Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 55

เคมี ๕

ว๓๓๒๒๕
มัธยมศึกษาปี ที่ ๖
ภาคเรียนที่ ๒
ปี การศึกษา ๒๕๖๒
หน่ วยการเรียนรู้ในรายวิชาเคมี ๕

๑)พอลิเมอร์........................................................................8 %

๒) ปิ โตรเคมี.......................................................................8 %

๓) หัวข้อเพิ่มเติม................................................................14 %

สอบกลางภาค
20 %
หน่ วยการเรียนรู้ในรายวิชาเคมี ๕
๔) แนวข้อสอบ Onet, 9วิชา, Pat2...........................30 %

การเข้าห้องเรี ยน, แบบฝึ กหัดข้อสอบ, สอบเก็บคะแนน

สอบปลายภาค
20 %
พอลิเมอร์
(Polymer)

4
หัวข้ อการเรียนรู้

1. ความรู ้เกี่ยวกับพอลิเมอร์ 2. โครงสร้างของพอลิเมอร์


3. การนาพอลิเมอร์ไปใช้ประโยชน์

5
1. ความรู ้เกี่ยวกับพอลิเมอร์

“สารพอลิเมอร์ (polymer) คือ โมเลกุลขนาดใหญ่มากประกอบด้วยอะตอม เป็ นจานวนหลายร้อยหลาย


พันอะตอมต่อกันด้วยพันธะเคมี พอลิเมอร์ธรรมชาติเป็ นพื้นฐานของขบวนการแห่ ง ชี วิตทั้งหมด ”

6
ปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์

ปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์ ปฏิกิริยาที่มอนอเมอร์มารวมกันเป็ นพอลิเมอร์ เรี ยกว่า


“ปฏิกริ ิยาพอลิเมอร์ ไรเซชั่น”

7
1.1 การเกิดพอลิเมอร์

“การเกิดของพอลิเมอร์ น้ นั มาจากการรวมตัวขององค์ประกอบที่เรี ยกว่า มอนอเมอร์ (Monomer) ซึ่งเป็ น


หน่วยเล็ก ๆ ซ้ า ๆ กันประกอบกันเป็ นพอลิเมอร์ดงั ภาพ”

8
ปฏิกริ ิยาพอลิเมอไรเซชัน แบ่ งเป็ น 2 ประเภทคือ

1. พอลิเมอไรเซชันแบบเติม (Additional Polymers)

เกิดจากมอนอเมอร์ที่เป็ นสารประกอบอินทรี ยไ์ ม่อิ่มตัว (สารที่มีพนั ธะคู่ระหว่าง


อะตอมคาร์บอน)
พอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบเติม
1. Polyethylene (PE)

• Low-density polyethylene (LDPE)


• Linear low-density polyethylene (LLDPE)
• High-density polyethylene (HDPE)

10 10
พอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบเติม
1. Polyethylene (PE) (ต่อ)

สมบัต:ิ ป้ องกันการผ่านของไอนา้ ได้ ดแี ต่ยอมให้ อากาศผ่านเล็กน้ อย เป็ น


แผ่นฟิ ล์มใส เหนียว ทนสารเคมี ทนกรด ทนเบส
การนาไปใช้ : ภาชนะบรรจุอาหาร ถุงพลาสติกชนิดใส่ของเย็น แผ่นพลาสติกบางที่
ใช้ หอผักและผลไม้ ถุงขยะ เครื่องใช้ ในบ้ าน ของเล่น ท่อนา้ ฉนวนหุ้ มสายไฟฟ้ า
เคลือบกล่องกระดาษใส่นม ถุงซิบใส่ยา เป็ นต้ น
11 11
พอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบเติม
2. Polypropylene (PP)

สมบัต:ิ คล้ ายพอลิเอทิลีนแต่แข็งแรงกว่า เหนียวแข็งแรง ผิวเป็ นมันวาว นา้ หนัก


เบา ทนต่อแรงดึง ไม่ว่องไวต่อสารเคมี ทนนา้
การนาไปใช้ : ภาชนะบรรจุสารเคมี เช่น หม้ อแบตเตอรี่ หุ้มสายไฟฟ้ า กระเป๋ า
เดินทาง พรม เชือก เครื่องมือแพทย์ เช่น ตัวกระบอกฉีดยาและเครื่องมือใน
ห้ องทดลอง ถุงนา้ ร้ อนชนิดขุ่น เป็ นต้ น
12 12
พอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบเติม
3. Polyvinylchloride (PVC)

สมบัต:ิ แข็งและคงรูป ทนต่อความชื้น ทนต่อสารเคมีแลการขัดถู ทนต่อการกัด


แทะของแมลงและไม่เป็ นเชื้อรา ไม่ทนความร้ อนและแสง
การนาไปใช้ : กระเบื้องยางปูพ้ ืน ท่อนา้ หนังเทียม เสื้อกันฝน บัตรเครดิต
แผ่นเสียง ฉนวนหุ้มสายไฟฟ้ า เป็ นต้ น
13 13
พอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบเติม
4. Polytetrafluoroethylene (PTFE = Teflon)

สมบัต:ิ เหนียว ทนสารเคมีดที ุกช่วงอุณหภูมิ ทนความร้ อนได้ ดี ไม่ นาไฟฟ้ า ผิวลื่น


ทนต่อแรงกระแทก
การนาไปใช้ : เคลือบผิวภาชนะหุงต้ มเพื่อไม่ให้ อาหารติดภาชนะ ฉนวนไฟฟ้ า
ปะเก็น วงแหวนลูกสูบและลูกปื นในเครื่องยนต์ เคลือบสาบเคเบิล สายไฟฟ้ า
14 14
พอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบเติม
5. Polystyrene (PS)

สมบัต:ิ แข็งมากแต่เปราะ ไม่ทนต่อตัวทาละลายอินทรีย์แต่ทนต่อกรดและเบส ใส


โปร่งแสง ผิวเรียบ ไม่นาไฟฟ้ า
การนาไปใช้ : ภาชนะบรรจุส่งิ ของที่ใช้ แล้ วทิ้ง ชิ้นส่วนของตู้เย็น เครื่องเรือน ตลับ
เทป กล่องใสใส่ขนม โฟมบรรจุอาหาร ฉนวนสาหรับกระติกนา้ ร้ อน นา้ เย็น วัสดุ
15 ลอยนา้ 15
พอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบเติม
6. Polymethylmethacrylate (PMMA)

สมบัต:ิ ใส โปร่งแสง ทนต่อแรงกระแทก ทนต่อสภาพดินฟ้ าอากาศ ทนต่อการขีด


ขวนได้ น้อยกว่าแก้ ว
การนาไปใช้ : กระจกครอบไฟฟ้ าท้ ายรถยนต์ เลนส์แว่นตา เลนส์สมั ผัส ไม้ บรรทัด
ชนิดใส วัสดุทนั ตกรรม
16 16
พอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบเติม
7. Polyacrylonitrile (PAN)

สมบัต:ิ แข็ง เหนียว ทนต่อความชื้นสารเคมีและเชื้อรา ทนต่อสภาพดินฟ้ าอากาศ


ทนต่อการขีดข่วน
การนาไปใช้ : ผ้ าโอรอน ด้ ายสาหรับถักพรมถุงเท้ า เสื้อผ้ าเด็ก เสื้อกันหนาว

17 17
มอนอเมอร์ CH2 CH propylene
CH3

พอลิเมอร์ polypropylene
CH2 CH CH2 CH CH2 CH CH2 CH
CH3 CH3 CH3 CH3

หน่ วยซ้า (repeating unit) CH2 CH


CH3

สู ตรโครงสร้ างแบบย่ อ CH2 CH


n
CH3
2. พอลิเมอไรเซชันแบบควบแน่ น (Condensation Polymers)

เกิดจากมอนอเมอร์ที่มีหมู่ฟังก์ชนั มากกว่า 1 หมู่ทาปฏิกิริยาและมีสารโมเลกุลเล็กเกิดขึ้น


เช่น H2O HCl NH3 CH3OH

19
พอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบควบแน่น
1. Polyethylene terephthalate (PET)
+
Dimethyl terephthalate Ethylene glycol Thermoplastic

สมบัต:ิ แข็ง ง่ายต่อการย้ อมสี ทนความชื้น เหนียว ทนต่อการขัดถู


การนาไปใช้ : เส้ นใย เอ็น เชือก ขวดนา้ อัดลม สารเคลือบรูปภาพ หินอ่อนเทียม
แก้ วเทียม เป็ นต้ น

20
20
พอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบควบแน่น
2. Polyamide (PA)
Copolymer

Homopolymer

21 21
พอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบควบแน่น
2. Polyamide (PA) (ต่อ)
สมบัต:ิ เหนียว ผิวเรียบ ทาความสะอาดง่าย แห้ งเร็ว ยืดหดได้ ทนต่อการขัดถู ทนต่อ
การใช้ งานนอกอาคาร
การนาไปใช้ : เชือก เส้ นด้ าย ถุงน่อง ชุดชั้นใน ชิ้นส่วนเครื่องจักรกล เช่น เฟื อง
เกียร์ ปลอกหุ้มสายไฟ เป็ นต้ น

22 22
พอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบควบแน่น
3. Polycarbonate (PC)
สมบัต:ิ เหนียว ใส ทนความ
ร้ อน ทนแรงกระแทก ไม่ช้ นื
ง่าย ติดไฟแล้ วดับเอง
การนาไปใช้ : กล่องบรรจุ
เครื่องมือ เครื่องโทรศัพท์ ขวด
นมเด็ก ภาชนะใสที่ใช้ แทน
เครื่องแก้ ว เป็ นต้ น

23 23
พอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบควบแน่น
4. Polyurethane (PU)

24 24
พอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบควบแน่น
4. Polyurethane (PU) (ต่อ)

สมบัต:ิ ยืดหยุ่น ทนการขีดข่วนได้ ดี ทนต่อตัวทาละลาย ทนแรง


กระแทก
การนาไปใช้ : เส้ นใยชุดว่ายนา้ ล้ อรถเข็น นา้ ยาเคลือบผิว โฟมบุเก้ าอี้
25 เป็ นต้ น 25
พอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบควบแน่น
5. Polyphenolformaldehyde (PF)

สมบัต:ิ แข็ง เปราะ ทนความร้ อนที่อณ


ุ หภูมสิ งู ทนสารเคมี เป็ นฉนวนไฟฟ้ า
การนาไปใช้ : กาว แผงวงจรไฟฟ้ า เป็ นต้ น

26 26
พอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบควบแน่น
6. Polyureaformaldehyde (UF)
สมบัต:ิ แข็ง เปราะ ทนความร้ อนที่อณ
ุ หภูมสิ งู ทนสารเคมี
การนาไปใช้ : กาว แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ กาว โฟม เป็ นต้ น
7. Polymelamineformaldehyde (MF)
สมบัต:ิ ทนสารเคมี กันนา้ ได้ ดี
การนาไปใช้ : แผงวงจรเส้ นใยผ้ าเพื่อกันนา้ หูหม้ อ หูกระทะ ถ้ วย จาน เป็ นต้ น

27 27
28
1.2 ประเภทของพอลิเมอร์แบ่งตามชนิดของมอนอเมอร์
ก. โฮโมพอลิเมอร์ (Homopolymer)
“พอลิเมอร์ที่ประกอบด้วยมอนอเมอร์ชนิดเดียวกัน เช่น แป้ง (ประกอบด้วยมอนอเมอร์ที่เป็ นกลูโคสทั้งหมด)
พอลิเอทิลีน PVC (ประกอบด้วยมอนอเมอร์ ที่เป็ นเอทิลีนทั้งหมด)”

29
ข.โคพอลิเมอร์ (Copolymer) หรื อ เฮเทอโรพอลิเมอร์ (Heteropolymer)
“พอลิเมอร์ที่ประกอบด้วยมอนอเมอร์ ต่างชนิดกันมารวมกันเป็ นสายโซ่พอลิเมอร์ เช่นโปรตีน (ประกอบด้วย
มอนอเมอร์ที่เป็ นกรดอะมิโนต่างชนิดกัน ) พอลิเอสเทอร์ พอลิเอไมด์ เป็ นต้น”

30
กรณี ของพอลิเมอร์ที่มาจากโมโนเมอร์ 2 ชนิด สามารถแบ่งได้ตามลักษณะการจัดเรี ยง
ข-1. โคพอลิเมอร์แบบสลับ (Alternating copolymers)
“ในสายโซ่โมเลกุลของพอลิเมอร์ประกอบด้วยโมโนเมอร์ A และโมโนเมอร์ B เรี ยงสลับกันไปอย่างมี
ระเบียบ”

ข-2. โคพอลิเมอร์แบบสุ่ม (Random copolymers)


“ในสายโซ่โมเลกุลของพอลิเมอร์ประกอบด้วยโมโนเมอร์ A และโมโนเมอร์ ปะปนกันอย่างไม่มี
ระเบียบ”

31
ข-3. โคพอลิเมอร์แบบบล็อค (Block copolymers)
“ในสายโซ่โมเลกุลพอลิเมอร์ประกอบด้วยโมโนเมอร์ A และโมโนเมอร์ B ซึ่งแต่ละโมโนเมอร์ ท้งั 2
ชนิดพบว่าอยูก่ นั เป็ นกลุ่ม ๆ ในสายโซ่พอลิเมอร์ ”

ข-4. โคพอลิเมอร์แบบกราฟท์ (Graft copolymers)


“ในสายโซ่โมเลกุลพอลิเมอร์ประกอบด้วยโมโนเมอร์ A และโมโนเมอร์ B ซึ่งอาจจะมีสายโซ่พอลิเมอร์
A เป็ นหลักและมีสายโซพอลิเมอร์ B แยกเป็ นกิ่งออกไป”

32
สรุ ปการแบ่งชนิดตามการจัดเรี ยงของมอนอเมอร์

33
2. โครงสร้างของพอลิเมอร์
2.1 พอลิเมอร์แบบเส้น (Chain length polymer)
“พอลิเมอร์ ที่เกิดจากมอนอเมอร์ สร้างพันธะต่อกันเป็ นสายยาว โซ่พอลิเมอร์ เรี ยงชิ ดกัน มากกว่าโครงสร้าง
แบบอื่น ๆ จึงมีความหนาแน่น และจุดหลอมเหลวสูง มีลกั ษณะแข็งขุ่น เหนียวกว่า โครงสร้างอื่น ๆ
ตัวอย่างเช่น PVC พอลิสไตรี น พอลิเอทิลีน ดังภาพ”

High density polyethylene terepthalate

34
2.2 พอลิเมอร์แบบกิ่ง (Branched polymer)
“เป็ นพอลิเมอร์ ที่เกิดจากมอนอเมอร์ยดึ กันและแตกกิ่งก้านสาขา มีท้ งั โซ่สันและโซ่
้ ยาว กิ่งที่แตกจาก พอลิเมอร์
ของโซ่หลักทาให้ไม่สามารถจัดเรี ยงโซ่พอลิเมอร์ ให้ชิดกันได้มาก จึงมีความหนาแน่นและจุดหลอมเหลวต่า
ยืดหยุน่ ได้ ความเหนียวต่า โครงสร้างเปลี่ยนรู ปได้ง่ายเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น ตัวอย่างพอลิเอทิลีนชนิดความ
หนาแน่นต่า”

polyethylene terepthalate

35
2.3 พอลิเมอร์แบบร่ างแห (Cross -linked polymer)
“เป็ นพอลิเมอร์ ที่เกิดจากมอนอเมอร์ ต่อเชื่ อมกันเป็ นร่ างแห พอลิเมอร์ชนิ ดนี้ มีความแข็งแกร่ ง และเปราะหัก
ง่าย ตัวอย่าง เบกาไลต์ เมลามีน ใช้ทาถ้วยชาม ดังภาพ”

ตัวอย่างชามเมลามีน

36
พอลิเมอร์ที่มีสายโซ่สัน้ แสดงสมบัติพอลิเมอร์เป็ นของเหลวหนืด แสดงโครงสร้างดังรู ป

พอลิเมอร์ที่มีสายโซ่ขดเป็ นเกลียว แสดงสมบัติพอลิเมอร์เป็ นยาง (Elastomer) แสดง


โครงสร้างดังรู ป

37
Structure and Properties
• พอลิเมอร์แบบเส้น

Thermoplastic

• พอลิเมอร์แบบกิ่ง

• พอลิเมอร์แบบร่างแห่ Thermoset

http://www.mech.utah.edu/~rusmeeha/labNotes/degPix/structure.gif 38
3. การนาพอลิเมอร์ไปใช้ประโยชน์
3.1 พลาสติก
“เป็ นสารประกอบอินทรี ยท์ ี่สงั เคราะห์ข้ ึนใช้แทนวัสดุธรรมชาติ พลาสติกบางชนิดเมื่อเย็นก็แข็งตัว เมื่อถูก
ความร้อนก็อ่อนตัว พลาสติกบางชนิดแข็งตัวถาวร”

พลาสติกแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทตามเกณฑ์การเปลี่ยนแปลงเมื่อได้รับความร้อน
3.1.1 เทอร์ โมพลาสติก (Thermoplastic)
“เป็ นพลาสติกที่ใช้กนั แพร่ หลายที่สุด ได้รับความร้อนจะอ่อนตัว และเมื่อเย็นลงจะแข็งตัว สามารถเปลี่ยน
รู ปได้พลาสติกประเภทนี้โครงสร้างโมเลกุลเป็ นโซ่ตรงยาว มีการเชื่อมต่อระหว่างโซ่พอลิเมอร์นอ้ ย มีสมบัติ
พิเศษคือ เมื่อหลอมแล้วสามารถนามาขึ้นรู ปกลับมาใช้ใหม่ได้”

39
ตัวอย่างเทอร์โมพลาสติก
โพลิเอทิลีน (Polyethylene: PE)
“มีลกั ษณะขุ่น และทนความร้อนได้พอควร ใช้ทาํ ถุงพลาสติกหรือทําตุ๊กตา ใช้เป็ นส่วนประกอบของ
รถยนต์และฉนวนกันความร้อน”

โพลิโพรพิลีน (Polypropylene: PP)


“มีลกั ษณะแข็งกว่า โพลิเอทิลีนทนต่อสารไขมันและความร้อนสูงใช้ทาแผ่นพลาสติก ถุงพลาสติกบรรจุ
อาหารที่ทนร้อน”

40
โพลิสไตรี น (Polystyrene: PS)
“มีลกั ษณะโปร่ งใส เปราะ ทนต่อกรดและด่าง ไอน้ าและอากาศซึ มผ่านได้พอควร ใช้ทาชิ้นส่ วนอุปกรณ์
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เครื่ องใช้สานักงาน”

โพลิไวนิลคลอไรด์ (Polyvinylchloride: PVC)


้ ํ กเบา ทนต่อสารเคมี ฉนวนหุ้มไฟฟ้า
“มีสภาพแข็งเปราะและไม่ยดื หยุน่ สมบัติเช่น นี้ ใช้ทาท่อน้ า มีนาหนั
รองเท้า อุปกรณ์ทางการแพทย์และแผ่นเสี ยง ไม่ควรจะนามาบรรจุอาหารหรื อทาขวดพลาสติก เพราะอาจมี
สารตกค้างออกมาได้”

41
3.1.2 เทอร์ มอเซตติง (Thermosetting)
“เป็ นพลาสติกที่มีโครงสร้างแบบตาข่าย หรื อร่ างแห ทนทานต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิทนความร้อนและ
ความดัน ไม่อ่อนตัวและเปลี่ยนรู ปร่ างไม่ได้ แต่ถา้ อุณหภูมิสูงก็จะแตกและไหม้เป็ นขี้เถ้าสี ดา”

ตัวอย่างเทอร์มอเซตติง

อีพอ็ กซี (epoxy)


“ใช้ใส่ในส่วนประกอบของอุปกรณ์ไฟฟ้า ใช้เคลือบผิวของพื้นและผนัง ใช้เคลือบผิวถนน เพือ่ กันลื่น ใช้
เป็ นสารในการทาสี ของแก้ว”

42
43
เมลามีน - ฟอร์มาลดีไฮด์เรซิน (Melamine - formaldehyde resin)
“มีลกั ษณะแข็งมาก ไม่หลอมละลาย มีผิวหน้าที่แข็งทนต่อการขีดข่วนและทนต่อการเกาะของคราบน้ า
ชากาแฟได้ดี ดังนั้นจึงนิยมนามาทาภาชนะพวกจานชามต่าง ๆ”

พอลียรู ี เธน (Polyurethane)


“นิยมใช้ทาโฟมชนิดยืดหยุน่ และโฟมชนิดแข็ง จึงใช้เป็ นฉนวนในกระติกน้ าแข็งหรื อผนังตูเ้ ย็น ทา
ส่วนประกอบของเรื อเพื่อให้การลอยตัวดีข้ ึนและทาน้ ายาเคลือบผิววัสดุป้องกันรอยขีดข่วนได้ดี”

44
3..2 ยางธรรมชาติและยางสังเคราะห์

3.2.1. ยางธรรมชาติ
“เป็นสารพอลิเมอร์ชนิดหนึ่งซึ่งได้มาจาก
ต้นไม้ น้ ายางธรรมชาติจะมีลกั ษณะเป็ นสี ขาว
เหมือนน้ านม ยางธรรมชาติ เกิดจากโมเลกุล
ของไอโซปรี นหลาย ๆ โมเลกุลมาต่อกันเป็ น
สายพอลิเมอร์ ”

45
ยาง
น้ ายางสด สี ขาวข้นคล้ายนม มีสารเจือปน
เติมNH3 ป้ องกันการบูด ป้ องกันการจับตัว
เติมกรดแอซิติก/กรดฟอร์มิกเจือจาง แยกเนื้อยางจากน้ ายาง
ยาง
ยางดิบ
ข้อดี : ยืดหยุน่ สูง (แรงแวนเดอร์วาลส์) ต้านแรงดึงสูง ทนต่อการขัด
ถู เป็ นฉนวนที่ดี ทนน้ า น้ ามันจากพืช สัตว์
ข้อเสี ย : ไม่ทนต่อน้ ามันเบนซินและตัวทาละลายอินทรี ย ์ เหนียวและ
อ่อนตัวเมื่อได้รับความร้อน แข็งและเปราะเมื่ออุณหภูมิต่ากว่า T ห้อง

46 46
โครงสร้ างทางเคมีของเนื้อยาง

ยางพารา (cis -1,4-polyisoprene)

ยางกัตตา (trans -1,4-polyisoprene)


47 47
ยางสั งเคราะห์
ต้องการใช้ยางที่แข็งกว่าปกติ เติมกามะถัน เรี ยกว่า Vulcanization
ต้องการเพิ่มความแข็งแรง การเติมผงถ่าน
ต้องการให้ยางทนทานต่อการฉี กขาด เติมซิลิกา หรื อดินเหนียว

พอลิบิวทาไดอีน BR

ใช้ในการผลิตผลิตภัณฑ์ที่ตอ้ งการความทนต่อการสึ กหรอหรื อทนต่อการขัดสี ที่ดี


เช่น ยางพื้นรองเท้า ยางสายพานลาเลียง ใช้ในการผลิตยางกันกระแทก สายพาน
ส่งกาลัง ยางกันสะเทือน ทายางรถยนต์ได้
48
** ยืดหยุน่ น้อยกว่ายางธรรมชาติ
48
วัลคาไนเซชัน

49 49
พอลิคลอโรพรีน CR, chloroprene

chloroprene polychloroprene

ความทนต่อแรงดึงสูง ความต้านทานต่อการฉี กขาดสูงและการขัดสี สูง


มีสมบัติบางอย่างที่ดีกว่ายางธรรมชาติ เช่น สลายตัวยากไม่ถูกกัดกร่ อนด้วยโอโซน
ทนไฟ ไม่อ่อนนุ่ม หรื อบวมเมื่อถูกน้ า ทนต่อกรดและเบส ทนต่อน้ ามัน น้ ามัน
เบนซินและตัวทาละลายต่าง ๆ จึงนาไปทาเครื่ องใช้ต่าง ๆ ได้มาก

50 50
ยางSBR styrene butadiene rubber

C6H5 C6H5
CH2 = CH - CH = CH2 + CH2 = CH (- CH2 - CH = CH - CH2 - CH2 - CH -)n
butadiene styrene SBR

ยางเอสบีอาร์ทนต่อการขัดถูและเกิดปฏิกิริยากับ o2ได้ยากกว่ายางธรรมชาติ
ยืดหยุน่ ต่า ส่วนใหญ่ใช้ทายางรถยนต์ มีราคาถูก ถ้าเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันที่
อุณหภูมิต่าจะเรี ยกว่า Cold rubber ใช้สาหรับทายางที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับงานหนัก
เช่น ส้นรองเท้า ยางปูพ้นื ถุงเท้ายาง และ สายรัด เป็ นต้นใช้ในการผลิตสายพาน พื้น
รองเท้า ฉนวนหุม้ สายไฟท่อยาง
51
**ส่วนมากจะถูกนาไปใช้ในอุตสาหกรรมผลิตยางยานพาหนะขนาดเล็ก
51
ยาง IR cis-1,4-polyisoprene

สมบัตคิ ล้ ายยางธรรมชาติ แต่ แข็งน้ อยกว่ า (ไม่ เป็ น cis isomer ทั้งหมด)ความ
ทนทานต่ อแรงดึงตา่ กว่ ายางธรรมชาติเล็กน้ อย และราคาก็สูงกว่ า

ข้ อดี คุณภาพของยางสมา่ เสมอ มีสิ่งเจือปนน้ อย ทาให้ ยางมีสีขาวสวย


(ยางธรรมชาติจะมีสีเหลืองอ่ อนถึงน้ าตาลเข้ ม )
บางครั้งจะใช้ ยาง IR แทนยางธรรมชาติในการผลิตยางหัวนมและ
อุปกรณ์ การแพทย์ บางชนิด

52 52
3..3 เส้นใยธรรมชาติและเส้นใยสังเคราะห์

“เส้นใย (Fibers) คือ พอลิเมอร์ชนิดหนึ่งที่มีโครงสร้างของโมเลกุลสามารถนามาเป็ นเส้นด้าย หรื อ


เส้นใย จาแนกตามลักษณะการเกิดได้ดงั นี้ ”

3.3.1. เส้นใยธรรมชาติ

เส้นใยเซลลูโลส เส้นใยโปรตีน เส้นใยไหม

53
3.3.2.เส้นใยสังเคราะห์
ไนลอน (Nylon)
“สารไนลอนเป็ นพอลิเมอร์ชนิดหนึ่ง ซึ่งถูกพัฒนามาจากการสังเคราะห์ยาง ประโยชน์ของไนลอน
สามารถใช้แทนผ้าไหม ทาเสื้ อผ้า ใช้ทาพรม หวีแปรงผมและเครื่ องใช้สุขภัณฑ์ต่างๆ”

เรยอน (Rayon)
“มนุษย์ได้มีการปรับปรุ งเส้นใยเรยอนให้มีประสิ ทธิภาพการใช้งานให้ดีข้ ึน โดยการนาเอาเซลลูโลสมา
ทาปฏิกิริยากับคาร์บอนซัลไฟด์และโซเดียมไฮดรอกไซด์”

54
เส้นใย

เส้นใย เส้นใยกึ่ง
เส้นใยสังเคราะห์
ธรรมชาติ สังเคราะห์
พอลิอะคริ
พืช สัตว์ แร่ธาตุ พอลิ พอลิ
เรยอน โลไนไตรด์ อื่นๆ
เซลลูโลส โปรตีน ใยหิน เอไมด์ เอสเทอร์

เซลลูโลสอะซิเตต: เซลลูโลส+
ดี : ระบายอากาศดี ใส่สบาย อะซิติก ไนลอน ดาครอน ทําเส้น
เสีย : ผ้าฝ้ายเป็ นรา ทําเส้นใย แผ่นพลาสติกฉนวน 6,6 ใยทําเชือก และ
ผ้าไหมหดตัวเมื่อร้อน ชืน้ หุม้ สายไฟ 6, 10 ฟิ ลม์
ลินิน ป่ าน ต้องทอมือ เรยอน :คล้ายเส้นใยพืช สัตว์ ทนจุลินทรย์ เชื้อรา ทนสารเคมี
ผลิตผ้า มัน ย้อมติดง่าย ทนความร้อน แสง ซักง่าย แห้งเร็ ว
ซับเหงื่อดี ทําเสือ้ ผ้าฤดูรอ้ น
55
เตรียม: คิวปรามโมเนียมเรยอน

You might also like