Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 22

การปลูก

เมล่อนอินทรีย์
สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยี
และนวัตกรรม
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
การปลูกเมล่อนอินทรีย์
สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
2

สารบัญ
หน้า
1 เมล่อน (Melon) 3
2 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ 4
3 ลักษณะประจาพันธุ์ 6
4 ระยะการเจริญเติบโตของเมล่อน 7
5 ศัตรูพืชและโรคที่พบได้บ่อย 8
6 สารชีวภัณฑ์ 9
กระบวนการเพาะปลูก
เมล่อนอินทรีย์
7 การเพาะเมล็ด 14
9 การเตรียมดิน 15
10 การย้ายกล้าปลูก 15
11 การดูแลหลังการย้ายกล้า 16
12 การเจือจางปุ๋ยและความถี่ในการให้น้า 17
การปลูกเมล่อนอินทรีย์
สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
3

เมล่อน (Melon)
เมล่ อ น ( Melon) มี ช่ ื อท าง วิ ท ยาศ าส ต ร์ คื อ Cucumis
melo L. นั บ เป็ นพื ช ทางเศรษฐกิ จ ที่ ส าคัญให้ นิยมปลู ก เพื่ อ การค้า
เนื่องจากให้ร าคาตอบแทนสูง ถิ่นกาเนิดของเมล่ อนถู ก กล่ า วถึ ง ใน
หลายพื้นที่ เช่น ประเทศอินเดีย แถบกึ่งอบอุ่น และเขตร้อนทางทิ ศ
ตะวันตกของทวีปแอฟริกาใต้ สามารถเจริญเติบโตได้ดีในเขตอบอุ่น
และเขตร้อน ในประเทศไทยเริ่มมีการนาเข้าพันธุ์จากต่างประเทศเพื่อ
ปลู ก ครั้ ง แรกเมื่ อปี พ.ศ. 2478 แต่ ไ ม่ ป ระสบผลส าเร็ จ จนในปี
พ.ศ. 2497 ที่ มีก ารปลู ก ที่ วิท ยาลั ย เกษตรและเทคโนโลยี อ.อรั ญ
ประเทศ จ.สระแก้ ว ซึ่ ง ได้ ผ ลดี จึ ง เริ่ ม มี ก ารขยายและปลู ก อย่ า ง
ต่อเนื่องนับแต่นั้น การปลูกเมล่อนเริ่มแพร่หลายในประเทศไทยในปี
พ.ศ. 2554 เนื่องจากเป็นพืชผลไม้ที่มีรสชาติหวาน และมีกลิน
่ หอมมี
ความต้องการในตลาดสูง
การปลูกเมล่อนอินทรีย์
สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
4

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ใบ ใบเมล่ อ นมี ลั ก ษณะคล้ า ยใบแตงหรื อ ฟั ก ทอง แตกออก


บริ เ วณข้ อ กิ่ ง ข้ อ ละ 1 ใบ เรี ย งสลั บ กั น ก้ า นใบกลวง ยาว 5-10
เซนติเมตร ใบมีขน ฐานใบเว้า ขอบใบหยักเป็นคลื่น ผิวใบขรุขระ ใบ
อ่อนมีขนที่รม
ิ ขอบใบและใต้ใบ เมื่ออายุมากขึ้นจะมาขนใต้ใบลดลง

ราก มี ร ะบบรากแก้ ว รากแขนง และรากฝอยแตกออกห่ า งๆ


ระบบความลึกของรากประมาณ 30 เซนติเมตร

ลาต้น เป็นพืชเถาเลื้อยตามดิน หรือ กิ่งไม้ ลาต้นเป็นไม้เนื้ ออ่อ น มี


ลักษณะกลม ความยาวประมาณ 2-3 เมตร ลาต้นมีหนามคล้ า นขน
ช่วงข้อความยาวประมาณ 15-20 เซนติเมตร บริเวณข้อมีแ ตกกิ่ ง
ย่อยออก และบริเวณข้อย่อยจะแตกใบ และดอก ส่วนซอกใบจะแตก
หนวดสาหรับยึดเกาะขณะเจริญเติบโต

ดอก มี ด อกเพศผู้ ดอกเพศเมี ย และดอกสมบู ร ณ์ เ พศในต้ น


เดียวกัน แต่ส่วนมากมักพบแบบมีดอกเพศผู้ และดอกสมบูรณ์เพศ
โดยดอกเพศผู้ แทงออกที่ซ อกใบบริเ วณแขนงย่ อ ยเกื อ บทุกแขนง
การปลูกเมล่อนอินทรีย์
สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
5

ดอกมีสีเหลืองคล้ายดอกแตงกวา มีกลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบดอก 5


กลีบ อับละอองเกสร 3 อับ และมีก้านเกสรสั้น สาหรับดอกเพศเมีย
และดอกสมบูรณ์เ พศจะแทงออกที่แขนงย่อยข้อแรก ดอกสมบูรณ์
เพศมีกลีบเลี้ ยงสี เ ขี ย ว ส่วนกลีบดอกมีสี เ หลื อง 5 กลีบ อับละออง
เกสรตั ว ผู้ 3 อั บ ล้ อ มรอบเกสรตั ว เมี ย ที่ มี 3-5 แฉก ส่ ว นรั ง ไข่ มี
ลักษณะกลม ยาว 2-4 เซนติเมตร มี 3-5 ห้อง และฐานดอกสมบูรณ์
เพศมีรง
ั ไข่ที่เจริญเป็นผล

ผล ผลเมล่ อ นพั ฒ นามาจากรัง ไข่ จ ากดอกที่ เ กิ ด อยู่ บ นแขนง


ย่ อ ย ผลมี ลั ก ษณะแตกต่ า งกั น ตามสายพั น ธุ์ บางพั น ธุ์ มี ร่ า งแห
ปกคลุม บางพันธุผ
์ ิวเรียบไม่มีรา่ งแห บางพันธุม
์ ีรอ
่ งเป็นทางยาวจาก
ขั้วผลถึงท้ายผล ลักษณะผลทุกสายพันธุ์ค่อนข้างกลมรี ผลมีขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 10-15 เซนติเมตร หนักประมาณ 0.5-2
กิโลกรัม มีสีผิวเปลือกและสีเนื้อแตกต่างกันตามสายพันธุ์ เนื้ออาจมี
สีเหลือง สีเหลืองอมเขียว และสีส้ม ส่วนเมล็ดมีสีน้าตาลเหลือง
การปลูกเมล่อนอินทรีย์
สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
6

ลักษณะประจาพั นธุ์
สายพั นธุ์ ออเร้นจ์แมน กาเลีย ทาคามิ ทิเบต ร้อกกี้เขียว อิชิบะ โคจิ
แหล่งสายพั นธุ์ ญี่ปุ่น เนเธอร์แลนด์ ญี่ปุ่น จีน ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
ลักษณะผล ผลทรงกลม ผลทรงกลม เปลือก ผลทรงกลม ผลทรงรี สี ผลสีเขียวเข้ม รูปทรงรี ผลทรงกลม เปลือกมีสีเขียว
ลายตาข่าย บางมาก ผิวเปลือกสี เปลือกสีเขียวเข้ม เขียมเข้ม ลาย สีเขียวเข้มโดดเด่น เข้มเมื่อสุกสีจะจางลง ผิวผล
สีขาวครีม เขียว ตัดกับสี ตาข่ายละเอียดสี มีตาข่ายนูนสีเทาแบบ
ตาข่ายสีเทา เขียว ละเอียด เปลือกบาง
น้าหนักผลเฉลี่ย 1.7 - 2.0 kg 1.6 - 2.0 kg 1.5 – 2.0 kg 2.0 - 2.5 kg 1.2 – 2.5 kg 1.8 – 2.5 kg
เนื้อและรสชาติ เนื้อสีสม
้ เนื้อสีขาวเขียว เนื้อละเอียด เนื้อสีสม
้ เข้ม เนื้อละเอียดสีเขียว เนื้อสีเขียวปนเหลือง
เนื้อนุ่ม ฉ่าน้า สุกเปลี่ยนเป็นสีส้มอ่อน สีเขียวใส เนื้อกรอบ หวานกรอบ มีกลิ่นหอม เล็กน้อย เนื้อฉ่าน้า มีกลิ่น
เนื้อนุ่ม กลิ่นหอม ปนเหลือง รส หอมมาก
หวาน มีกลิ่นหอม
ระดับความหวาน 16-14 บริกซ์ 14-17 บริกซ์ 14-17 บริกซ์ 13-15 บริกซ์ 14-17 บริกซ์ 14-18 บริกซ์
เฉลี่ย
อายุการเก็บเกี่ยว 45 วัน หลัง 70 วัน หลังเพาะ 40-50 วันหลัง 48-50 วันหลัง 70 วัน หลังเพาะเมล็ด 50-55 วัน หลังผสมเกสร
ผสมเกสร 35-38 วัน หลังผสม ดอกบาน ผสมเกสร
เกสร
จุดเด่น ทนต่อการเปลี่ยนแปลง ทนต่ออากาศเย็น ทนต่อการเปลี่ยนแปลง สามารถปลูกได้ในช่วง
ของสภาพอากาศได้ดี ได้ดี ปลูกได้ในช่วง ของสภาพอากาศได้ดี อุณหภูมิ 25-30 องศา
ทนราแป้ง ผลแข็งแรง อุณหภูมิ 25-30 หลังเก็บเกี่ยวสามารถ เซลเซียส
โตไว ขั้วหลุดยาก องศาเซลเซียส เก็บไว้ได้นาน
ข้อควรระวัง อ่อนแอต่อโรค ทนทานต่อโรคราแป้ง ทนต่อโรคและ อ่อนแอต่อโรค
น้าค้าง และรา แมลงได้น้อย ระบบทางราก
แป้ง
การปลูกเมล่อนอินทรีย์
สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
7

ระยะการเจริญเติบโตของเมล่อน
• เมล่ อ นจั ด เป็ น พื ช ปี เ ดี ย ว (Annual plant) ในประเทศไทยช่ ว ง
ฤดูกาลที่เหมาะสมแก่การเพาะปลูกอยู่ในช่วงปลายฤดูฝน และฤดู
หนาว
• เมล็ดเมล่อนสามารถงอกได้ภายใน 4-7 วัน ในการปลูกสามารถใช้
การแช่น้าและห่อไว้ในที่มืดและอุ่นประมาณ 24 ชั่วโมงในการกระตุ้น
การงอก
• ต้นกล้าเมล่อนพร้อมย้ายปลูกได้เมื่อมีอายุประมาณ 2 สัปดาห์ หรือ
มีใบเลี้ยง 2 ใบและใบแท้ 2-4 ใบ
• เมล่อนมีลักษณะเป็นเถาเลื้อย ต้นโตเต็มมีความกว้างตั้งแต่ 30-
120 เซนติเมตร และมีความยาว (สูง) ต้นในช่วง 1.8 – 2.7 เมตร
• เมล่อนเป็นพืชที่ชอบแสงมาก (6 ชั่วโมงหรือมากกว่า) ชอบดินที่มี
สารอินทรีย์สูง ระบายน้าได้ดี มีค่า pH 6.0 - 7.0
• อายุเก็บเกี่ยวของเมล่อนที่เหมาะสมขึ้น อยู่กั บสายพันธุ์ โดยพัน ธุ์
เบามีอายุการเก็บเกี่ยวหลังหยอดเมล็ด 60-65 วัน พันธุ์ปานกลาง
มีอายุเก็บเกี่ยว 70-75 วัน และพันธุ์หนักมีอายุเก็บเกี่ยวเกินกว่า
80-85 วัน
การปลูกเมล่อนอินทรีย์
สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
8

ศัตรูพืชและโรคที่พบได้บ่อย
โรคราน้าค้ าง หรือ โรคใบลาย เป็นโรคที่พบได้บ่อยในเมล่อนและพื ช
วงศ์ แ ตง เกิ ด จากเชื้ อ Pseudoperonospora cubensis อาการ
ของโรค ท าให้ ใ บเกิ ด ปื้ นเหลื อ งซึ่ง จะเปลี่ ย นเป็ น สี น้ า ตาล โดยเริ่ ม
ขยายจากกลางแผลออกไป ด้ า นหลั ง ของใบอาจปรากฏกลุ่ ม ของ
เส้นใย หากเกิดโรคในระยะให้ผลจะทาให้ความหวานของผลลดลง

โรคเหี่ยว เกิดจากเชื้อ Fusarium oxysporum โดยมีอาการคือต้น


และใบเหลืองพร้อมกันหมด

เพลี้ยไฟ ดูดกินน้าเลี้ยงจากยอดใบอ่อน ทาให้ใบหงิก

แมลงวัน แตง วางไข่ ใ นผล เมื่ อ หนอนฟั ก ออกจากไข่ จ ะกั ด กิ น อยู่


ภายในผล ทาให้ผลเน่าเสีย
การปลูกเมล่อนอินทรีย์
สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
9

สารชีวภัณฑ์
สารชีวภัณฑ์เป็นสารที่ใช้ในการป้องกัน กาจัดศัตรูพืช สารชีวภัณฑ์
ผลิต/พัฒนาจากสิ่งมี ชีวิตทั้ง พืช สัตว์ และจุลินทรีย์ แต่ไม่นับ รวม
สารที่ ส กั ด หรื อ แยกได้ จ ากสิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ เ ป็ น สารเคมี เ ชิ ง เดี่ ย ว เช่ น
ไพรีทรอยด์ นิโคติน และ อะบาเมกติน เป็นต้น

น้าหมักปลา
น้าหมักปลา หรือปุ๋ยปลาหมัก จัดเป็นน้าหมักชีวภาพประเภท
หนึ่ง สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งในการบารุงดิน และเพิ่มผลผลิต
ให้ กั บ พื ช ผั ก ผลไม้ แ ละนาข้ า ว ข้ อ ดี ข องน้ า หมั ก ปลาคื อ เป็ น แหล่ ง
สารอาหารส าหรั บ จุ ลิ น ทรี ย์ ดิ น ช่ ว ยให้ จุ ลิ น ทรี ย์ ใ นดิ น ย่ อ ยสลาย
ซากพื ช ซากสั ต ว์ ไ ด้ ดี นอกจากนั้ น ยั ง มี ธ าตุ อ าหารส าคั ญ ต่ อ พื ช
ครบทั้ ง 16 ธาตุ และกรดอะมิ โ นที่ เ ป็ น แหล่ ง ให้ ธ าตุ ไ นโตรเจนที่ พื ช
สามารถดูดซึมไปใช้ได้ดีกว่าการใช้ปุ๋ยธรรมดา

น้าหมักปลาสูตรหัวเชื้อ
วัสดุอป
ุ กรณ์
1. เศษปลาทะเล 15 กิโลกรัม
2. สับปะรดสับละเอียด 15 กิโลกรัม
3. กากน้าตาล 4 กิโลกรัม
4. ราละเอียด 2 กิโลกรัม
5. ถังหมักมีฝาปิด
6. ไม้พายสาหรับคน
วิธท
ี า
นาเศษปลาทะเล กากน้ า ตาล ร าละเอี ย ด สั บ ปะรด ผสมลงไปในถัง
หมัก เป็นเวลา 3 เดือน และในระหว่างนี้ต้องทาการเปิดคนทุกวัน
การปลูกเมล่อนอินทรีย์
สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
10

น้าหมักปลาสูตรขยาย
วัสดุอป
ุ กรณ์
1. น้าหมักปลาสูตรหัวเชื้อ 12 ลิตร
2. EM สูตรขยาย 60 ลิตร
3. ถังหมักมีฝาปิด
วิธท
ี า
นาส่วนผสมระหว่างน้า หมักปลาสูต รหั ว เชื้อและEM สูตรขยายมาเท
ผสมลงในถังหมั ก ทิ้งไว้ 7 วัน ส่วนการนาไปใช้มี อัตราส่ว น น้าหมั ก
จากเศษปลาสูตรขยาย 200 มิลลิลิตร ต่อน้า 20 ลิตร

EM สูตรขยาย
EM ย่ อ ม า จ า ก Effective microorganisms ห ม า ย ถึ ง
กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพและให้ประโยชน์ในทางการเกษตร มีผล
ช่วยเพิม
่ ประสิทธิภาพในการย่อยสลายสารในดินให้เกิดเป็นสารอาหาร
ให้แก่พืช รวมถึงสามารถใช้ในการป้องกันเชื้อโรค และสร้างภูมิคุ้มกัน
ให้แก่พืช
วัสดุอป
ุ กรณ์
1. หัวเชื้อ EM ½ ลิตร
2. กากน้าตาล 2 ลิตร
3. น้า 60 ลิตร
4. ถังหมักมีฝาปิด
วิธีทา
นาส่วนผสมระหว่างหัวเชื้อ EM กากน้าตาล และน้าเปล่า เทลงในถัง
หมัก ทิง
้ ไว้ 7 วัน
การปลูกเมล่อนอินทรีย์
สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
11

ไตรโคเดอร์มา
เ ชื้ อ ร า ไ ต ร โ ค เ ด อ ร์ ม า มี คุ ณ ส ม บั ติ ใ น ก า ร ยั บ ยั้ ง ก าร
เจริญ เติ บ โต และสามารถท าลายเชื้อ ราที่ เ ป็ น สาเหตุ ข องโรคพื ช ได้
หลายชนิ ด ด้ ว ยการสร้า งเส้ น ใยพั น รัดเส้ น ใยราที่ก่ อ โรคพื ช เจริญ
แข่งขันกับเชื้อโรคพืช หรือสร้างสารยับยั้งเชื้อโรคพืช เชื้อที่สามารถ
ยับยั้งได้ด้วยไตรโคเดอร์มา เช่น เชื้อไฟทอฟธอรา เชื้อไรซ็อคโทเนีย
เชื้อพิเทียม เชื้อฟิวซาเรียม เชื้อราสเคลอโรเทียม เป็นต้น
วัสดุอป
ุ กรณ์
1. ไตรโคเดอร์มาผง
2. น้าเปล่า
3. ถังพลาสติก
4. กระบอกฉีดหรือถังพ่น
วิธท
ี า
นาผงไตรโคเดอร์ม าผงจ านวน 3 ช้อ นโต๊ ะ ผสมน้ า เปล่ า 20 ลิ ต ร
นาไปรดหรือฉีดพ่นเพื่อป้องกันเชื้อรา

จุลินทรีย์สังเคราะห์แสง
จุ ลิ นทรีย์ สั ง เคราะห์แ สง มี ค วามสามารถในตรึงไนโตรเจน
ในดินให้แก่พืช ช่วยย่อยสลายอินทรีย์วต
ั ถุให้มีขนาดเล็กลง ทาให้พืช
สามารถนาสารอาหารไปใช้ได้ดีมากยิ่งขึ้น
วัสดุอป
ุ กรณ์

1. ไข่ไก่ 1 ฟอง
2. ผงชูรส 1 ช้อนโต๊ะ
3. กะปิ 1 ช้อนโต๊ะ
4. น้าปลา 1 ช้อน
5. ขวดน้าพลาสติกขนาด 1.5 ลิตร 4 ขวด
6. ถ้วยสาหรับผสม
7. น้าเปล่า (ควรเป็นน้าแหล่งน้าธรรมชาติ) 4 ลิตร
การปลูกเมล่อนอินทรีย์
สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
12

วิธีทา
นาส่ ว นผสม ไข่ ไ ก่ ผงชู ร ส กะปิ แ ละ น้ า ปลา เทผสมลงในถ้ ว ย
จากนั้นแบ่งเทลงในขวดน้าพลาสติกจานวน 4 ขวด ที่เติมน้าเปล่าลง
ไปแล้วขวดละ 1 ลิตร แล้วเขย่าให้เข้ากัน ทิ้งไว้ 7-10 วัน ในระหว่าง
วันจะต้องทาการเขย่าขวดทุกวัน วันละ 1 ครัง

สารไล่แมลง
วัสดุอป
ุ กรณ์
1. เหล้าขาว 500 มิลลิลิตร
2. น้าส้มสายชู 500 มิลลิลิตร
3. ยาเส้น 2 ห่อ
4. ผงพะโล้ 4 ห่อ
5. กระบอกฉีดหรือถังพ่น
6. ถังผสม
วิธท
ี า
นาส่วนผสมทุกอย่าง ลงในถังผสมคนให้เข้ากัน ทิ้งไว้ 2 วัน นาไป
ฉีดพ่นไล่แมลง โดยใช้สารสกัดไล่แมลง 2.5 มิลลิลิตร ต่อน้า 1 ลิตร

สารทาหวาน
วัสดุอุปกรณ์
1. ขี้เถ้า 2 กิโลกรัม
2. น้าเปล่า 5 ลิตร
3. ถังพลาสติก

วิธีทา
นาขี้เถ้า และน้าเปล่า เทผสมในถังพลาสติก ทิ้งไว้ 1 คืน

วิธีนาไปใช้
นาน้ า ขี้ เ ถ้ า 500 มิ ล ลิ ลิ ต ร ผสมกั บ จุ ลิ น ทรีย์ สั ง เคราะห์ แ สง
100 มิลลิลิตร และน้าเปล่า 20 ลิตร
การปลูกเมล่อนอินทรีย์
สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
13

กระบวนการเพาะปลูก
เมล่อนอินทรีย์
• การเพาะเมล็ด
• การเตรียมดินปลูก
• การย้ายกล้า
• การดูแลหลังการย้ายกล้า
• การเจือจางปุ๋ยและความถี่ในการให้น้า
การปลูกเมล่อนอินทรีย์
สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
14

การเพาะเมล็ด
วัสดุ อุปกรณ์
1. กล่องพลาสติก 6. ถาดเพาะขนาด 50 หลุม
2. กระดาษทิชชู (จัมโบ้) 7. พีทมอส
3. กระบอกฉีดน้า 8. คีมคีบ (ฟอร์เซป)
4. เมล็ดพันธุเ์ มล่อน 9. บัวรดน้า (เล็ก)
5. แก้วน้า (สาหรับแช่เมล็ด)

ขั้นตอน/วิธก
ี าร
1. แช่เมล็ดเมล่อนในน้าอุ่นประมาณ 1 ชัว่ โมง
2. นากระดาษทิชชูวางลงในกล่องพลาสติก และใช้กระบอกฉีดพรม
น้าให้ชม
ุ่
3. น าเมล็ ด ที่ แ ช่ ใ นน้ า อุ่ น วางลงบนกระดาษทิ ช ชู หลั ง จากนั้ น น า
กระดาษทิชชูวางปิดทับด้านบนและพรมน้าให้ชม
ุ่ อีกครัง

* บ่ ม ในกล่ อ งพลาสติ ก โดยเก็ บ ไว้ ใ นที่ มื ด เป็ น เวลาประมาณ 24
ชัว่ โมง ซึ่งจะสังเกตเห็นว่ามีรากงอกออกมาจากเมล็ด
4. เตรียมวัสดุอนุบาลต้ นกล้า โดยเตรียมพีทมอสใส่ ลงในถาดเพาะ
และรดน้าให้ชม
ุ่
5. ใช้ฟอร์เซปทาหลุมบนพีทมอส และคีบนาเมล็ดที่มีรากงอกวางใส่
ลงไปในหลุมบนพีทมอส
* ข้อควรระวังอย่าให้รากขาดหรือเกิดบาดแผล
6. รดน้าให้ชุ่มเก็บไว้ในที่ๆ มีแสงราไรประมาณ 4-5 วันจากนั้ น ย้ า ย
ต้นกล้าไปไว้ในที่ๆ มีแสงเพียงพอ
* ถ้ า แสงไม่ พ อจะท าให้ ต้ น กล้ า ยื ด ยาวไม่ แ ข็ ง แรง แต่ ห ากแดดจ้า
เกินไปจะทาให้ใบอ่อนของต้นกล้าไหม้ได้
7. รดน้าวันละ 1 ครัง
้ ประมาณ 7-10 วัน
* มีใบจริงขึ้นมา 2 ใบ นาไปปลูกในกระถางได้
การปลูกเมล่อนอินทรีย์
สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
15

การเตรียมดินปลูก
วัสดุ อุปกรณ์
1. ดินดา 2 ส่วน
2. แกลบดิบ 2 ส่วน
3. แกลบดา 2 ส่วน
4. ปุ๋ยไม่พลิกกอง หรือ ปุ๋ยมูลใส้เดือนดิน 1 ส่วน
5. ขุยมะพร้าว 2 ส่วน
6. จอบ พลั่ว ช้อนตัก

ขั้นตอน/วิธก
ี าร
นาส่วนผสมทัง
้ หมด ผสมให้เข้ากัน
* ควรเก็บไว้ อย่างน้อย 7 วัน เพื่อให้จุลินทรีย์เจริญเติบโต เกิดการ
ย่อยสลายสร้างสารอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อต้นพืช

การย้ายกล้าปลูก
วัสดุ อุปกรณ์
1. กระถางปลูกขนาด 12 นิ้ว 5. เชือก
2. ดินปลูกที่ผสมแล้ว 6. ไม้ไผ่ยาว 14 นิว

3. ต้นกล้าอายุ 7-10 วัน 7. อิฐบล็อก
4. บัวรดน้า 8. พลั่ว / ช้อนตัก

ขั้นตอน/วิธก
ี าร
1. เตรียมกระถางใส่ดินปลูกที่ผสมแล้ว
2. นาต้นกล้าเมล่อนอายุ 7-10 วัน ลงปลูก โดยใช้พลั่วหรือช้อนปลูก
ทาเป็นหลุมก่อนแล้วใส่ต้นกล้าลงไป
3. รดน้าให้ชม
ุ่ แล้วนาไปไว้ในโรงเรือนเพาะปลูก
4. เจาะรูกระถางด้านบน 2 รูตรงข้ามกันแล้วใช้ไม้ไผ่เสียบเป็นเส้น
ผ่านศูนย์กลาง เพื่อใช้มัดเชือกให้ต้นเมล่อนพันขึ้นไปด้านบน
การปลูกเมล่อนอินทรีย์
สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
16

การดูแลหลังย้ายกล้า
การดูแลหลังการปลูกเป็นช่วงที่มีความสาคัญและมีรายละเอียดในแต่
ละขัน
้ ตอน โดยสรุปดังนี้
1. หลังจากการปลูกเมล่อนในช่วงระหว่างระยะเวลา 15 วัน ก่อนติด
ดอก จะทาการตัดแต่งใบและแขนง โดยในระหว่างนี้จะต้องสังเกต
และริดใบเมล่อน โดยเริ่มจาก ริดใบเลี้ยง ริดใบจริงคู่ที่ 1 และ 2
ทิ้ง และเก็บใบจริงตั้งแต่คู่ที่ 3 เป็นต้นไป
2. จากนั้ น เมล่ อ นจะเจริญ เติ บ โตและจะมี แ ขนง และมื อ จับ ออกมา
ผู้ปลูกต้องคอยตัดแขนงและมือจับของต้นเมล่อนออก
3. เมื่อปลูกเมล่อนครบ 15 วัน เมล่อนจะเริม
่ มีดอกในช่วงนี้จะท าการ
ผสมเกสร โดยใช้ดอกตัวผู้และตัวเมีย โดยเลือกดอกตัวผู้ที่มีความ
สมบู ร ณ์ แล้ ว นาพู ่ กั น แต้ ม เกสรของดอกตั ว ผู้ ไ ปแต้ ม บนเกสร
ดอกตัวเมียข้ามต้นกัน
4. หลั ง จากการผสมเกสรแล้ ว ประมาณ 1 อาทิ ต ย์ จะมี ผ ลอ่ อ น ให้
เลือกผลที่สมบูรณ์ที่สุด 1 ลูกต่อต้น ส่วนลูกที่เหลือให้ตัดทิ้ง และ
ทาการแขวนผลเมล่อนด้วยเชือก
5. เมื่อต้นเมล่อนมีใบจริงถึงคู่ที่ 30 ให้ทาการตัดยอด และในระหว่าง
นี้ผู้ปลูกต้องคอยตัดแขนงและมือจับของเมล่อน
6. เมื่ อปลู ก ครบ 75 วั น ผลเมล่ อ นจะเริ่ ม แก่ จะท าการท าหวาน
โดยสารทาความหวานจากน้ าขี้ เถ้ า และจะเก็บเกี่ย วเมื่อ อายุ ค รบ
90 วัน
การปลูกเมล่อนอินทรีย์
สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีและนัวตกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
17

การเจือจางปุ๋ยและความถี่ในการให้น้า
อัตราส่วนการเจือจาง
ระยะ จุลินทรีย์ ช่วงเวลาให้นา้
น้าหมักปลาทะเล น้าเปล่า น้าด่าง
สังเคราะห์แสง
เริม
่ ปลูก-ติดดอก 1 ลิตร 1 ลิตร 100 ลิตร - เช้า กลางวัน เย็น
(1-15 วัน)
ติดผล 2.5 ลิตร 2.5 ลิตร 100 ลิตร - เช้า กลางวัน เย็น
(16 – 60 วัน)
ผลแก่ระยะที่ 1 2.5 ลิตร 2.5 ลิตร 100 ลิตร - เช้า เย็น
(61-74 วัน)
ผลแก่ระยะที่ 2 - 100 มิลลิลิตร 20 ลิตร 500 เช้า เย็น
(75-90 วัน) มิลลิลิตร
การปลูกเมล่อนอินทรีย์
สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีและนัวตกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
18

ช่องทางเข้ากลุ่มไลน์ ช่องทางติดตามคลิปการเรียนรู้
การปลูกเมล่อนอินทรีย์
สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีและนัวตกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
19
การปลูกเมล่อนอินทรีย์
สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีและนัวตกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
20
การปลูกเมล่อนอินทรีย์
สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีและนัวตกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
21

เอกสารสืบค้นข้อมูล
1. https://li01.tci-
thaijo.org/index.php/tstj/article/download/1856
37/165393/832587
2. https://www.rukkla.com/content/10739/คู่มือ
แนวทางปลูกเมล่อนญี่ปุ่นเบื้องต้น ****
3. https://esc.doae.go.th/wp-
content/uploads/2018/12/melon.pdf
4. Vegetweb.com/เมล่อน-ปลูกเมล่อน/
5. https://www.arda.or.th/datas/file/04.2%20%การ
ขับเคลื่อนชีวภัณฑ์สู่การใช้ประโยชน์_03.02.63.pdf
6. https://www.icpladda.com/ความรูท
้ ี่น่าสนใน/
บทความ/สารชีวภัณฑ์-คืออะไร/
7. https://www.allkaset.com/contents/สารชีวภัณฑ์คือ
อะไร-141.php
8. วิธีทาจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง
https://www.opsmoac.go.th/angthong-article
9. เชื้อราไตรโคเดอร์มา, กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ สืบค้นจากhttps://esc.doae.go.th/wp-
content/uploads/2018/09/เชื้อราไตรโคเดอร์มา.pdf
10. จุลินทรีย์ที่ใช้ในการทาการเกษตร, กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ สืบค้นจาก
https://www.opsmoac.go.th/phichit-
article_prov-files-421191791795
11. พิชิตโรคราน้าค้างในเมล่อน แบบไม่ต้องใช่สารเคมี ได้ผลดี
100%
https://www.kubotasolutions.com/smart_farmin
g/greenhouse

You might also like