Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 17

การแข่งขันโต้เถียงปั ญหากฎหมายโดยการแถลงการณ์ด้วยวาจา ในชัน


อุทธรณ์

รอบภายใน มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ประจำปี การศึกษา ๒๕๖๕

สรุปย่อคำแถลงการณ์ฝ่ายจำเลย

สำนักวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

ทีม ๓
นายถิรชัย หล่อวนาวรรณ ( ทนายจำเลยคนที่ ๑ )

นางสาวอ้อนตะวัน ศิริม่วง ( ทนายจำเลยคนที่ ๒ )

จำนวนคำ ๙๓๘

สรุปย่อคำแถลงการณ์ฝ่ายจำเลย

ประธานกราบเรียน ศาลอุทธรณ์ที่เคารพ ข้าพเจ้านายถิรชัย หล่อ


วนาวรรณ ทนายความจำเลยคนที่ 1 ขอประธานกราบเรียนแถลงการณ์
ด้วยวาจาต่อศาลอุทธรณ์ เพื่อประกอบดุลพินิจในการพิจารณาพิพากษา
ของศาลด้วยเหตุผมทางข้อกฎหมายและข้อเท็จจริงดังต่อไปนี ้ เมื่อวันที่
15 มีนาคม พ.ศ. 2566 เวลากลางวัน มีงานเสวนาเพื่ออภิปรายข้อดีและ
ข้อเสียของระบบโต้ะในมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง แต่เนื่องด้วยภาวะการณ์
แพร่ระบาดของเชื้อโรค จึงต้องจัดงานผ่านแอปพลิเคชั่น Webex โดยมีผู้
ร่วมเข้าฟั งเป็ นนักศึกษาของณะนิตศ
ิ าสตร์ทุกคน รวม 999 คน โดยผู้ดูแล
จะส่งลิงก์ที่ใช้ในการเข้าถึงห้องสนทนาทางอีเมลของนักศึกษาแต่ละคน
ระหว่างเสวนาโจทก์ร่วมเห็นว่าตนกำลังเสียเปรียบ ด้วยความโมโหจึง
กล่าวว่าจำเลย ว่า “วัน ๆ ไม่เข้าเรียน จะไปรู้อะไร เอาไว้ให้สอบได้
คะแนนนมากกว่าชัน
้ ก่อนแล้วค่อยมาออกความเห็น” จำเลยจึงกล่าว
ถ้อยคำสวนกลับโจทก์ไปว่า “อีหน้าโง่ ที่มึงสอบได้คะแนนเยอะมึงโกง
ข้อสอบ” โดยเพื่อนนักศึกษาทุกคนที่ร่วมฟั งเสวนาได้ยินคำพูดดังกล่าว
ทัง้ นีน
้ ำสืบได้ว่า ระหว่างการเสวนามีบุคคลอื่นนอกจากนักศึกษาคณะ
นิติศาสตร์ เข้าร่วมฟั งการเสวนาด้วย พนักงานอัยการโจทก์จึงยื่นฟ้ อง
นางสาว มาลี มีลก
ู แมวเหมียว ว่ามีความผิดฐานหมิ่นประมาทโดยการ
โฆษณาและดูหมิ่นซึ่งหน้า ขอให้ลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 328 และ 393 ระหว่างการพิจารณาในศาลชัน
้ ต้น นางสาวจริงใจ
รักจริง ยื่นคำร้องขอเข้าเป็ นโจทก์ ศาลชัน
้ ต้นอนุญาต การกระทำของ
จำเลยทำให้โจทก์ร่วมและครอบครัวเสียชื่อเสียง และทำให้โจทก์ร่วมถูก
ยกเลิกทุน คิดเป็ นค่าเสียหายรวม 100,000 บาท และขอให้บังคับจำเลย
ชำระเงิน 100,000 บาท พร้อมดอกเบีย
้ ร้อยละ 5 ต่อปี นับแต่วันทำ
ละเมิดจนกว่าจะชำระเสร็จแก่ผู้ร้อง ศาลชัน
้ ต้นพิจารณาแล้วเห็นว่า การก
ระทำของจำเลยเป็ นความผิดฐานดูหมิ่นโจทก์ร่วมซึ่งหน้า หรือด้วยการ
โฆษณา และความผิดฐานหมิ่นประมาทโจทก์ร่วมด้วยการโฆษณา จำเลย
ต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่โจทก์ร่วมด้วย เมื่อข้อเท็จจริงรับ
ฟั งว่า บิดาของโจทก์ร่วมเป็ นอาจารย์ในคณะนิติศาสตร์ดังกล่าว และ
โจทก์ร่วมถูกยกเลิกทุนโดยมีจดหมายขอยกเลิกทุนมาแสดง เห็นควร
กำหนดค่าเสียหายเพียง 90,000 บาท แต่เนื่องจากโจทก์มีส่วนร่วม
กระทำความผิดจึงไม่เป็ นผู้เสียหายโดยนิตินัย ให้ยกคำขอเข้าร่วมเป็ น
โจทก์

ทัง้ นีศ
้ าลชัน
้ ต้นมีคำพิพากษาว่า จำเลยมีความผิดตจามประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา 328 จำคุก 1 ปี ปรับ 50,000 บาท พร้อม
ดอกเบีย
้ อัตราร้อยละ 5 ต่อปี นับแต่วันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2566 ค่าฤชา
ธรรมเนียมในส่วนแพ่งให้เป็ นพับ และให้จำเลยโฆษณาขอขมาผู้เสียหาย
ในหนังสือพิมพ์เป็ นเวลา 3 วัน โดยให้จำเลยออกค่าใช้จ่าย ยกคำร้องขอ
เข้าเป็ นโจทก์ร่วม และข้อหาอื่นขอให้ยกไป

ด้วยความเคารพต่อศาลชัน
้ ต้นจำเลยไม่อาจเห็นพ้องด้วยกับคำ
พิพากษาของศาล จึงได้อุทธรณ์คัดค้านคำพิพากษาของศาลชัน
้ ต้นดัง
ปรากฏตามรายละเอียดที่ได้ย่ น
ื อุทธรณ์ และขอประธานกราบเรียน
แถลงการณ์ด้วยวาจาต่อศาลอุทธรณ์ เพื่อประกอบดุลยพินิจในการ
พิพากษา ด้วยเหตุผลทางข้อกฎหมายและข้อเท็จจริงในประเด็นดังต่อไป
นี ้ 3 ประเด็น คือ ประเด็นแรก ความผิดฐานหมิ่นประมาทโดยการ
โฆษณา ประเด็นที่สอง ศาลชัน
้ ต้นพิพากษาให้จำเลยโฆษณาขอขมาผู้
เสียหายในหนังสือพิมพ์นิติชาวดอยเป็ นเวลา ๓ วัน ประเด็นที่สาม
เรื่องที่ผู้เสียหายเรียกค่าสินไหมทดแทนทางละเมิด

(ยื่น)ประเด็นแรก ความผิดฐานหมิ่นประมาทโดยการ
โฆษณา จากคำพิพากษาศาลชัน
้ ต้น ที่พพ
ิ ากษาว่าจำเลยมีความผิดตาม
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 328

ด้วยความเคารพ จำเลยไม่เห็นพ้องด้วยคำพิพากษาของศาลชัน
้ ต้นดัง
กล่าว เพราะจำเลยไม่ได้กระทำความผิดครบองค์ประกอบตามประมวล
กฎหมายอายามาตรา 328 โดยศาสตราจารย์พิเศษ หม่อมหลวงไกรฤกษ์
เกษมสันต์ ได้วางองค์ประกอบของมาตรา 328 ไว้ในหนังสือคำอธิบาย
ประมวลกฎหมายอาญาภาคความผิด ขออนุญาตยื่นเอกสารหมายจ.. โดย
ความผิดฐานหมิ่นประมาทโดยการโฆษณา มีทงั ้ สิน
้ 3 องค์ประกอบ คือ
1. ผู้กระทำความผิดฐานหมิ่นประมาท 2. กระทำโดยการโฆษณา
กระจายภาพ ป่ าวประกาศด้วยวิธีอ่ น
ื ใด 3. เจตนาธรรมดา จะเห็นได้ว่า
มาตรา 328 เป็ นเรื่องที่ทำให้ผู้อ่ น
ื เสียหายได้อย่างวงกว้างโดยใช้วิธีการ
โฆษณา นอกจากการโฆษณาแล้วยังหมายความรวมถึงการกระทำอื่น ๆ
แต่การที่จำเลยกล่าวถ้อยคำตามฟ้ องแม้จะมีลักษณะที่คล้ายว่าจะครบ
องค์ประกอบตามที่ได้กล่าวมาข้างต้น แต่ข้าพเจ้าขอให้ศาลตัง้ ข้อสังเกต
ในองค์ประกอบที่สองในคดี จำเลยมิได้มีลักษณะเป็ นการโฆษณา ป่ าว
ประกาศ หรือกระจายเสียงแต่อย่างใด ขออนุญาตยื่นเอกสารหมาย ล.1
้ ิพากษา ทนงศักดิ ์ ดุล
จากหนังสือ หมิ่นประมาทและดูหมิ่น ของ ท่านผูพ
ยกาญจน์, สมศักดิ ์ เอี่ยมพลับใหญ่ ได้เขียนไว้ว่า การหมิ่นประมาทด้วย
การกระจายเสียงหรือป่ าวประกาศ มีลักษณะเช่นเดียวกับการโฆษณา
กล่าวคือ เป็ นการทำให้แพร่หลาย และมีการให้คำนิยามของคำว่า “โฆษ
ณา” ตามคำพิพากษาฎีกาที่ 223/2524 ขออนุญาตยื่นเอกสารหมายเลข
ล.2 ตามคำพิพากษาฎีกาดังกล่าว ให้คำจำกัดความว่า การเผยแพร่ออกไป
ยังสาธารณชน การป่ าวร้อง ข้อเท็จจริงนำสืบพบว่า จำเลยมิได้รับรู้ถึง
บุคคลภายนอกที่ได้เข้ามาร่วมฟั งเสวนาในระบบดังกล่าว เป็ นเหตุให้
จำเลยเข้าใจได้ว่าเป็ นการเสวนาเฉพาะกลุ่ม มิได้มีเจตนาป่ าวประกาศ
หรือกระจายเสียงสู่สาธารณชนแต่อย่างใด
ทัง้ การเสวนาดังกล่าว มีการส่งลิงก์การเข้าร่วมเสวนาให้แต่เฉพาะ
นักศึกษาคณะนิตศ
ิ าสตร์จำนวน ๙๙๙ คน เป็ นการเสวนาที่จัดขึน
้ เฉพาะ
กลุ่มหนึง่ กลุ่มใดเท่านัน
้ การกล่าวถ้อยคำของจำเลยเป็ นเพียงเจตนาการ
แจ้งหรือไขข่าวไปยังเฉพาะกลุ่มบุคคลที่อยู่ในการเสวนาเท่านัน
้ การกล่าว
ถ้อยคำของจำเลยจึงไม่ถือว่าเป็ นการหมิ่นประมาทโดยการโฆษณา ดังคำ
1
พิพากษาฎีกาที่ 4291/2548 ขออนุญาตยื่นเอกสารหมายเลข ล.3 โดย
คำพิพากาดังกล่าวมีสาระสำคัญว่า จำเลยในคดีมีเจตนาที่จะใส่ความ
บุคคลที่สามเฉพาะคนเท่านัน
้ การกระทำของจำเลยมิได้มีเจตนาจะหมิ่น

1
คำพิพากษาฎีกาที่ ๔๒๙๑/๒๕๔๘
ประมาทด้วยการโฆษณา และในคดีนก
ี ้ ารที่จำเลยกล่าวถ้อยคำตามฟ้ อง
ภายในกลุ่มเฉพาะนักศึกษาคณะนิติศาสตร์นน
ั ้ จำเลยมิได้มีเจตนาที่จะ
หมิ่นประมาทโดยการโฆษณาแต่อย่างใด จำเลยจึงมิได้กระทำความผิด
ฐานหมิ่นประมาทโดยการโฆษณาแต่อย่างใด ความผิดฐานหมิ่นประมาท
โดยการโฆษณา ผู้กระทำจำต้องเผยแพร่ข้อความอันเป็ นการหมิ่น
ประมาทออกไปยังสาธารณะ หรือประชาชนทั่วไป ดังนัน
้ ตามคำ
พิพากษาฎีกาที่ 5276/2562 ขออนุญาติย่ น
ื เอกสารหมายเลข ล.4 ที่กล่าว
ถึงการส่งข้อความหมิ่นประมาทไปในแอปพลิเคชั่นไลน์ ที่เป็ นกลุ่มเฉพาะ
ไม่ใช่การหมิ่นประมาทโดยการโฆษณา ดังนัน
้ การที่จำเลยกล่าวถ้อยคำ
ตามฟ้ องเป็ นเพียงการกล่าวภายในกลุ่มเฉพาะเท่านัน
้ มิได้ เป็ นการเผย
แพร่ออกไปยังสาธารณะ จำเลยไม่มีความผิดฐานหมิ่นประมาทโดยการ
2
โฆษณา

การที่มีนักศึกษาอื่นสามารถเข้าร่วมฟั งเสวนาดังกล่าวได้นน
ั้
ข้าพเจ้าเห็นด้วยกับข้อโต้แย้งของจำเลยในศาลชัน
้ ต้นว่า เป็ นความรับผิด
ชอบของผู้ดแ
ู ลระบบ โดยอ้างอิงจากเอกสารวิธีการสร้างประชุมออนไลน์
ของ แอปพลิเคชัน Webex ขออนุญาตยื่นเอกสารหมายเลข ล.5 ตาม
เอกสารจะเห็นได้ว่า การสร้างห้องประชุมสามารถที่จะกำหนดให้เป็ นการ
ประชุมที่ผู้ดูแลคัดกรองคนเข้าร่วมในการประชุมออนไลน์ได้หลากหลาย
วิธีด้วยกันแม้จะเกิดเหตุที่นักศึกษาคณะนิติศาสตร์ส่งลิงก์การเข้าร่วม
3
ประชุมดังกล่าวให้แก่บค
ุ คลอื่นที่ไม่ใช่นักศึกษาคณะนิตศ
ิ าสตร์ การจำกัด
ให้มีเพียงแค่นักศึกษาคณะนิตศ
ิ าสตร์เข้ารับฟั งนัน
้ สามารถทำได้หลายวิธี

2
คำพิพากษาฎีกาที่ ๕๒๗๖/๒๕๖๒
3
ku.ac.th, วิธีสร้างการประชุมออนไลน์KU Webex Meeting 1
ดั่งเอกสาร การที่บุคคลนอกจากนักศึกษาคณะนิตศ
ิ าสตร์เข้าร่วมรับฟั งได้
นัน
้ ย่อมเป็ นความผิดของผู้ดูแลระบบ

(ยื่น)ประเด็นที่สาม ศาลชัน
้ ต้นพิพากษาให้จำเลยโฆษณาขอขมา
ผู้เสียหายในหนังสือพิมพ์นิติชาวดอยเป็ นเวลา ๓ วัน โดยให้จำเลยเป็ น
ผู้ออกค่าใช้จ่ายนัน
้ ไม่สอดคล้องกับ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา
๓๓๒ (๒) โดยศาสตราจารย์พิเศษ หม่อมหลวงไกรฤกษ์ เกษมสันต์ ได้
วางคำอธิบายเจตนารมณ์ของมาตรา 332(2) ไว้ในหนังสือคำอธิบาย
ประมวลกฎหมายอาญาภาคความผิด ขออนุญาตยื่นเอกสารหมายจ...
โดยเจตนารมณ์ของมาตรานีค
้ ือ โดยให้โฆษณาคำพิพากษาทัง้ หมดหรือ
บางส่วนในหนังสือพิมพ์ และให้จำเลยชำระค่าโฆษณาอันเป็ นหนีท
้ างแพ่ง
โดยตรง เพื่อบรรเทาความเสียหายให้ผู้เสียหาย การที่จำเลยต้องโฆษณา
ขอขมาผู้เสียหายนัน
้ เป็ นการอันนอกเหนืออำนาจของศาล ตามคำ
พิพากษาฎีกาที่ 2137/2557 ขออนุญาตยื่นเอกสารหมาย ล.8 จะเห็นว่า
กฎหมายให้อำนาจศาลสั่งเฉพาะโฆษณาคำพิพากษาเท่านัน
้ การที่ศาลชัน

ต้นพิพากษาให้จำเลย โฆษณาคำขอขมา เป็ นการลงโทษจำเลยนอกเหนือ
จากโทษที่บัญญัติไว้ในกฎหมาย ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายอาญา
4
มาตรา ๒ วรรคหนึ่ง เป็ นการอันมิชอบ และทำให้จำเลยต้องรับภาระ
หนักขึน
้ โดยการเสียค่าใช้จ่ายในการโฆษณาขอขมานี ้

(ยื่น)ประเด็นที่ห้า เรื่องที่ผู้เสียหายเรียกค่าสินไหมทดแทนทาง
ละเมิด ข้าพเจ้าขอยื่นอุทธรณ์ ยกฟ้ องในเรื่องดังกล่าว ที่ศาลชัน
้ ต้น
พิพากษาให้จำเลยชำระเงิน 50,000 บาท พร้อมดอกเบีย
้ ร้อยละ 5 นับแต่
วันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2566 โดยมีข้อเท็จจริงยุติว่า โจทก์ร่วมมีส่วนยั่วยุ
4
คำพิพากษาฎีกาที่ ๒๑๓๗/๒๕๕๗
ให้จำเลยกระทำความผิดจึงไม่เป็ นผู้เสียหายโดยนิตินัย ศาสตราจารย์ ดร.
ศนันท์กร โสตถิพันธุ์ ได้เขียนไว้ในหนังสือกฎหมายลักษณะละเมิด จัดการ
งานนอกสัง่ ลาภมิควรได้ ได้เขียนในกรณีผู้เสียหายมีส่วนผิดในความเสีย
หายที่เกิดขึน
้ ถ้าผู้เสียหายมีส่วนในความเสียหายน้อยกว่าผู้ทำละเมิด ผู้
ทำละเมิดยังคงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน แต่ต้องส่วนความเสียหายที่ผู้เสีย
หายมีส่วนก่อให้เกิดขึน
้ ออกด้วยจึงจะยุติธรรม แม้การกล่าวถ้อยคำตาม
ฟ้ องของจำเลยจะเป็ นการกล่าวกระทบถึงโจทก์ร่วม เป็ นการด่าด้วยความ
รู้สึกโกรธเพียงเท่านัน
้ จึงไม่ใช่การกล่าวหรือไขข่าว ตามประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์มาตรา 423 เทียบคำพิพากษาที่ 891/2557 ขออนุญาต
ยื่นเอกสาร หมาย ล.10 แต่ถงึ กระนัน
้ ความเสียหายที่โจทก์ร่วมเรียกค่า
สินไหมทดแทนนัน
้ มิได้นำสืบถึงความเสียหายโดยชัดแจ้ง

(ทฤษฎีเงื่อนไข) ในเรื่องทุนการศึกษาระดับปริญญาโทที่โจทก์ร่วม
ได้รับจดหมายยกเลิกทุน ทางโจทก์ร่วมมิได้นำสืบถึงเหตุผลโดยชัดแจ้งว่า
ทางผู้ที่ได้มอบทุนการศึกษาให้แก่โจทก์ร่วมขอยกเลิกทุนเพราะเหตุใด ทัง้
จำเลยมิได้กล่าวหาในถ้อยคำที่จะทำให้โจทก์ร่วมเสียหายถึงขัน
้ ที่จะโดน
ยกเลิกทุน โดยในประเทศไทยมีดุลยพินิจเกณฑ์การให้ทุนการศึกษาระดับ
ปริญญาโทโดยทั่วไปว่า ๑. ต้องเป็ นผู้ที่มีวุฒิปริญญาตรี ๒. ต้องเป็ นผู้ที่มี
5
ผลการเรียนดีเยี่ยม ขออนุญาตยื่นเอกสารหมาย ล.11 ตามหลักของ
ทฤษฎีเงื่อนไขแล้ว แม้การที่จำเลยจะพูด ใส่ความหรือไม่พูดใส่ความ ก็
ไม่ใช่เหตุทำให้โจทก์ถูกยกเลิกทุนโดยตรง ทัง้ ข้อเท็จจริงนำสืบ มิได้
ปรากฏว่า การที่จำเลยกล่าวถ้อยคำดังฟ้ องนัน
้ เป็ นเหตุให้ ผู้ให้ทุนแก่
โจทก์ร่วมตัดสินใจส่งจดหมายขอยกเลิกทุนแต่อย่างใด

5
คำพิพากษาฎีกา ๘๙๑/๒๕๕๗
(ความเสียหายไม่ได้นำสืบ) ทางด้านที่โจทก์ร่วมเรียกร้องเอาค่า
สินไหมทดแทนจากความเสียหายแก่ช่ อ
ื เสียงชื่อเสียงของบิดานัน
้ ไม่
ปรากฏการนำสืบความเสียหายที่ชัดแจ้ง หรือพิสูจน์ว่าความเสียหายนัน

เกิดขึน
้ จริงจากการที่พ่อของโจทก์ร่วมเป็ นอาจารย์คณะนิติศาสตร์
มหาวิทยาลัยดังกล่าว และจำเลยนำสืบได้ว่า จำเลยมิได้กล่าวข้อความใด
ๆ อันเป็ นการพาดพิงหรือสื่อได้ถึงบิดาของโจทก์ร่วม ถึงแม้ว่าจะกล่าว
พาดพิงแต่มิได้หมายความถึงตัวบิดาของโจทก์ร่วมโดยตรง ท่านว่าก็ยังไม่
ถือว่าเป็ นการทำให้เกิดความเสียหายต่อบิดาของโจทก์ร่วม

แก้ ประเด็นที่สี่ ในเรื่องโจทก์ร่วมมิได้เป็ นผู้เสียหายโดยนิตินัย

ตามศาลชัน
้ ต้นวินิจฉัยโดยการตีความว่า โจทก์ร่วมมีส่วนยั่วยุให้
จำเลยกระทำความผิดนัน
้ โจทก์ร่วมจึงไม่เป็ นผู้เสียหายโดยนิตินัยนัน
้ ชอบ
แล้ว และพฤติการณ์ของโจทก์ร่วมไม่เป็ นไปตามความหมายของผู้เสียหาย
โดยนิตินัย โจทก์ร่วมจึงไม่เป็ นผู้เสียหายโดยนิตินัยสำหรับความผิดตาม
ฟ้ อง ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๒ (๔) ไม่มี
อำนาจเข้าร่วมเป็ นโจทก์ร่วมกับพนักงานอัยการตามประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความอาญามาตรา ๓๐ ฉะนัน
้ ที่ศาลชัน
้ ต้นอนุญาตให้โจทก์ร่วม
เข้าร่วมเป็ นโจทก์กับพนักงานอัยการจึงไม่ชอบ

ผู้เสียหายโดยนิตินัย หมายถึง จะต้องไม่เป็ นผู้มีส่วนร่วมในการกระ


ทำผิดหรือไม่เป็ นผู้ยินยอมให้มีการกระทำผิดต่อตนหรือการกระทำผิดนัน

จะต้องมิได้มีมูลมาจากการที่ตนเองมีเจตนาฝ่ าฝื นกฎหมายหรือความสงบ
เรียบร้อย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชนการที่โจทก์ร่วมว่าจำเลยว่า
“วันๆ ไม่เข้าเรียน จะไปรู้อะไร เอาไว้ให้สอบได้คะแนนมากกว่าชัน
้ ก่อน
ค่อยมาออกความคิดเห็น” เป็ นเหตุให้จำเลยโต้ตอบด้วยถ้อยคำตามฟ้ อง
ถ้อยคำของโจทก์เป็ นการใช้สิทธิของตนในการแสดงความคิดเห็นทำให้
ความคิดเห็นของจำเลยที่ได้เปรียบอยู่ในขณะนัน
้ ดูไม่น่าเชื่อถือ และ
ถ้อยคำของจำเลยที่โต้ตอบกลับมาเป็ นการลดทอนความน่าเชื่อถือของ
โจทก์ร่วมเช่นกัน พฤติการณ์ของคู่ความนัน
้ มิใช่การทะเลาะด่าว่ากัน การ
ทะเลาะ มีความหมายว่า การทุ่มเถียงกันด้วยความโกรธ โต้เถียงกัน เป็ น
ปากเสียงกัน ตามข้อเท็จจริงนำสืบของคู่ความ

ข้าพเจ้าเห็นด้วยกับคำพิพากษาของศาลชัน
้ ต้นเป็ นอย่างยิ่ง ตามคำ
พิพากษาฎีกาที่ 3745/2527 ขออนุญาตยื่นเอกสารหมาย ล.9 คำ
พิพากษาฎีกาที่ 3745/2527 นัน
้ มีสาระสำคัญว่า ถ้อยคำของคู่ความทัง้
สองฝ่ ายได้กล่าวใส่กัน เป็ นเรื่องต่างคนต่างด่าว่าซึ่งกันและกัน จึงถือไม่ได้
ว่า โจทก์ร่วมเป็ นผู้เสียหาย โจทก์ร่วมจึงไม่มีอำนาจฟ้ อง จากข้อเท็จจริงที่
ปรากฏนัน
้ โจทก์มีพฤติการณ์ที่เป็ นการก่อให้เกิดการกระทำความผิดของ
จำเลยโดยการกล่าวถ้อยคำว่า “ วัน ๆ ไม่เข้าเรียน จะไปรู้อะไร เอาไว้ให้
สอบได้คะแนนมากกว่าชัน
้ ก่อนแล้วค่อยมาออกความคิดเห็น ” เป็ นเหตุ
ทำให้จำเลยโกรธเป็ นอย่างมากจึงได้กล่าวถ้อยคำโต้ตอบกลับไป โจทก์
ร่วมจึงมิใช่ผู้เสียหายตามกฎหมาย และมิได้เป็ นผู้เสียหายโดยนิตินัยที่จะ
สามารถขอเข้าเป็ นโจทก์ได้และไม่มีอำนาจฟ้ องแต่อย่างใด ตามประมวล
6
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๓๐

6
คำพิพากษาฎีกา ๓๗๔๕/๒๕๒๗
ข้าพเจ้านางสาวอ้อนตะวัน ศิริม่วง ทนายความจำเลยคนที่2 ไม่เห็น
พ้องด้วยกับคำแถลงของ พนักงานอัยการจึงขอแถลงการแก้อุทธรณ์เพิ่ม
เติมเพื่อประกอบดุลยพินิจในการพิพากษาของศาลอุทธรณ์นน
ั ้ ต่อไปนี ้

โดยประเด็นที่ข้าพเจ้าจะแถลงนัน
้ มีทงั ้ สิน

ประเด็นที่ จำเลยไม่ผิดความผิดฐานดูหมิ่นซึ่งหน้าหรือด้วยการ
โฆษณา ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 3 9 3 โดยท่านสหรัฐกิติ
ศุภการได้วางหลักความผิดตามมาตรานี ้ ในหนังสือกฎหมายอาญาและคำ
พิพากษาขออนุญาตเอกสารหมายล.12 ค่ะ ซึ่งความผิดตามมาตรา 393
มี สอง ประการ ประการแรกดูหมิ่นผู้อ่ น
ื ซึง่ หน้า และดูหมิ่นผู้อ่ น
ื โดย
โฆษณา แม้การกระทำของ จำเลย ดูเหมือน ครบองค์ประกอบตาม
มาตรานี ้ แต่ความผิดตามมาตรา 3 9 3 กฎหมายประสงค์จะลงโทษผู้ที่ดู
หมิ่นผู้อ่ น
ื ซึ่งหน้าฝ่ ายเดียวโดยผู้ถูกดูหมิ่นไม่ได้กล่าวร้ายด่าตอบโต้ด้วย
หรือกล่าวคือผู้ถูกดูหมิ่น ต้องเป็ นผู้เสียหายโดยนิตินัยไม่ใช่ผู้เสียหายโดย
พฤตินัย โดยในคดีนี ้ โจทก์ร่วม ไม่เป็ นผู้เสียหายโดยนิตินัย เทียบคำ
พิพากษาศาลฎีกาที่ 3745/2527 ที่ว่าโจทก์กล่าวดูหมิ่นต่อจำเลยก่อน
โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้ อง ขออนุญาตยื่นเอกสารหมายล.9 ฎีกาดังกล่าว
วางหลักว่า ผู้เสียหาย พูดว่าจำเลยว่า จำเลยโกงลำเหมือง จำเลยจึงพูด
โต้ตอบว่า ผู้เสียหายก็โกงเขามาเหมือนกัน ถ้อยคำที่จำเลยกล่าวนัน
้ เป็ น
ถ้อยคำตอบโต้หรือย้อนคำผู้เสียหาย จึงเป็ นเรื่องที่ต่างคนต่างว่าซึ่งกัน
และกันในการทะเลาะโต้เถียง ผู้เสียหายจึงไม่เป็ นผูเ้ สียหายโดยนิตินัย
โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้ อง ในคดีนข
ี ้ ้อเท็จจริงที่ฟังเป็ นข้อยุตินน
ั ้ โจทก์ร่วมมี
ส่วนยั่วยุให้จำเลยกระทำความผิดโดยโจทก์ร่วมได้กล่าวว่าจำเลยก่อนว่า
“วันๆไม่เข้าเรียน จะไปรู้อะไรเอาไว้สอบได้คะแนนมากกว่าชัน
้ ก่อนแล้ว
ค่อยมาออกความคิดเห็น” ศาลชัน
้ ต้นวินิจฉัย ว่าโจทก์ร่วมไม่เป็ นผู้เสีย
หายโดยนิตินัย ให้ยกคำร้องขอเข้าร่วมเป็ นโจทก์ คำวินิจฉัยดังกล่าวชอบ
แล้ว และเมื่อเทียบกับคำพิพากษาดังกล่าว โจทก์ร่วมจึงไม่เป็ นผู้เสียหาย
โดยนิตินัย และไม่มีอำนาจฟ้ อง และคำวินิจฉัยของศาลชัน
้ ต้นที่ว่า
บทบัญญัติมาตรา 393 มีเจตนารมณ์ ป้ องกันเหตุร้ายที่อาจเข้าถึงตัวกัน
ทันทีที่มีการกล่าวดูหมิ่น นัน
้ แล้วตามที่คำพิพากษาฎีกาที่ 3711/2557
ที่วางหลักไว้ว่าคู่ความอยู่คนละจังหวัด จึงไม่ถือว่าเป็ นการดูหมิ่นซึ่งหน้า
ขออนุญาตเอกสารหมายล.7 ฉะนัน
้ แล้วที่ ทนายความฝ่ ายโจทก์ได้
อุทธรณ์ว่าจำเลยกระทำความผิดฐานดูหมิ่นซึ่งหน้าหรือดูหมิ่นด้วยโฆษณา
นัน
้ ย่อมไม่ชอบ ตามความผิดมาตรา 3 9 3 เพราะโจทก์ร่วม มีส่วน ยั่วยุ
ให้จำเลยกระทำผิดค่ะ

ประเด็นที่ว่า จำเลยไม่ต้องรับผิดชดใช้ค่าสินใหม่ทดแทน เพื่อบิดา


ของโจทก์ร่วมและที่โจทก์ร่วมถูกยกเลิกทุนการศึกษา ซึง่ ถ้อยคำของ
จำเลยที่โดนกล่าวหาว่าใส่ความนัน
้ ไม่ได้พาดพิงไปถึง บิดาของโจทก์ร่วม
แต่อย่างใด จากที่พนักงานอัยการได้แถลงไปถึงองค์ประกอบของมาตรา
423 นัน
้ องค์ประกอบที่ว่าเป็ นที่เสียหาย แก่ช่ อ
ื เสียงหรือเกียรติคุณของ
บุคคลอื่น หรือเป็ นที่เสียหายแก่ทางทำมาหาได้หรือทางเจริญของเขาโดย
ประการอื่นก็ดี โดยจำเลยนัน
้ ไม่มีคำไหนที่พูดถึงบิดาของโจทก์ร่วมเลย
และไม่ปรากฏพฤติการณ์ใดใดที่จะสื่อว่าจำเลยพูดถึงบิดาของโจทก์ร่วม
อีกทัง้ โจทก์ร่วมไม่ได้นำสืบถึงความเสียหายที่แท้จริงว่าบิดาของโจทก์ร่วม
นัน
้ เสียหายจากถ้อยคำของจำเลยอย่างไรหรือมากเพียงใด
และกรณีที่โจทก์ร่วมถูกยกเลิกทุน จากข้อเท็จจริงนำสืบที่โจทก์
ร่วมอ้างว่า จำเลยใส่ความโจทก์ร่วม จนเป็ นเหตุให้โจทก์ร่วมถูกยกเลิกทุน
นัน
้ ทนายความจำเลยคนที่ ได้พูดถึงทฤษฎีเงื่อนไขไปแล้วนะ ข้าพเจ้าขอ
กล่าวเพิ่มเติมในทฤษฎีเงื่อนไข ว่าวิธีการใช้ทฤษฎีนี ้ มีอยู่ สอง วิธีคือวิธี
การตัดออกและวิธีการแทนที่ หนึ่ง ในวิธีนน
ั ้ คือใช้วิธีการตัดออก ซึง่ ซึ่ง
วิธีตัดออกเป็ นทฤษฎีที่ใช้ตัดสินใจหลักความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำ
และผลในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน เป็ นไปตามวิทยานิพนธ์เรื่อง
ปั ญหาหลักความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำและผลในทางกฎหมาย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขออนุญาตยื่นเอกสารหมาย ล.13(ยื่น)ประเด็น
ที่ห้า เรื่องที่ผู้เสียหายเรียกค่าสินไหมทดแทนทางละเมิด ข้าพเจ้าขอยื่น
อุทธรณ์ ยกฟ้ องในเรื่องดังกล่าว ที่ศาลชัน
้ ต้นพิพากษาให้จำเลยชำระเงิน
50,000 บาท พร้อมดอกเบีย
้ ร้อยละ 5 นับแต่วันที่ 15 มีนาคม พ.ศ.
2566 โดยมีข้อเท็จจริงยุติว่า โจทก์ร่วมมีส่วนยั่วยุให้จำเลยกระทำความ
ผิดจึงไม่เป็ นผู้เสียหายโดยนิตินัย ศาสตราจารย์ ดร. ศนันท์กร โสตถิพันธุ์
ได้เขียนไว้ในหนังสือกฎหมายลักษณะละเมิด จัดการงานนอกสัง่ ลาภมิ
ควรได้ ได้เขียนในกรณีผู้เสียหายมีส่วนผิดในความเสียหายที่เกิดขึน
้ ถ้าผู้
เสียหายมีส่วนในความเสียหายน้อยกว่าผู้ทำละเมิด ผู้ทำละเมิดยังคงต้อง
ใช้ค่าสินไหมทดแทน แต่ต้องส่วนความเสียหายที่ผู้เสียหายมีส่วนก่อให้
เกิดขึน
้ ออกด้วยจึงจะยุติธรรม แม้การกล่าวถ้อยคำตามฟ้ องของจำเลยจะ
เป็ นการกล่าวกระทบถึงโจทก์ร่วม เป็ นการด่าด้วยความรู้สึกโกรธเพียง
เท่านัน
้ จึงไม่ใช่การกล่าวหรือไขข่าว ตามประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์มาตรา 423 เทียบคำพิพากษาที่ 891/2557 ขออนุญาตยื่น
เอกสาร หมาย ล.10 แต่ถงึ กระนัน
้ ความเสียหายที่โจทก์ร่วมเรียกค่า
สินไหมทดแทนนัน
้ มิได้นำสืบถึงความเสียหายโดยชัดแจ้ง

(ทฤษฎีเงื่อนไข) ในเรื่องทุนการศึกษาระดับปริญญาโทที่โจทก์ร่วม
ได้รับจดหมายยกเลิกทุน ทางโจทก์ร่วมมิได้นำสืบถึงเหตุผลโดยชัดแจ้งว่า
ทางผู้ที่ได้มอบทุนการศึกษาให้แก่โจทก์ร่วมขอยกเลิกทุนเพราะเหตุใด ทัง้
จำเลยมิได้กล่าวหาในถ้อยคำที่จะทำให้โจทก์ร่วมเสียหายถึงขัน
้ ที่จะโดน
ยกเลิกทุน โดยในประเทศไทยมีดุลยพินิจเกณฑ์การให้ทุนการศึกษาระดับ
ปริญญาโทโดยทั่วไปว่า ๑. ต้องเป็ นผู้ที่มีวุฒิปริญญาตรี ๒. ต้องเป็ นผู้ที่มี
7
ผลการเรียนดีเยี่ยม ขออนุญาตยื่นเอกสารหมาย ล.11 ตามหลักของ
ทฤษฎีเงื่อนไขแล้ว แม้การที่จำเลยจะพูด ใส่ความหรือไม่พูดใส่ความ ก็
ไม่ใช่เหตุทำให้โจทก์ถูกยกเลิกทุนโดยตรง ทัง้ ข้อเท็จจริงนำสืบ มิได้
ปรากฏว่า การที่จำเลยกล่าวถ้อยคำดังฟ้ องนัน
้ เป็ นเหตุให้ ผู้ให้ทุนแก่
โจทก์ร่วมตัดสินใจส่งจดหมายขอยกเลิกทุนแต่อย่างใด

(ความเสียหายไม่ได้นำสืบ) ทางด้านที่โจทก์ร่วมเรียกร้องเอาค่า
สินไหมทดแทนจากความเสียหายแก่ช่ อ
ื เสียงชื่อเสียงของบิดานัน
้ ไม่
ปรากฏการนำสืบความเสียหายที่ชัดแจ้ง หรือพิสูจน์ว่าความเสียหายนัน

เกิดขึน
้ จริงจากการที่พ่อของโจทก์ร่วมเป็ นอาจารย์คณะนิติศาสตร์
มหาวิทยาลัยดังกล่าว และจำเลยนำสืบได้ว่า จำเลยมิได้กล่าวข้อความใด
ๆ อันเป็ นการพาดพิงหรือสื่อได้ถึงบิดาของโจทก์ร่วม ถึงแม้ว่าจะกล่าว
พาดพิงแต่มิได้หมายความถึงตัวบิดาของโจทก์ร่วมโดยตรง ท่านว่าก็ยังไม่
ถือว่าเป็ นการทำให้เกิดความเสียหายต่อบิดาของโจทก์ร่วม

7
คำพิพากษาฎีกา ๘๙๑/๒๕๕๗
ค่ะ โดยวิธีการตัดออกเป็ นการสร้างสมมุติฐานขึน
้ มาโดยตัดการกระ
ทำของผู้ทำละเมิด ออกไปและดูผลที่เกิดขึน
้ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงไปหรือ
ไม่ หลังจากที่ตัดการกระทำของผู้ทำละเมิดออกไปแล้วถ้าผลสุดท้ายยัง
เหมือนเดิมถือว่าการกระทำของผู้ทำละเมิดไม่มีส่วนสัมพันธ์กับความเสีย
หาย การกระทำของผู้ทำละเมิดจึงไม่เป็ นการละเมิด ข้าพเจ้าจึงขอให้
ศาลใช้วิธีการตัดออกนีโ้ ดย ใช้สมมุติฐานว่าหากไม่มี ถ้อยคำตามฟ้ องของ
จำเลย ทุนการศึกษาของโจทก์ร่วมจะโดนยกเลิกหรือไม่ ตามที่
ทนายความจำเลยคนที่หนึ่งได้แถลง ได้ความว่าคุณสมบัติส่วนใหญ่ของผู้
ได้รับทุนปริญญาโทนัน
้ หนึง่ ต้องเป็ นผู้จบการศึกษาปริญญาตรี สองต้องมี
ผลการเรียนดี ซึ่งคุณสมบัติดังกล่าวไม่ได้กำหนดว่าต้องมีการประพฤติที่ดี
แต่อย่างใด ฉะนัน
้ หากสมมุติว่าถ้าจำเลยไม่ได้กล่าวข้อความตามฟ้ องนัน

์ ี่จะโดนยกเลิกทุนอยู่ดีค่ะท่าน อีกทัง้ เหตุผลที่ผู้
โจทก์ร่วมก็อาจจะมีสิทธิท
ให้ทุนยกเลิกทุนก็ไม่ได้ปรากฏตามข้อเท็จจริงนำสืบของโจทก์ร่วมแต่
อย่างไร

ฉะนัน
้ จำเลยไม่ต้องรับผิดใช้ค่าสินใหม่ทดแทนเพื่อความเสียหายต่อ
ชื่อเสียงของบิดาของโจทก์ร่วม และที่โจทก์ร่วมถูกยกเลิกทุนการศึกษา

ประเด็นที่ว่า จำเลยไม่ต้องโฆษณาขอขมา ผู้เสียหายในหนังสือพิมพ์


นิติชาวดอยเป็ นเวลาสามวัน ตามคำพิพากษาของศาลชัน
้ ต้น เนื่องจาก
ศาลไม่มีอำนาจสั่ง ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 332(2) วางหลัก
ไว้ว่า ในคดีหมิ่นประมาทที่คำพิพากษาให้จำเลยมีความผิดนัน
้ ศาลสั่งได้
เพียงให้โฆษณาคำพิพากษาทัง้ หมดหรือบางส่วนในหนังสือพิมพ์ ฉะนัน

หากศาลเห็นว่าจำเลยมีความผิดฐานหมิ่นประมาทและให้จำเลยโฆษณา
ขอขมาผู้เสียหายนัน
้ เป็ นคำพิพากษา ที่เกินคำขอตามประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความอาญามาตรา 192 วรรคหนึ่ง เนื่องจากโจทก์ร่วมไม่ได้ย่ น

คำร้องให้จำเลยขอขมาในหนังสือพิมพ์ และเป็ นการลงโทษจำเลยนอก
เหนือจากโทษที่บัญญัติไว้ในกฎหมายต้องห้ามตามมาตรา 2 วรรคหนึ่ง
เป็ นไปตามคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2137 / 2557 ขออนุญาตยื่นเอกสาร
หมายล.8 ค่ะ

ประเด็นที่ว่า จำเลยรอการลงโทษ 1 ปี จำเลยไม่มีความผิดฐานหมิ่น


ประมาทตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 328 และไม่มีโทษ ตามคำ
พิพากษาของศาลชัน
้ ต้นที่รอการลงโทษ 1 ปี เนื่องจากโจทก์ร่วมไม่เป็ นผู้
เสียหายโดยนิตินัย จึงไม่มีอำนาจฟ้ อง

อย่างไรก็ตามหากศาลอุทธรณ์พิจารณาว่าจำเลย น่าจะต้องโทษจำ
คุกให้รอการลงโทษไว้ 1 ปี นัน
้ ข้าพเจ้าขอให้ศาล พิจารณาถึงคำแนะนำ
ของประธานศาลฎีกา ท่านวีระพลตัง้ สุวรรณ ที่ปรากฏในเอกสารการใช้
ดุลพินิจของศาลฯในการกำหนดโทษอาญาโดยศึกษากรณีรอการลงโทษ
จำคุกให้แก่จำเลย เอกสารวิชาการส่วนหนึ่งของการอบรมหลักสูตรผู้
พิพากษาหัวหน้าศาล ขออนุญาตยื่นเอกสารหมายรอค่ะ โดยเอกสารดัง
กล่าววางหลักว่า เมื่อวันที่ 14/ตุลาคม/2559 นายวีระพลตัง้ สุวรรณ
ประธานศาลฎีกา มีคำแนะนำเกี่ยวกับวิธีรอการลงโทษ โดยกำหนด
แนวทางว่า ศาลพึงกำหนดแนวทางการลง โทษ ตามความร้ายแรงของ
การกระทำความผิดและความเสียหายที่เกิดขึน
้ โดยมีการกำหนดโทษหรือ
การรอการลงโทษให้เหมาะสมกับข้อเท็จจริง ที่ศาลทราบจังเลย สำนวน
การสอบสวน และเอกสารต่างๆ โดยเฉพาะกรณีการกระทำความผิดครัง้
แรก และจำเลยไม่สมควรถูกพิจารณากำหนดโทษให้เป็ นมลทินติดตัว
การใช้เดิมมติในการกำหนดโทษตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 56
นัน
้ ไม่จำต้องยึดตามคำ พิพากษาที่เคยพิจารณาพิพากษาในคดีก่อน
เพราะเหตุแห่งปั จจัยการกระทำความผิดที่แตกต่างกันทำให้จำเลยไม่ใช่
ผู้ร้ายโดยสันดานหรือผู้ที่ควรได้รับโอกาสแก้ไขฟื้ นฟูให้กลับตัวเป็ นคนดี
ต้องถูกพิพากษาเชดเชนจ์จำเลยที่เป็ นอาชญากรอาชีพหรือเป็ นผู้กระทำ
ความผิดติดนิสัยที่ศาลได้พิพากษาคดีไปก่อนแล้ว ฉะนัน
้ หากจำเลยมี
ความผิดฐานหมิ่นประมาทจริง และหาก ศาลอุทธรณ์พิพากษาให้จำเลย
ต้องโทษและรอการลงโทษ ข้าพเจ้าขอให้ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามคำ
พิพากษาของศาลชัน
้ ต้น

You might also like