดิน
เป็ นของเหลว, น้ าน้อยดินเป็ นของแข็ง) และการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางวิศวกรรม เช่น ความแข็งแรงของดิน
ฐานรากมีค่าลดลงเมื่อมีน้ ามาก อิทธิพลเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงความชื้นดังกล่าวมีผลมากต่อดินที่มีขนาด
เม็ดละเอียดได้แก่ดินที่เรี ยกว่าดินเหนียว (Cohesive Soil) ทั้งนี้แรงยึดเกาะระหว่างเม็ดดินหรื อความเหนียว
ดังกล่าวเกิดจากการดึงดูดระหว่างประจุไฟฟ้าที่อยู่ในเม็ดดิน ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง
ความชื้น สาหรับดินที่มีขนาดเม็ดดินใหญ่ (Coarse Grain Soil) อิทธิพลของการดึงดูดเนื่องจากประจุไฟฟ้ามี
ค่าน้อย ความเหนียวจึงไม่มี ดินประเภทนี้จึงมีการเปลี่ยนแปลงไม่มากเมื่อความชื้นในดินเปลี่ยนแปลงไป
ความชื้นในมวลดิน ณ จุดขณะเปลี่ยนสภาพ เรี ยกว่าขอบเขตสถานะภาพ เช่นเป็ นปริ มาณความชื้นที่ดินจะ
เริ่ มไหลเหมือนของเหลว ซึ่ งเป็ นสมบัติเฉพาะของมวลดินนั้นๆ นอกจากจะใช้เป็ นตัวบอกสมบัติพ้ืนฐาน
แล้ว ยังใช้ในการจัดจาแนกหมวดหมู่ และคาดคะเนสมบัติทางวิศวกรรรมของดินอีกด้วย
รู ปภาพประกอบความสัมพันธ์ของปริ มาตรกับความชื้นในดิน
จะแสดงในรู ป Phase Diagram ณ ตาแหน่งต่างๆของดิน ดังนี้

Atterburg Limit

1.ตัวอย่าง A ดินเหนียวผสมน้ ามีความชื้น (Water Content) สูงดินมีลกั ษณะคล้ายของเหลว (Liquid


State)
2. ตาแหน่ง B จุด Liquid Limit (LL) เป็ นตาแหน่งที่ความชื้น (Water Content) ของดินขณะเปลี่ยน
สภาพจากของเหลว (Liquid State) เป็ นสารหนืดตัวในสถานภาพพลาสติก (Plastic State)
3.ตาแหน่ง C จุด Plastic Limit (PL) เป็ นตาแหน่ งที่ความชื้น (Water Content) ของดินขณะเปลี่ยน
สถานภาพจากพลาสติก (Plastic State) เป็ นกึ่งของแข็ง (Semi-Solid State)
4.ต าแหน่ง D จุด Shrinkage Limit (SL) เป็ นต าแหน่งที่ความชื้น (Water Content) ของดิ น เปลี่ยน
สถานภาพจากกึ่งของแข็ง (Semi-Solid State) เป็ นของแข็ง (Solid State) และจะไม่มีการหดตัวหรื อไม่มีการ
เปลี่ยนแปลงปริ มาตรของดินอีก นัน่ คือจะมีอากาศเข้ามาแทรกในดินแทนที่ปริ มาตรน้าที่หายไป
5.ต าแหน่ง E เป็ นสภาวะจากที่ดินไม่อิ่มตัวจนกระทั่งเปลี่ยนเป็ นไม่มีความชื้ น (Water Content)
เหลืออยู่ในดินเลย
วัตถุประสงค์
เพื่อหาค่า Liquid Limit (LL), Plastic Limit (PL) ซึ่งเป็ นคุณสมบัติทางฟิ สิกส์ (Physical Property)
ของดิน เพื่อเป็ นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงปริ มาณความชื้น (Water Content) กับการ
เปลี่ยนแปลงสถานะของดิน
มาตรฐานการทดสอบ
จิรัฏฐ์ ลักษณะละม้าย คู่มือปฏิบตั ิการปฐพีกลศาสตร์ฉบับเสริ มทักษะการทางานจริ ง 2544
-ASTMD 423-66
-ASTMD 424-59
-ASTMD 427-61
อุปกรณ์
1. อุปกรณ์ทดสอบ Liquid Limit (LL)
2. เครื่ องมือบาก ( Grooving Tool )
3. แผ่นแก้วขนาดใหญ่ใช้ทดสอบหาค่า Plastic Limit (PL)
4. น้ ากลัน่
5. ตาชัง่ (Balance) ความละเอียด 0.01 กรัม และ 0.1 กรัม
6. ตูอ้ บแห้ง (Oven)
7. ถ้วยแก้ว หรื อ กระป๋ องใส่ดินตัวอย่าง (Can)
8. มีดปาดดิน
วิธีการทดสอบ
Liquid Limit
1.เตรี ยมตัวอย่างดินโดยร่ อนตัวอย่างดินแห้งผ่านตะแกรงเบอร์ 40 ปริ มาณ 200 กรัมโดยแบ่ง
ตัวอย่างดินประมาณ 50 กรัม ไว้ทดสอบ

2.ผสมตัวอย่างดินเข้ากับน้ าโดยความข้นเหลวของตัวอย่างดินมีลกั ษณะ

3.นาตัวอย่างดินใส่ถว้ ยทองเหลืองแล้วบากตัวอย่างดินด้วยเครื่ องมือบากให้เป็ นรอยบากในแนวตรง


กลางหนา 1

4.เคาะถ้วยทองเหลืองด้วยอัตรา 2 ครั้ง/วินาที จนกระทัง่ ดินตอนล่างของรอยบากเคลื่อนตัวมา


บรรจบกันเป็ นแนวยาว 1
5.ปาดแต่งตัวอย่างดินใหม่แล้วทดสอบการเคาะอีกครั้ง โดยหากการเคาะมีจานวนครั้งเท่ากันหรื อ
ห่างกันไม่เกิน 2 ครั้งให้ นาดินตรงบริ เวณรอยบากไปหาความชื้น (Water Content)
6.ผสมน้ าเพิ่มในตัวอย่างดิน แล้วเคาะให้จานวนลดน้อยลงชุดละประมาณ 10 ครั้งแล้วนาดินไปหา
ความชื้น (Water Content) โดยทดสอบจนได้จานวนครบจานวนชุดของการเคาะ

8.พลอตกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจานวนครั้งของการเคาะกับความชื้น
(Water Content)
9.หาค่าความชื้น (Water Content) จากกราฟระหว่างจานวนครั้งการเคาะกับความชื้นโดยจานวนครั้ง
ของการเคาะ 25 ครั้ง คือตาแหน่งของค่า Liquid Limit (LL)

หมายเหตุ :
1. การเคาะชุดแรก ควรจะมีจานวนครั้งของการเคาะประมาณ 40 – 50 ครั้ง เพื่อสะดวกต่อการ
ทดสอบโดยเมื่อผสมน้ าเพิ่มเข้าไปในดินจะได้จานวนครั้งของการเคาะที่ลดลง
2. ในการเคลื่อนตัวของดินมาบรรจบกัน ควรพิจารณาว่าต้องไม่ใช่การเลื่อนตัวระหว่างดินกับถ้วย
เพราะลักษณะของการเคลื่อนตัวของดินเช่นนี้ไม่ใช่การเปลี่ยนแปลงภายในของดิน ดังนั้นในการทดสอบดิน
ที่อยู่รอบๆจะต้องยึดอยู่กบั ผิวถ้วยเช่นเดิม
3. จานวนครั้งของการเคาะครั้งสุดท้ายควรประมาณ 5 – 10 ครั้งเพื่อสะดวกต่อการพลอตกราฟโดย
กราฟจะคลอบคลุมช่วงของจานวนการเคาะที่ตอ้ งการหาได้ (จานวนครั้งของการเคาะ 25 ครั้ง)

Plastic Limit
1.เตรี ยมตัวอย่างดินที่เหลือจากการทดสอบ Liquid Limit (LL) โดยผึ่งตัวอย่างดินให้แห้งหมาดๆ
2.คลึงตัวอย่างดินให้เป็ นแท่งยาวมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 เซนติเมตรแล้วคลึงให้แท่ง
ตัวอย่างดินมีขนาดเล็กลงจนกระทัง่ ผิวเริ่ มแตกปริ โดยรอบ
3.ขนาดของแท่งดินขณะเริ่ มแตกใหญ่กว่า 1 หุน (1/8นิ้ว) แสดงว่าดินแห้งเกินไปและหากขณะแตก
ดินเล็กกว่า 1 หุน (1/8นิ้ว) แสดงว่าดินเปี ยกเกินไปต้องปรับความชื้นของดินตัวอย่าง
4.นาแท่งตัวอย่างดินไปอบหาความชื้น (Water Content) โดยความชื้นที่ได้คือค่า Plastic Limit (PL)

5.ทาการทดสอบเหมือนเดิมซ้ าอีกครั้งเพื่อหาค่าเฉลี่ย

ผลการทดสอบ
Liquid Limit (LL)
Test No ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 4
Container No. 1/2 2/1 3/1 4/1
No. of blows N 14 18 30 47
Mass of can, WC (gm) 18.7 18.4 19.2 22.1
Mass of can + wet soil, WCWS (gm) 28 27.9 26.7 27.0
Mass of can + dry soil, WCDS (gm) 25.9 25.8 25.1 25.0
Mass of water Ww (gm) 2.1 2.1 1.6 2.0
Mass of dry soil WDS (gm) 7.2 7.4 5.9 2.9
Water content w (%) 29.17 28.38 27.12 25.32
Note : 1. Ww = WCWS - WCDS 2. WDS = WCDS - WC 3. W = (Ww /WDS ) × 100
29.5 29.17
29
28.38
28.5

Water Content,W (%) 28


27.5 27.12
27.7
27
26.5
26
25.32
25.5
25
0 10 20 30 40 50
No. of blows,N

Plastic Limit (PL)


Test No ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 Average LL = 27.7 %
Container No. 5/1 6/1
PL = 21.67 %
Mass of can, WC (gm) 18 18.3
Mass of can + wet soil, WCWS (gm) 21 22 PI = 6.03 %
Mass of can + dry soil, WCDS (gm) 20.5 21.3
Mass of water Ww (gm) 0.5 0.7
Mass of dry soil WDS (gm) 2.5 3
Water content w (%) 20 23.33 21.67

ตัวอย่างการคานวณ
➢ Liquid Limit (LL) ใช้ขอ้ มูลการทดสอบครั้งที่ 1
Ww = WCWS - WCDS WDS = WCDS - WC

= 28-25.9 = 25.9-18.7
= 2.1 gm Ans = 7.2 gm Ans
W
w = W w × 100
DS

2.1
= 7.2 × 100
= 29.17 % Ans
➢ Plastic Limit (PL) ใช้ขอ้ มูลการทดสอบครั้งที่ 1
Ww = WCWS - WCDS WDS = WCDS - WC

= 21-20.5 = 20.5-18
= 0.5 gm Ans = 2.5 gm Ans

W
w = W w × 100
DS
0.5
= 2.5 × 100
= 20 % Ans

PL = Avg. %w PI = LL-PL
20+23.33
= = 27.7 % - 21.67%
2

= 21.67 % Ans = 6.03 % Ans

ตารางค่าดัชนีความเหนียว (Plastic Index, PI)

การคัดเลือกวัสดุทาง
วิเคราะห์ผลการทดสอบ
จากการทดสอบนั้นสามารถวิเคราะห์ได้ว่าดินที่มนี ้ าผสมในปริ มาณที่พอดีน้นั จะทาให้ดินมีคุณสมบัติในการ
รับแรงที่ดี แต่หากน้ ามีปริ มาณที่มากหรื อน้อยเกินไปก็จะทาให้ดินนั้นรับแรงได้ไม่ดีพอ

สรุปผลการทดสอบ
จากการทดสอบได้ค่า Liquid Limit ที่ตาแหน่งการเคาะที่ 25 ครั้ง เท่ากับ 27.7 %

You might also like