Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 16

การทดลองที่ 3

การออกแบวงจรคอมบิเนชัน
(Combination Circuit Design)

วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม เพื่อใหผูเรียนสามารถ
1. บอกขั้นตอนการออกแบบวงจรคอมบิเนชั่ นได
2. เขียนสมการลอจิกจากตารางความจริงได
3. ลดรูปสมการลอจิกใชทฤษฎีของบูลีนหรือใช แผนผังคารโนหได
4. ทดสอบการทํางานของวงจรคอมบิเนชั นได

ความจําเปนและขอบเขตของการทดลอง
ในการทดลองนี้เปนการทดลองที่ใหผูเรียนไดทราบถึงวิธีการและขั้ นตอนของการ
ออกแบบวงจรคอมบิเนชัน โดยเริ่ม การวิเคราะหปญหาโจทยและกําหนดตัวแปรอินพุตเขียน
ตารางความเปนจริง เขียนสมการลอจิก ล ดรูปสมการลอจิก เขียนวงจรและประกอบวงจรตามที่ลด
รูปได ซึ่งผูเรียนจะตองมีความรูพื้นฐานในการเขียนตารางความเปนจริง วิธีการในการเขียนสมการ
จากตารางความจริง และลดรูปสมการโดยใชพืชคณิตบูลีน หรือใชแผนผังคารโนห (Karnaugh
Map) โดยในการทดลองผูเรียนจะไดมีโอกาสในการออกแบบวงจรตามที่โจทยกําหนดใหครบทุก
ขั้นตอน จึงทําใหผูเรียนเกิดทักษะในการใชพืชคณิตบูลีน หรือแผนผังคารโนหเพื่อลดรูปสมการ
และที่สําคัญก็คือผูเรียนไดทดสอบคุณสมบัติ และการทํางานของวงจรที่ออกแบบวาใหผลลัพธตรง
ตามทีก่ าํ หนดไวหรือไม

ขอมูลพื้นฐานสําหรับการทดลอง
วงจรคอมบิเนชันหมายถึงวงจรที่สรางจากลอจิกเกตที่ไมมีการปอนกลับจากเอาตพุตมายัง
อินพุต และเปนวงจรลอจิกที่ไมมีหนวยความจํา (Memory) แสดงตามบล็อกไดอะแกรมตอไปนี้
Χ0 วงจรคอมบิเนชั่น Υ0
(Combinational
Logic Function)
Χn (X) Υn

รูปที่ 3.1 แสดงบล็อกไดอะแกรมของวงจรคอมบิเนชั น


2

จากบล็อกไดอะแกรมประกอบดวยอินพุต Χ 0 ถึง Χ n และเอาตพตุ Υ0 ถึง Υn โดย


ความสัมพันธของเอาตพุตคือเอาตพุต Y เปนไปตามฟงกชั่นของอินพุต X หรือ Y=F(X)
การออกแบบวงจรคอมบิเนชั น ประกอบดวยขั้นตอนตอไปนี้
1. วิเคราะหปญหาโจทย (Problem Statement Analysis) เปนการพิจารณาโจทยวาโจทย
ตองการอะไร มีกระบวนการหรือขั้นตอนการทํางานอยางไร แลวเปลี่ยนใหเปนตัวแปรลอจิก
ทางดานอินพุต
2. สรางตารางความจริง (Truth Table Construction) เปนการเขียนผลที่เอาตพุตตามการ
เปลี่ยนแปลงของตัวแปรอินพุต
3. เขียนสมการลอจิก (Switching Equations Written) เปนการเขียนสมการลอจิกจากตาราง
ความเปนจริง ซึ่งอาจเขียนใหอยูในรูปของผลบวกของผลคูณ (Sum of Product: SOP) หรือมินเทอม
(Minterm) หรือแบบผลคูณของผลบวก (Product of Sum: SOP) หรือแมกเทอม (Maxterm)
4. ลดรูปสมการ (Equation (s) Simplified) เปนการทําใหสมการที่ไดจากขั้นตอนที่ 3 เหลือ
ตัวแปรนอยที่สุด ซึ่งอาจใชพืชคณิตบูลีน หรือใชแผนผังคารโนห (Karnaugh Map : K-Map)
5. เขียนวงจรลอจิกจากสมการที่ไดจากการลกรูป (Logic Diagram Drawn)
6. ประกอบวงจร (Logic Circuit Built) ตามวงจรที่ได

ปญหาโจทย การใชงานวงจรเตือน (Alarm) ในโรงงานที่ใชสารเคมีจํานวน 3 ถัง โดยแตละถัง


ติดตั้งอุปกรณตรวจจับระดับ (Level Sensor) ทีเ่ อาตพตุ ของตัวตรวจจับจะใหลอจิก
“1” ถาระดับของสารเคมีในถังลดลงต่าํ กวาจุดกําหนด และใหลอจิก “0” ถาระดับ
สารเคมีอยูสุงกวาจุดที่กําหนด
จงออกแบบวงจรเตือน (Alarm) ถาระดับของสารเคมีของ 2 ใน 3 ถัง หรือ ทั้ง 3 ถัง
ลดลงต่ํากวาจุดที่กําหนด

1 2 3
A B C
Alarm Y Indicator
Circuit

รูปที่ 3.2 แสดงบล็อกไดอะแกรมของวงจรเตือน (Alarm)


3

ขั้นตอนการออกแบบวงจร
1. ทําการกําหนดตัวแปรอินพุต
A = สัญญาณจากตัวตรวจจับระดับของสารเคมีในถังที่ 1
B = สัญญาณจากตัวตรวจจับระดับของสารเคมีในถังที่ 2
C = สัญญาณจากตัวตรวจจับระดับของสารเคมีในถังที่ 3
A,B และ C มีคาเปน “0” ถาระดับของสารเคมีอยูในระดับสูงกวาระดับที่กําหนด
A,B และ C มีคาเปน “1” ถาระดับของสารเคมีอยูในระดับต่ํากวาระดับที่กําหนด
2. เขียนตารางความจริง
ใหตัวแปรที่กําหนดเปนตัวแปรอินพุต และแสดงผลตามเงื่อนไขที่กําหนด โดยให
เอาตพุตเปนลอจิก “1” ที่เอาตพุต Y ดังนี้

อินพุต เอาตพุต
A B C Y
0 0 0 0
0 0 1 0
0 1 0 0
0 1 1 1
1 0 0 0
1 0 1 1
1 1 0 1
1 1 1 1

ตารางที่ 3.1

จากตารางความเปนจริง เอาตพุต Y จะเปนลอจิก “1” ถาตัวแปรอินพุตเปนลอจิก


“1” 2 ตัว หรือ 3 ตัว
3. เขียนสมการลอจิกจากตารางความจริง
การเขียนสมการลอจิกจากตารางความเปนจริงสามารถทําได 2 แบบ คือ
1. แบบผลบวกของผลคูณ หรือแบบมินเทอม (Sum of Product or Maxterm
form)
4

2. แบบผลคูณของผลบวก หรือแบบแมกเทอม (Product of Sum or Maxterm


form)

ตัวอยางของมินเทอมและแมกเทอมของตารางความเปนจริงที่มีตัวแปร 3 ตัวแสดงดังนี้

อินพุต มินเทอม แมกเทอม


A B C
0 0 0 __ __ __
A BC A+B+C
0 0 1 __ __
A BC A+B+C
__

0 1 0 __
A BC
__
A+B+C
__

0 1 1 __
A BC
__
A + B+ C
__

1 0 0 A BC
__ __ __
A+ B + C
__

1 0 1 A BC
__ __
A+ B + C
1 1 0 AB C
__ __ __
A + B+ C
1 1 1 ABC
__ __
A + B+ C
__

ตารางที่ 3.2

ถาเขียนสมการบูลีนแบบผลบวกของผลคูณ (Sum of Product) ทําใหไดโดยการนํามิน


เทอมทีเ่ อาตพตุ เปน “1” มาออรกัน เมื่อพิจารณาจากตารางในขั้นตอนที่ 2 สามารถเขียนสมการได
ดังนี้
5

อินพุต เอาตพตุ
A B C
0 0 0 0
0 0 1 0
0 1 0 0
__
0 1 1 1 A BC
1 0 0 0
1 0 1 1 A BC
__

1 1 0 1 AB C
__

1 1 1 1 ABC

ตารางที่ 3.3

__ __ __
ไดสมการ Y= A BC + A B C + AB C + ABC

ถาเขียนสมการบูลีนแบบผลคูณของผลบวก (Product of Sum) ทําใหไดโดยการนําแม็ก


เทอมทีเ่ อาตพตุ เปน “0” มา แอนดกนั ดังนี้

อินพุต เอาตพตุ
A B C
0 0 0 0 A+ B + C
__

0 0 1 0 A+B+C
__

0 1 0 0 A + B+C

0 1 1 1
1 0 0 0
__
A+ B + C
1 0 1 1
1 1 0 1
1 1 1 1
ตารางที่ 3.4
6

__ __ __
ไดสมการ Y = ( A + B + C )( A + B + C )( A + B + C )( A + B + C )

หมายเหตุ สมการ Y ทั้งแบบ SOP และแบบ POS เมื่อนํามาประกอบวงจรแลวจะใหผลที่


เอาตพุต เทากันถึงแมวารูปสมการไมเหมือนกันก็ตาม

4. ลดรูปสมการ
4.1 การลดรูปสมการโดยใชพืชคณิตบูลิน (ใชสมการแบบ SOP)
__ __ __
Y = A BC + A B C + AB C + ABC
__ __ __
= C(A B+ A B) + AB(C+ C)
= C(A ⊕ B) + AB
4.2 การลดรูปสมการโดยใชแผนผังคารโนห (Karnaugh Map)
Karnaugh Mapหรือเรียกสั้น ๆ วา K-Map เปนวิธกี ารหนึง่ ในการลดรูปสมการ
ลอจิก สามารถใช K-Map ลดรูปสมการที่ทีคาตัวแปรหลายตัวแปร แตถามีตัวแปรมากกวา 4 ตัวแปร
การลดรูปสมการไดโยใช K-Map ดังนัน้ สวนมาก K-Map จะถูกใชในการลดรูปสมการที่มีตัวแปร
มากเกิน 4 ตัว ตาราง K-Map จะคลายกับตารางความจริงที่แสดงความสัมพันธระหวางตัวแปรทาง
อินพุต และผลทางเอาตพุตดังตัวอยางในรูปตอไปนี้

ลําดับ อินพุต เอาตพตุ


ที่ A B Y Y
0 0 0 A 0 1
__ B
1 0 1 1 __
A A
0 00 02
00 02
2 1 0 0 B 1 11 13
11 12
3 1 1 1 B

ตารางที่ 3.5 แสดงตารางความจริง ตารางที่ 3.6 แสดงK-Map หรือ K-Map


7

ลําดับ อินพุต เอาตพตุ


ที่ A B C Y __
C C
0 0 0 0 1 __ __
10
1 0 0 1 1 AB
__
11
03
2 0 1 0 0 AB 02

3 0 1 1 0 AB 16 07
___
4 1 0 0 1 AB 14 05

5 1 0 1 0
6 1 1 0 1
7 1 1 1 0

ตารางที่ 3.7 แสดงตารางความเปนจริง ตารางที่ 3.8 แสดง K-Map

Y AB
__ __ __ __
00 01 11 10
C
AB AB AB AB
0 10 16
__
10 16 01 14
C 01 14
1 11 03 07 05
C 11 03 07 05

ตารางที่ 3.9 แสดงK-Map ตารางที่ 3.10 แสดง K-Map


8

ลําดับ อินพุต เอาตพตุ


__ __ __ __
ที่ A B C D Y CD CD CD CD
__ __
0 0 0 0 0 0 AB 00 11 03 02
__
1 0 0 0 1 1 ÄB 14 15 17 06

2 0 0 1 0 0 AB 012 013 115 114


3 0 0 1 1 0
__
AB 08 09 111 010
4 0 1 0 0 1
__ __ __ __
5 0 1 1 0 0 AB AB AB AB
__ __
7 0 1 1 1 1 CD
00 14 012 08
__
8 1 0 0 0 0 CD
11 15 013 09

9 1 0 0 1 0 CD
03 17 115 111

10 1 0 1 0 0 CD
__
02 06 114 010
11 1 0 1 1 1
12 1 1 0 0 0
13 1 1 0 1 1
14 1 1 1 0 1
15 1 1 1 1 1

ตารางที่ 3.11 แสดงตารางความจริง


Y Y AB
CD
00 01 11 10
AB 00 01 11 10 CD
00 00 11 03 02 00 00 14 012 08

01 14 15 17 06 01 11 15 013 09

11 012 013 115 114 11 03 17 115 111

10 08 09 111 010 10 02 06 114 010

K-map
รูปที่ 3.3 แสดงตารางความเปนจริงและตาราง K-Map
9

จากรูปที่ 3.3 แสดงตารางความเปนจริงและตาราง K-Map สําหรับตัวแปรทางดานอินพุต


จํานวน 2.5 และ 4 ตัวแปรตามลําดับ
จากการพิจารณารูปที่ 3.3 จะไดวา
1. ตารางความเปนจริงและ K –Map และแสดงขอมูลที่เหมือนกัน
2. ถาตัวแปรอินพุตเพิ่มขึ้น 1 ตัว จํานวนบรรทัดของตารางความจริงและจํานวน
ชองของ K-Map จะเพิ่มขึ้น 1 เทาตัว
3. K-Map จะเปนชองบรรจุผลลัพธซึ่งตัวแปรของอินพุตจะอยูดานบนและดานขาง
ผลลัพธจะถูกบรรจุ ณ ชองที่ถูกจุดตัดตัวแปรของอินพุต ที่ทําใหเกิดผลลัพธนั้น ดังนั้นในการนําคา
เอาตพุตจากตารางความจริงมาบรรจุ ใน K-Map จะตองกระทําดวยความระมัดระวัง
หลังจากที่นําคาเอาตพุตมาใสลงใน K-Map แลว ขั้นตอไปจะตองวงรอบตัวแปรที่เปน “1”
ที่อยูติดกัน (พิจารณาแบบ มินเทอม ) โดยจะทําการวงรอบตัวแปรที่เปน “1”ที่อยูติดกันเปนจํานวน
8,4,2 หรือ 1 ตัว โดยพิจารณาวงรอบตัวแปรที่อยู ติดกันจากมากไปหานอย หมายความวาถา “1” อยู
ติดกัน 8 ตัว ก็ใหวง 8 ตัว ถา “1” อยูติดกัน 4 ตัว ก็ใหวง 4 ตัว ถา “1” อยูติดกัน 2 ตัว ก็ใหวง 2 ตัว
หรือถาไมติดกันเลยก็ใหวง 1 ตัว จากตารางในขอ 2 เมื่อนําคาจากตารางความเปนจริงมาใสใน
ตาราง K-Map แลววงรอบตัวแปรทีเ่ ปน “1” ที่อยูติดกันจะไดดังนี้

Y AB
AB
00 01 11 10
C
0 0 0 1 0
AC
1 0 1 1 1

AC

รูปที่ 3.4

ไดสมการ Y = AB + AC + BC
10

5. เขียนวงจรลอจิกจากสมการที่ไดจากการลดรูปสมการ
5.1 วงจรลอจิกที่ไดจากการลดรูปสมการโดยใชทฤษฏีบูลีน

Y = C(A ⊕ B) + AB
A
B Y

รูปที่ 3.5

5.2 วงจรลอจิกที่ไดจากการลดรูปโดยใช K-Map

Y = AB + AC + BC

A
B

Y
C

รูปที่ 3.6

เครื่องมือและอุปกรณที่ใชในการทดลอง
1. ชุดทดลองดิจิตอลพรอมสายตอวงจร 1 ชุด
2. ไอซีเบอร 74000 , 7402 , 7408 , 7432 , 7486 อยางละ 1 ตัว
11

ลําดับขั้นการทดลอง
1. ประกอบวงจรตามรูปที่ 3.7 เปลี่ยนคาตัวแปรที่อินพุต A, B และ C บันทึกคาของเอาตพุต
Y1 และ Y2 ตามตารางที่ 3.12

C B A
7408 7432

7486 7408

7408

7408 7432 7432

7408

รูปที่ 3.7

อินพุต เอาตพตุ
A B C Y1 Y2
0 0 0
0 0 1
0 1 0
0 1 1
1 0 0
1 0 1
1 1 0
1 1 1
ตารางที่ 3.12
12

2. จงออกแบบวงจรคอมบิเนชั่ นดังตอไปนี้
ถังเก็บสารเคมีถังหนึ่งประกอบดวยอุปกรณตรวจจับ (Sensor) ดังตอไปนี้
1. อุณหภูมิ (Temperature)
2. ความดัน (Pressure)
3. ระดับของของเหลวในถัง (Fluid Level)
4. น้าํ หนัก (Weight)
สัญญาณเอาตพุตที่ไดจากอุปกรณตรวจจับทั้ง 4 ตัว จะใหลอจิก “1” ถาอุณหภูมิ ความดัน
ระดับของของเหลว และน้ําหนัก มีคามากกวาที่กําหนด และ ใหลอจิก “0” ถามีคาต่ํากวาที่กําหนด
จงออกแบบวงจรเตือน (Alarm) ที่ใหสัญญาณเอาตพุตเปนลอจิก “1” ถาเกิดเหตุการณ
ดังตอไปนี้
1. ระดับของของเหลว อุณหภูมิ และความดัน มีคามากกวาที่กํา หนด
2. ระดับของของเหลว มีคาต่ํากวาที่กําหนด สวน อุณหภูมิ และ น้ําหนัก มีคา
มากกวาที่คามากกวาที่กําหนด
3. ระดับของของเหลวและอุณหภูมิ มีคาต่ํากวาที่กําหนด สวนความดันมีคา
มากกวาที่กําหนด
4. ระดับของของเหลว และ น้ําหนัก มีคาต่ํากวาที่กําหนด สวนอุณหภูมิมี คา
มากกวาที่กําหนด

3. ลําดับขั้นการออกแบบ
3.1 กําหนดตัวแปรทางอินพุต
อุณหภูมิ (Temperature) ใชตัวแปร =_______________
ความดัน (Pressure) ใชตัวแปร =_______________
ระดับของของเหลว(Liquid Level) =_______________
อุณหภูมิ (Temperature) ใชตัวแปร =_______________
น้าํ หนัก (Weight) =_______________

นําคาตัวแปรที่กําหนดไดใสลงในชองอินพุตของตารางความจริง สวน
เอาตพตุ กําหนดใหเปนตัวแปร Y
13

3.2 เขียนตารางความจริง
อินพุต เอาตพตุ
Y

ตารางที่ 3.13

3.3 เขียนสมการ จากตารางความจริงและลดรูปสมการ


Y = ____________________________
= ____________________________
= ____________________________
= ____________________________
= ____________________________
= ____________________________
14

3.4 เขียนวงจรลอจิกจากสมการที่ลดรูปได

รูปที่ 3.13
3.5 ประกอบวงจรตามรูปในการทดลองขอ 3.4 ทดลองเปลี่ยนคาตัวแปรอินพุตบันทึกคา
เอาตพุตที่ไดลงในตารางที่ 3.14
อินพุต เอาตพตุ
Y

ตารางที่ 3.14
15

คําถามทายการทดลอง
1. ผลลัพธที่เอาตพุต Y1 และ Y2 ของการทดลองขอ 1 มีคาเหมือนหรือแตกตางกันอย างไร
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________

2. มีหลักเกณฑในการเลือกวิธีการเขียน และลดรูปสมการโดยใชวิธี Sum of Product หรือ


แบบ Product of Sum อยางไร อธิบายพรอมใหเหตุผลประกอบ
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________

3. การลดรูปสมการโดยใช K-Map แบบ แมกเทอม แตกตางจากแบบมินเทอมอยาไร


อธิบายขัน้ ตอนและวิธดี าํ เนินการ
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
16

สรุปและวิจารณผลการทดลอง
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________

You might also like