ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ 09 09 66

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 41

สารบัญ

หน้า

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

ข้อมูลพื้น
ฐาน.....................................................................................................

การเมืองการ
ปกครอง.........................................................................................

เศรษฐกิจการ
ค้า..................................................................................................

การศึกษาของประเทศสวิตเซอร์
แลนด์...............................................................

ระบบการศึกษาในสวิตเซอร์
แลนด์.....................................................................

รายงานการปฏิรูปเพื่อยกระดับผลการศึกษาสวิตเซอร์
แลนด์............................

สรุประบบการศึกษาประเทศสวิตเซอร์
แลนด์....................................................

รูปแบบการศึกษาประเทศฟิ นแลนด์
ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
ข้อมูลพื้นฐาน

ชื่อประเทศ : สมาพันธรัฐสวิส Swiss Confederation

ที่ตัง้ สมาพันธรัฐสวิสหรือสวิตเซอร์แลนด์ ตัง้ อยู่กลางทวีปยุโรป ล้อมรอบ


ด้วยเทือกเขาแอลป์ เป็ นประเทศที่ไม่มีทางออกทะเล ทิศเหนือ ติดกับ
สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ทิศตะวันออก ติดกับออสเตรีย และลิกเตนส
ไตน์ ทิศใต้ ติดกับอิตาลี ทิศตะวันตก ติดกับฝรั่งเศส

พื้นที่ 41,285 ตารางกิโลเมตร

เมืองหลวง กรุงเบิร์น (Bern)

ประชากร 7.9 ล้านคน เป็ นชาวสวิสเยอรมันร้อยละ 65 สวิสฝรั่งเศสร้อย


ละ 18 สวิสอิตาเลียนร้อยละ 10 โรมานช์ร้อยละ 1 อื่น ๆ ร้อยละ 6

ภูมิอากาศ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงไปตามระดับความ สูงของพื้นที่ ตัง้ แต่


ภูมิอากาศแบบแอลป์ จนถึงแบบเมดิเตอร์เรเนียน ฤดูหนาว อากาศหนาว
มีฝน และหิมะ ฤดูรอ
้ น อบอุน
่ เย็นชืน
้ มีฝนบางครัง้ ทางตอนใต้จะมีฝนชุก

ภาษาราชการ ภาษาราชการมี 4 ภาษา คือ เยอรมัน (ร้อยละ 64)


ฝรั่งเศส (ร้อยละ 19)อิตาเลียน (ร้อยละ 8) โรมานช์ (ร้อยละ 1) อื่น ๆ
ร้อยละ 8

ศาสนา ประชาชนร้อยละ 48 นับถือนิกายโรมันคาธอลิก ร้อยละ 44


นับถือนิกายโปรเตสแตนท์ ร้อยละ 8 นับถือศาสนาอื่นๆหรือมิได้นับถือ
ศาสนา

การเมืองการปกครอง
ประธานาธิบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศคนปั จจุบัน
คือ

(Didier Burkhalter) ดีดีเย บวร์คฮัลเทอร์

ระบอบการปกครอง ประชาธิปไตยแบบสมาพันธรัฐ (confederation)


ประกอบด้วย มณฑล(Canton) 26 มณฑล ในจำนวนนี ้ 3 มณฑลถูกแบ่ง
ออกเป็ นกึ่งมณฑล (half-canton) 6 แห่ง ซึง่ มีอำนาจบริหารภายในของ
แต่ละ มณฑล ส่วนอำนาจบริหารส่วนกลางจะอยู่ที่คณะมนตรีแห่งสมา
พันธ์ (Federal Council) ซึ่งเทียบเท่ากับคณะรัฐมนตรี ประกอบด้วย
สมาชิกที่เรียกว่ามนตรีแห่งสมาพันธ์ (Federal Councilor) 7 คน มีวาระ
ในตำแหน่งคราวละ 4 ปี และใน 7 คน จะผลัดกันเป็ น ประธานาธิบดี
คนละ 1 ปี

นับตัง้ แต่ ค.ศ.1848 สวิตเซอร์แลนด์ได้เริ่มใช้ระบบการปกครอง


ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา แต่มีลก
ั ษณะการรวมตัวของ Canton ต่าง ๆ
อยู่ภายใต้รัฐบาลกลาง เรียกว่า สมาพันธรัฐ (Confederation) สวิตเซอร์
แลนด์ประกอบด้วย 26 Canton แต่ละ Canton มีรัฐธรรมนูญและ
Cantonal Government ของตนเองโดยมีอิสระจากการบริหารราชการ
ของส่วนกลาง อำนาจนิติบัญญัติของสมาพันธ์ฯ อยู่ที่รัฐสภาแห่งสมาพันธ์
(Federal Assembly) ซึง่ ประกอบด้วยสภาแห่งชาติ (National
Council) และสภาแห่งรัฐ (Council of States) ทัง้ สองสภามีอำนาจ
หน้าที่เช่นเดียวกัน

- National Council ได้รับเลือกตัง้ จากประชาชนโดยตรงมีจำนวน 200


คน แต่ละ Canton จะมีจำนวนผู้แทนของตนมากน้อยตามจำนวน
ประชากร (1:34,000) แต่อย่างน้อยที่สุด แต่ละ Canton จะมีผู้แทน 1
คน

- Council of States มีจำนวนสมาชิก 46 คน โดยแต่ละ Canton มีผู้


แทน 2 คน

การดำเนินงานที่สำคัญของรัฐสภาแห่งสมาพันธ์ กระทำผ่าน
Standing Committees ด้านต่าง ๆ อาทิ การคลัง การต่างประเทศ
เศรษฐกิจ วิทยาศาสตร์และการวิจัย การทหาร สุขภาพและสิง่ แวดล้อม
การคมนาคม พลังงาน ฯลฯ

การบริหารราชการส่วนกลาง อำนาจบริหารจะอยู่ที่คณะรัฐมนตรี
เรียกว่า the Federal Council ซึ่งมีสมาชิกเรียกว่า Federal Councilor
(มนตรีแห่งสมาพันธ์) มีทงั ้ หมด 7 คน ทำหน้าที่ควบคุมบริหารงานใน
หน่วยงานระดับกระทรวง 7 แห่ง รัฐสภาแห่งสมาพันธ์เป็ นผู้เลือกมนตรี
แห่งสมาพันธ์ มีวาระดำรงตำแหน่ง 4 ปี และในจำนวนมนตรีแห่งสมา
พันธ์ทงั ้ 7 คน จะได้รับเลือกจากรัฐสภาแห่งสมาพันธ์ผลัดเปลี่ยนกันครัง้
ละหนึ่งคน เพื่อดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีซึ่งมีวาระการดำรงตำแหน่ง 1
ปี โดยมีสถานะเป็ น The first among equals ดังนัน
้ ประธานาธิบดีสวิส
จึงไม่มีการเยือนต่างประเทศในฐานะ State Visit นับตัง้ แต่ ค.ศ.1959
เป็ นต้นมา ประธานาธิบดีคนปั จจุบัน ได้แก่ นางมิเชอลีน กาลมี เรย์
(Micheline Calmy-Rey) ซึง่ ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการ
ต่างประเทศอีกตำแหน่งหนึ่ง โดยมีระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง ตัง้ แต่วัน
ที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๔ จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2554

สวิตเซอร์แลนด์ได้ปกครองและบริหารโดยพรรคการเมืองหลัก 4
พรรค ได้แก่ พรรค Radical Democratic (RDP) พรรค Social
Democratic Party (SDP) พรรค Christian Democratic People's
Party (CDP) และพรรค Swiss People’s Party (SVP) ซึง่ เป็ น
ธรรมเนียมปฏิบัติว่าแต่ละพรรคจะได้รับจัดสรรตำแหน่งมนตรีของสมา
พันธ์พรรคละ 2 คน ยกเว้น Swiss People’s Party ได้ 1 คน นอกจาก
นัน
้ ผู้จะดำรงตำแหน่งมนตรีแห่งสมาพันธ์จะมาจาก Canton เดียวกัน
เกิน 1 คนไม่ได้ และเป็ นธรรมเนียมว่าจะต้องมีผู้แทนจาก 3 Canton
หลัก ได้แก่ Zurich, Berne และ Vaud แห่งละ 1 คน

ลักษณะพิเศษของระบบประชาธิปไตยแบบสวิส คือ อำนาจสูงสุดใน


ทางนิติบัญญัติมิได้อยู่ที่สภาแต่อยู่ที่ประชาชนโดยตรง เพราะตาม
รัฐธรรมนูญประชาชนมีสิทธิในการออกเสียงประชามติ (referendum)
และการริเริ่ม (initiative) กล่าวคือ กฎหมายทุกฉบับที่ผ่านสภาแห่งสมา
พันธ์แล้ว จะยังไม่มีผลบังคับใช้ เป็ นกฎหมาย จะต้องรอให้ครบ 90 วัน
เสียก่อน ในระหว่างนัน
้ ประชาชนจะมีสิทธิคัดค้านโดยจะต้องเข้าชื่อร่วม
กันไม่น้อยกว่า 50,000 คน เพื่อให้มีการจัด referendum ส่วนอำนาจใน
การริเริ่มของประชาชนจะสามารถใช้ในการแก้ไขรัฐธรรมนูญ โดย
ประชาชนต้องเข้าชื่อร่วมกันไม่น้อยกว่า 100,000 คน เพื่อให้ประชาชน
ทัง้ ประเทศลงประชามติ

ด้านอำนาจตุลาการ ศาลชัน
้ ต้นและศาลชัน
้ กลางจะเป็ นศาลของ
มณฑล โดยใช้กฎหมายสมาพันธ์ร่วมด้วย และประชาชนเป็ นผู้เลือกตัง้ ผู้
พิพากษาโดยตรง แม้แต่ผู้พพ
ิ ากษาสมทบก็อาจเป็ นบุคคลที่ประกอบ
อาชีพอื่น ๆ ที่ได้รับเลือกจากคนในท้องถิ่น ส่วนศาลฎีกาแห่งสมาพันธ์
(Federal Supreme Court) มีที่ตงั ้ อยู่ที่เมืองโลซานน์ เพื่อเน้นการแบ่ง
แยกอำนาจจากรัฐบาลกลางที่กรุงเบิร์น ศาลฎีกาเป็ นทัง้ ศาลแพ่งและศาล
อาญา ประกอบด้วยผู้พพ
ิ ากษาประมาณ 30 คน ที่ได้รับเลือกตัง้ จาก
รัฐสภาแห่งสมาพันธรัฐ

วันชาติ 1 สิงหาคม ของทุกปี

วันสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับไทย 28 พฤษภาคม 2474 (ค.ศ.


1931) ครบ 80 ปี เมื่อปี 2554

เศรษฐกิจการค้า

หน่วยเงินตรา 1 ฟรังก์สวิส เท่ากับ 39.787 บาทไทย

ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ 674.08 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

รายได้ประชาชาติต่อหัว 84,293 ดอลลาร์สหรัฐ


การขยายตัวทางเศรษฐกิจ เพิ่มขึน
้ ร้อยละ 1.9

สินค้านำเข้าสำคัญ อัญมณี เงินแท่งและทองคำ นาฬิกาและส่วน


ประกอบ ผลิตภัณฑ์เวชกรรมและเภสัชกรรม เครื่องจักรกลและ
เคมีภัณฑ์

สินค้าส่งออกสำคัญ อัญมณี นาฬิกาและส่วนประกอบ ส่วนประกอบ


อากาศยาน คอมพิวเตอร์และส่วนประกอบ และอาหารทะเลกระป๋องและ
แปรรูป

การศึกษาของประเทศสวิตเซอร์แลนด์
หากพูดถึงสวิตเซอร์แลนด์ หลายคนมักจะนึกถึงภูมิประเทศที่สวย
มาก ภูเขา ลำธาร ธรรมชาติ หรือหลายคนอาจจะนึกถึงธนาคาร นาฬิกา
หรือแม้แต่ชีสต์ แต่ในความเป็ นจริงแล้ว สวิตเซอร์แลนด์ ประเทศเล็กๆ ที่
ตัง้ อยู่ในยุโรป (แต่ไม่เป็ นสมาชิกสหภาพยุโรป) นัน
้ ยังมีความน่าสนใจอีก
มากมาย

เหตุใดจึงควรเรียนต่อสวิตเซอร์แลนด์

นอกจากความสวยงามของภูมิประเทศ ระบบการศึกษาในประเทศ
สวิตเซอร์แลนด์ก็ไม่เป็ นรองใคร ข้อดีของการเรียนต่อในประเทศสวิตเซอร์
แลนด์สามารถ สรุปได้ดงั นี ้

1. มีคุณภาพการศึกษาสูง ตัง้ แต่ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา


จากผลการศึกษา PISA สวิสติดอันดับ Top 20 ของโลก นอกจากนัน
้ ส
วิสยังมีมหาวิทยาลัยชัน
้ นำของโลกอีกมากมาย

2. เป็ นผู้นำทางด้านวิจัยระดับโลก ทัง้ สายวิทยาศาสตร์และ


สังคมศาสตร์ สวิตเซอร์แลนด์เป็ นที่ตงั ้ ของ CERN สถาบันวิจัยและพัฒนา
ด้านนิวเคลียร์ระดับโลก รวมถึงการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขัน
ของประเทศ World Competitiveness ก็เกิดจากสถาบัน IMD ในประ
เทศสวิตเซอร์แลนด์

3. มีโปรแกรมให้เลือกหลากหลาย ทัง้ ในระดับปริญญาตรี โท และ


เอก

4. โปรแกรมส่วนใหญ่จะมีการเรียนการสอนเป็ นภาษาอังกฤษ แต่


ในขณะเดียวกัน การเรียนในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ก็เป็ นการเปิ ด
โอกาสให้นักศึกษาได้เรียนรู้ภาษาที่สาม อย่างเช่น เยอรมัน และฝรั่งเศส
5. มีสิ่งอำนวยความสะดวกที่ทันสมัย คุณภาพชีวิตดี และมีความ
ปลอดภัยสูง

ส่วนข้อเสียหลักๆ ในการเรียนต่อในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ คือค่าครอง


ชีพที่สงู กว่าประเทศในทวีปยุโรปอื่นๆ

ระบบการศึกษาในสวิตเซอร์แลนด์

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ได้รับการยอมรับว่ามีระบบการศึกษาที่ดี
ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก เนื่องจากรัฐแต่ละรัฐมีหน้าที่รับผิดชอบในการ
บริการทางศึกษาระดับอนุบาล มัธยมศึกษา มหาวิทยาลัย ทำให้การ
ศึกษาอาจจะแตกต่างกันไปบ้างระหว่างรัฐ

การศึกษาในสวิตเซอร์แลนด์แบ่งออกเป็ น 5 ระดับ ได้แก่

ระบบการศึกษาในสวิตเซอร์แลนด์ แบ่งเป็ น 5 ระดับ ดังนี ้


ระดับชัน
้ รายละเอียด
ระดับอนุบาล สวิต เป็ นการศึกษาก่อนวัยเรียน โดยทั่วไปเด็กจะเข้า
เซอร์แลนด์ เรียนอนุบาล ตัง้ แต่อายุ 3-6 ปี
(Pre-School
Education)
ระดับประถมศึกษา ส จัดเป็ นการศึกษาภาคบังคับ เด็กสวิสทุกคนจะ
วิตเซอร์แลนด์ ต้องเข้าเรียนชัน
้ ประถมศึกษาเมื่ออายุ 6 ปี ขึน
้ ไป
ระบบการศึกษาในสวิตเซอร์แลนด์ แบ่งเป็ น 5 ระดับ ดังนี ้
ระดับชัน
้ รายละเอียด
(Primary จำนวนปี ที่เรียนในระดับประถมศึกษาแตกต่าง
Education) กันไป ขึน
้ อยู่กับแต่ละมณฑลจะจัด ส่วนใหญ่เป็ น
6 ปี แต่บางมณฑลจัดเป็ น 4 ปี หรือ 5 ปี
ระดับมัธยมศึกษาตอน ระยะเวลาในการศึกษาระดับนี ้ มณฑลส่วนใหญ่
ต้น สวิตเซอร์แลนด์ จัดไว้ 3 ปี ต่อจากประถมศึกษา แต่บางมณฑล
(Lower Secondary อาจมีระยะเวลาศึกษาเป็ น 4 ปี หรือ 5 ปี ทัง้ นี ้
Education) ขึน
้ อยู่ที่การจัดการศึกษาในระดับประถมศึกษา
ไว้กี่ปี แต่ถ้ารวมการศึกษาระดับประถมศึกษา
และมัธยมศึกษาแล้ว ต้องมีระยะเวลาทัง้ สิน
้ 9 ปี
และต้องศึกษาให้จบมัธยมศึกษาตอนต้น จึงจะ
ถือว่าจบการศึกษาภาคบังคับ เด็กนักเรียนระดับ
นีอ
้ ายุประมาณ 13-15 ปี
ระดับมัธยมศึกษาตอน แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ
ปลาย สวิตเซอร์แลนด์
1. โรงเรียนศิลปศาสตร์ (Liberal Arts
(Upper Secondary
School) แบ่งได้เป็ น 3 ประเภท คือ
Education)
1.1 Tenth School Year: เป็ นโรงเรียนที่จัด
ให้มีชน
ั ้ เรียนปี ที่ 10 ต่อจากการศึกษาภาคบังคับ
(ประถม+มัธยม= 9 ปี ) เพื่อให้นักเรียนที่ยังไม่ได้
ตัดสินใจว่าจะเรียนวิชาชีพใด หรือนักเรียนที่
ด้อยโอกาสทางการศึกษา เช่น เรียนช้าหรือ
นักเรียนที่ต้องการเรียนเพื่อให้มีความรู้แน่นโดย
เรียนอีก 1 ปี ก่อนที่จะเรียนต่อในระดับสูงขึน

ระบบการศึกษาในสวิตเซอร์แลนด์ แบ่งเป็ น 5 ระดับ ดังนี ้
ระดับชัน
้ รายละเอียด

1.2 Diploma Level School: หรือ General


School เป็ นโรงเรียนที่จัดสอนการศึกษาทั่ว ๆ
ไปเกี่ยวกับชีวิตประจำวัน เพื่อให้แนวทางแก่
นักเรียนในการเลือกแนวทางการศึกษาหรือ
วิชาชีพสำหรับเรียนต่อในสาขาวิชาชีพระดับสูง
ขึน

1.3 Cantonal School : หรือ Gymnasium
หรือ Lycee หรือ College เป็ นโรงเรียนที่
เตรียมนักเรียนให้สอบ Leaving Certificate (ห
รือ Certificate de maturit) เพื่อเข้าศึกษาต่อ
ในมหาวิทยาลัยหรือสถาบันเทคโนโลยี โดยไม่
ต้องผ่านการสอบเข้า (Entrance
Examination) ระยะเวลาในการเรียนเพื่อสอบ
รับประกาศนียบัตรดังกล่าว ใช้เวลา 4 ปี ต่อจาก
มัธยมศึกษาตอนต้น การเรียนประเภทนี ้
นอกจากจะเรียนในโรงเรียนที่สอนและจัดสอบ
เองแล้ว ยังมีโรงเรียนประเภทกวดวิชา สอน
เฉพาะวิชาที่จะสอบรับ Leaving Certificate
การสอบจะจัดทำโดย Commission Federal
de Maturit (Ferderal Graduation
Commission) ซึ่งจัดสอบเป็ นประจำทุกปี
โรงเรียนประเภทนีม
้ ีทงั ้ ของรัฐบาลและ เอกชน
ระบบการศึกษาในสวิตเซอร์แลนด์ แบ่งเป็ น 5 ระดับ ดังนี ้
ระดับชัน
้ รายละเอียด

โดยเปิ ดสอนภาคค่ำ มีอยู่ในเมืองใหญ่ 6 เมือง


คือ Zurich, Basel, Geneva, Berne,
Lausanne และ Luzerne
2. โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายสายอาชีพ
แบ่งเป็ น
2.1 Apprenticeship: หลักสูตร 2-4 ปี เรียน
ทัง้ ทฤษฎีและฝึ กงานด้านวิชาชีพ เมื่อจบแล้วจะ
ได้ Federal Certificate
2.2 College of Commerce: หลักสูตร 3-4
ปี ทางด้านธุรกิจ และการบริหาร จบแล้วได้
ประกาศนียบัตรซึ่งได้รับการรับรองจาก
Federal Office of Industry, Arts, Trade
and Labour

ระดับอุดมศึกษา สวิต แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ


เซอร์แลนด์ 1. การศึกษาวิชาชีพชัน
้ สูง โดยทั่วไปแบ่งเป็ น
(Tertiary 2 ระดับ คือ
Education) 1.1 Higher Vocational School: สอน
วิชาชีพต่าง ๆ เช่น ครูอนุบาล ธุรกิจ การ
บริหาร เป็ นต้น
1.2 Higher Technical School: สอน
วิชาชีพทางช่าง เช่น วิศวกรรมศาสตร์
ระบบการศึกษาในสวิตเซอร์แลนด์ แบ่งเป็ น 5 ระดับ ดังนี ้
ระดับชัน
้ รายละเอียด

2. การศึกษาในมหาวิทยาลัยและสถาบัน
เทคโนโลยี โดยทั่วไปแบ่งเป็ น 2 ระดับ คือ
2.1 First degree (ปริญญาตรี): สถานศึกษา
บางแห่งเรียกว่า Diploma ระยะเวลาในการ
ศึกษา 6-13 semester หรือ 3 – 6 1/2 ปี (2
semester 1 ปี ) ขึน
้ อยู่กับสาขาวิชาและสถาน
ศึกษากำหนด
2.2 Doctorate (ปริญญาเอก): ระยะเวลาใน
การศึกษา 2-3 ปี ต่อจากปริญญาตรี (First
degree ที่กล่าวข้างต้น) การเรียนในระดับนี ้
ส่วนใหญ่เป็ นการสัมมนา ค้นคว้าวิจัยและเขียน
วิทยานิพนธ์

อนึ่ง สถานศึกษาบางแห่งอาจแบ่งเป็ น 3 ระดับ


คือ Licentiate, Diploma (หรือ Certificate)
และ Doctorate

มหาวิทยาลัยหรือสถาบันเทคโนโลยีเป็ นของ
รัฐบาลทัง้ หมด มี 10 แห่ง โดยแบ่งเป็ นสถาน
ศึกษาที่อยู่ในเขตพูดภาษาเยอรมัน (German) 5
แห่ง และอยู่ในเขตพูดภาษาฝรั่งเศส (French) 5
แห่ง ในเขตพูดภาษาอิตาเลียน (Italian) ไม่มี
ระบบการศึกษาในสวิตเซอร์แลนด์ แบ่งเป็ น 5 ระดับ ดังนี ้
ระดับชัน
้ รายละเอียด
มหาวิทยาลัยหรือสถาบันเทคโนโลยีตงั ้ อยู่ สถาน
ศึกษาที่ตงั ้ อยู่ในเขตพูดภาษาใดก็จะใช้ภาษานัน

เป็ นภาษาในการเรียนการสอน ยกเว้น
มหาวิทยาลัย Fribourg จะใช้ทงั ้ ภาษาเยอรมัน
(German) และภาษาฝรั่งเศส (French)
เครดิต ข้อมูลจากสำนักงาน ก.พ.

การสมัครศึกษาต่อในสวิตเซอร์แลนด์

นักศึกษาสามารถหาข้อมูลเกี่ยวกับมหาวิทยาลัย การรับสมัคร
คุณสมบัติของผูส
้ มัครศึกษาต่อได้โดยตรงจากเว็บไซด์ของมหาวิทยาลัย
นัน
้ ๆ โดยทั่วไปเอกสารที่ต้องใช้ในการสมัครในระดับปริญญาตรี ประกอบ
ด้วย Transcript ระดับ ม.4 – 6 โดยนักศึกษาจะต้องขอเทียบระดับการ
ศึกษาว่าเทียบเท่ากับ Leaving Certificate ของสวิตเซอร์แลนด์หรือไม่
หากสถานศึกษาไม่ยอมรับ นักศึกษาอาจจะต้องสมัครสอบเข้า หรือสอบ
Entrance หรืออาจสมัครเข้าหลักสูตรเตรียมสอบเข้ามหาวิทยาลัย ซึง่ ใช้
เวลาเรียน 1 ปี โดยนักศึกษาสามารถยื่นสมัครผ่านมหาวิทยาลัย ได้ก่อน
วันที่ 31 กรกฎาคมของปี การศึกษาที่จะเข้าศึกษา นอกจากนัน
้ ยังอาจจะ
ต้องมีผลการสอบวัดระดับภาษาเยอรมัน (DSH, TestDaF, ZMP, ZOP)
หรือฝรั่งเศส แล้วแต่หลักสูตร
ในระดับที่สงู กว่าปริญญาตรีสามารถเขียนจดหมายสมัครโดยตรงไป
ที่มหาวิทยาลัย พร้อมทัง้ แนบทรานสคริปและผลการสอบวัดความ
สามารถทางภาษา

การใช้ชีวิตในสวิตเซอร์แลนด์

การเตรียมตัวเพื่อศึกษาต่อในสวิตเซอร์แลนด์มีความคล้ายคลึงกับ
การเรียนต่อในต่างประเทศโดยทั่วๆ ไป การเตรียมความพร้อมด้านภาษา
จิตใจ ร่างกาย รวมถึงแสวงหาข้อมูลเกี่ยวกับประเทศนัน
้ ๆ เป็ นสิ่งสำคัญ
นักศึกษาต้องเปิ ดใจให้กว้าง เรียนรู้ และปรับตัวให้เข้าสามารถเข้ากับ
สภาพแวดล้อมใหม่ๆ

1. อาหาร อาหารที่นิยมรับประทานในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ มี
ความคล้ายคลึงกับอาหารในยุโรปทั่วไป เช่น พิซซ่า สปาเกตตี ้ อาหาร
จานเนื้อ สลัด ขนมปั ง และฟองดู อาหารในสวิสอาจมีส่วนผสมของชีสต์
ค่อนข้างเยอะ ซึ่งอาจจะไม่ถูกปากคนไทยนัก นอกจากนัน
้ สวิสยังมีค่า
ของชีพค่อนข้างสูง การฝึ กทำอาหารไทยเมนูง่ายๆ จะช่วยให้นักศึกษา
สามารถประหยัดค่าใช้จ่ายได้ดีทีเดียว หรือเลือกที่จะฝากท้องไว้กับโรง
อาหารของมหาวิทยาลัยก็เป็ นทางออกที่ไม่แย่นัก

2. ที่พัก ส่วนใหญ่มหาวิทยาลัยในสวิตเซอร์แลนด์ไม่มีหอพัก
นักศึกษาจึงต้องหาทีพ
่ ักเอง โดยอาจหาข้อมูลจากป้ ายประกาศของ
มหาวิทยาลัยหรือเมือง สอบถามกับ student advisor ที่มหาวิทยาลัย
หรือหาข้อมูลจากอินเตอร์เนต ในช่วงแรกที่ยังหาที่พักไม่ได้ การพักใน
Youth Hostel (Jugendherberg) ก็เป็ นทางออกฉุกเฉินที่ดี
3. การเดินทาง สวิตเซอร์แลนด์มีระบบการขนส่งมวลชนที่ทันสมัย
ทัง้ รถไฟ (SBB) รถบัส รถราง การเดินทางระยะใกล้ๆในเมือง นักศึกษา
อาจเลือกใช้จักรยานเพื่อลดค่าใช้จ่าย แต่หากเมืองใดมีเนินหรือภูเขาเยอะ
ก็อาจจะเหน็ดเหนื่อยในการปั่ นนิดหน่อย สนามบินหลักของสวิตเซอร์
แลนด์ประกอบด้วย สนามบินซูริก บาเซล เบิร์น ฯล

9 เหตุผลที่ควรเลือกไปเรียนในสวิตเซอร์แลนด์

สวิตเซอร์แลนด์เป็ นประเทศเล็ก ๆ ในยุโรปที่ต้อนรับนักศึกษาต่าง


ชาติจากทั่วทุกมุมโลก เป็ นประเทศที่มีช่ อ
ื เสียงในด้านมหาวิทยาลัยที่ยอด
เยี่ยม ศูนย์การวิจัยที่ก้าวล้ำ และความมุ่งมั่นในการลงทุนในอุตสาหกรรม
แห่งอนาคต

ยิ่งไปกว่านัน
้ นักเรียนในเมืองต่าง ๆ เช่น ซูริกและเจนีวา สามารถ
เข้าถึงหอศิลป์ พิพิธภัณฑ์ โรงละคร และสถานที่แสดงดนตรีสดได้เป็ น
จำนวนมาก ในขณะที่สิ่งมหัศจรรย์ทางธรรมชาติที่เป็ นสัญลักษณ์ของ
ประเทศ เช่น เทือกเขาแอลป์ ก็อยู่ห่างออกไปเพียงไม่กี่ชั่วโมง

นอกจากนีย
้ ังมีสถาบันอุดมศึกษาหลายแห่งตัง้ อยู่ใจกลางเทือกเขา
แอลป์ บางสถาบันสามารถมองเห็นวิวของหุบเขาและยอดเขาสูง
ตระหง่านได้จากหน้าต่างห้องเรียน! ดังนัน
้ หากคุณกำลังมองหา
ประสบการณ์ที่ไม่เหมือนใครอย่างแท้จริงในฐานะนักเรียนต่างชาติ ต่อไป
นีค
้ ือเหตุผล 9 ประการในการมาเรียนที่สวิตเซอร์แลนด์
1. นวัตกรรม (Innovation)
สวิตเซอร์แลนด์ได้รับเลือกให้เป็ น
ประเทศที่มีนวัตกรรมมากที่สุดถึง 8 ปี ซ้อน
โดย Global Innovation Index ความ
สำเร็จอย่างต่อเนื่องส่วนใหญ่มาจากสามสิ่ง
นั่นก็คือ มหาวิทยาลัยที่ยอดเยี่ยม การ
ลงทุนขนาดใหญ่ในการวิจัยและพัฒนา และโครงสร้างพื้นฐานที่มี
มาตรฐานระดับโลก
สวิตเซอร์แลนด์กำลังกลายเป็ นศูนย์กลางของยุโรปสำหรับ
เทคโนโลยี Cryptocurrency และ Blockchain โดยเมือง Zug ซึง่ เป็ น
เมืองเล็ก ๆ ทางตอนใต้ของซูริก มักจะถูกเรียกจากคนในวงการว่า
‘Crypto Valley’ และเป็ นฐานของยุโรปสำหรับ Ethereum ซึ่งเป็ นหนึ่ง
ในผู้เล่นหลักในแวดวงบล็อคเชน
2. ความยั่งยืน (Sustainability)
ในปี 2015 ในขณะที่หลายประเทศ
ยังคงถกเถียงกันเกี่ยวกับสนธิสัญญาปารีส
ซึ่งเป็ นข้อตกลงด้านสภาพอากาศ สวิต
เซอร์แลนด์เป็ นประเทศแรกในโลกที่ย่ น

แผนภูมิอากาศต่อสหประชาชาติเพื่อลด
การปล่อยก๊าซคาร์บอนจนถึงปี 2030 สวิตเซอร์แลนด์กำลังตัง้ เป้ าที่จะลด
การปล่อยคาร์บอนให้เหลือเป็ น 0 ภายในปี 2050
ขณะนีท
้ างรัฐบาลกำลังปรับปรุงกฎหมายสำคัญ ๆ เพื่อช่วยกำหนด
มาตรการใหม่ ซึ่งรวมถึงการจัดเก็บภาษีคาร์บอนที่เพิ่มขึน
้ และการระดม
ทุนเพิ่มเติมสำหรับภาคพลังงานหมุนเวียนและโครงการต่าง ๆ ที่เป็ นมิตร
ต่อสิ่งแวดล้อม รัฐบาลสวิสหวังว่าสิ่งนีจ
้ ะจูงใจให้ผป
ู้ ระกอบการเกิดความ
ใส่ใจในสิง่ แวดล้อมมากขึน

3. ความหลากหลาย (Diversity)
ในฐานะศูนย์กลางทางการเงิน
เทคโนโลยี และนวัตกรรมระดับโลก สวิต
เซอร์แลนด์ได้ดึงดูดผู้คนจากทั่วทุกมุมโลก
สร้างบรรยากาศความเป็ นสากลอย่างชัดเจน
ภายในเมืองใหญ่ ๆ โดยมีภาษาราชการถึง 4
ภาษา คือ เยอรมัน ฝรั่งเศส อิตาลี และโรมานซ์ ยิ่งไปกว่านัน
้ ทุกภูมิภาค
ยังใช้ภาษาถิ่นซึ่งอาจจะมีความแตกต่างกันเล็กน้อย คุณอาจจะได้ยินผูค
้ น
พูดภาษาอังกฤษโดยทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งในธุรกิจ
ในวิทยาเขตของมหาวิทยาลัย และในเมืองใหญ่ เช่น ซูริก เจนีวา
และเบิร์น ในมหาวิทยาลัยของรัฐส่วนใหญ่จะสอนเป็ นภาษาฝรั่งเศสและ
เยอรมันเป็ นหลัก แต่ก็จะเปิ ดสอนหลักสูตรที่สอนเป็ นภาษาอังกฤษด้วย
ทำให้สามารถดึงดูดนักศึกษาต่างชาติหลายพันคนในแต่ละปี เกิดความ
หลากหลายทางวัฒนธรรมและทำให้วิทยาเขตมีชีวิตชีวาขึน
้ อย่างเช่น
นักศึกษามหาวิทยาลัยเจนีวาทัง้ หมดประมาณ 16,000 คน ประมาณ
40% ของทัง้ หมดเป็ นนักศึกษาต่างชาติ
4. โอกาสในการเรียนภาษา
ในฐานะที่เป็ นประเทศที่ผค
ู้ นพูดหลายภาษา สวิตเซอร์แลนด์จึงเป็ น
สถานที่ที่ดีในการเรียนรู้ภาษาอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ภาษาอังกฤษ ทำให้ตัวเลือก
ด้านอาชีพหลังจบการศึกษาของคุณเพิ่มขึน
้ อย่างมาก เยอรมนีมีเศรษฐกิจ
ที่แข็งแกร่งที่สุดแห่งหนึ่งในยุโรปซึ่งเต็มไปด้วยบริษัทเทคโนโลยีชน
ั ้ นำ
การธนาคาร และด้านการผลิต มีโปรแกรมการฝึ กอบรมนักศึกษาฝึ กงานที่
ยอดเยี่ยม ภาษาฝรั่งเศสเป็ นอีกภาษาที่มีประโยชน์มากสำหรับผู้ที่ต้องการ
ประกอบอาชีพในธุรกิจระหว่างประเทศ ซึง่ ภาษาฝรั่งเศสนัน
้ ก็เป็ นภาษาที่
ใช้กันอย่างแพร่หลายเป็ นอันดับสองในสหภาพยุโรป และเป็ นภาษา
ราชการของ 29 ประเทศทั่วโลก เช่น แคนาดา เบลเยียม และมหาอำนาจ
ทางเศรษฐกิจที่กำลังเติบโตในแอฟริกา เช่น แทนซาเนีย รวันดา และ
โมซัมบิก
การวิจัยแสดงให้เห็นว่าการเรียนรู้ภาษาใหม่สามารถเพิ่มพลังสมอง
ของคุณ เพิ่มความคิดสร้างสรรค์ และสร้างแรงบันดาลใจในการคิดแบบ
ใหม่ งานวิจัยชิน
้ หนึ่งที่ตพ
ี ิมพ์ในนิวยอร์กไทม์ส (New York Times) ชีใ้ ห้
เห็นว่าการได้มาซึ่งทักษะทางภาษาเพิ่มเติมสามารถป้ องกันสมองของคุณ
จากผลกระทบที่เสื่อมโทรมของวัยชราได้

5. วิวทิวทัศน์อันสวยงามและกีฬาฤดูหนาวที่น่าตื่นเต้น
ในช่วงปิ ดเทอมหรือช่วงวันหยุด
ต่าง ๆ นักศึกษาต่างชาติในสวิตเซอร์
แลนด์จะได้มีโอกาสในการเดินทางสำรวจหนึ่งในประเทศที่สวยงามที่สุด
ในโลก พวกเขาสามารถเพลิดเพลินไปกับการล่องเรือข้ามทะเลสาบเจนีวา
หรือเยี่ยมชมน้ำตกไรน์ ซึ่งเป็ นน้ำตกที่ทรงพลังที่สุดในยุโรป
นอกจากนีย
้ ังสามารถใช้เวลาช่วงสุดสัปดาห์เพื่อเยี่ยมชมความ
มหัศจรรย์ทางธรรมชาติของเทือกเขาแอลป์ ซึ่งสถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยม
ได้แก่ ภูเขา Matterhorn ที่มีความสูง 4,478 เมตร ธารน้ำแข็งยุคก่อน
ประวัติศาสตร์ เช่น Eiger Glacier ซึง่ มองเห็นได้จากหอสังเกตการณ์ Piz
Gloria และทางรถไฟที่ไต่เขาขึน
้ ไปยังยอด Jungfrau ซึ่งเป็ นเส้นทาง
รถไฟเก้ากิโลเมตรที่น่าตื่นตาตื่นใจ โดยจะไต่เขาเพิ่มขึน
้ จากความสูง
2,061 เมตร ที่ Kleine Scheidegg เหนือสันเขาแล้วผ่านใจกลางภูเขา
ลอดไปในอุโมงค์ไปยังสถานีรถไฟที่สูงที่สุดในยุโรป นั่นก็คือ
Jungfraujoch ที่ความสูง 3,466 เมตร!
6. การท่องเที่ยวและการต้อนรับขับสู
จากผู้คนในท้องถิ่น
ด้วยทิวทัศน์อันสวยงามและกิจกรรมที่
น่าตื่นตาตื่นใจสำหรับนักเดินทาง จึงไม่
น่าแปลกใจเลยที่สวิตเซอร์แลนด์จะเป็ น
ผู้นำด้านการท่องเที่ยวและการต้อนรับ
(Tourism & hospitality) และยังเป็ นผู้นำในการศึกษาในด้านนีด
้ ้วย
แท้จริงแล้ว สวิตเซอร์แลนด์ถือได้ว่าเป็ นแหล่งกำเนิดของวิชาการโรงแรม
(Hospitality)
ด้วยประวัติศาสตร์อันยาวนานในพื้นที่แห่งนีซ
้ งึ่ มีอายุประมาณ 150
ปี เมื่อมีการสร้างโรงแรมขนาดใหญ่ทั่ว Montreux Riviera ซึ่งเป็ นการ
ประกาศการเริ่มต้นของการท่องเที่ยวที่หรูหราในประเทศ มีสภาพอากาศ
ที่เอื้ออำนวยและมีแรงดึงดูดของการผจญภัยไปในที่ต่าง ๆ ราชวงศ์จาก
ต่างประเทศมักเดินทางมาพักผ่อนที่สวิตเซอร์แลนด์ เนื่องจาก
อุตสาหกรรมการบริการที่นี่ได้ตอบสนองความต้องการที่เข้มงวดของพวก
เขา โดยในส่วนของ Hospitality ได้มีการวางรากฐานสำหรับ
อุตสาหกรรมการบริการของสวิตเซอร์แลนด์จากอดีตจนถึงอย่างที่เป็ นอยู่
ในปั จจุบัน ซึง่ มีมูลค่าประมาณ 17,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐในทุก ๆ ปี
7. สถานที่สร้างอาชีพ
ประมาณ 25% ของแรงงานในส
วิตเซอร์แลนด์เป็ นชาวต่างชาติ รวมถึง
อดีตนักศึกษาต่างชาติจำนวนมากที่
เลือกที่จะอยู่ต่อหลังจากสำเร็จการ
ศึกษา…แล้วเหตุใดพวกเขาจึงตัดสินใจ
สร้างอาชีพในสวิตเซอร์แลนด์กัน?
หนึ่งในเหตุผลนัน
้ ก็คือ ธุรกิจชัน
้ นำที่ติดอันดับ Fortune จาก 500
แห่ง มีจำนวน 14 แห่งที่มีสำนักงานใหญ่อยู่ในสวิตเซอร์แลนด์ นอกจากนี ้
บริษัทต่างๆ เช่น Nestlé, Adecco Group และ Glencore
International มีความสัมพันธ์ในการทำงานอย่างใกล้ชิดกับมหาวิทยาลัย
ที่ดีที่สุดของสวิตเซอร์แลนด์ Winfried Ruigrok ซึง่ เป็ นคณบดีของ St
Gallen Executive School of Management กล่าวว่า “พวกเขามาหา
เราเพื่อสรรหาบุคลากร พวกเขากระตือรือร้นที่จะร่วมงานกับเรา อาจเป็ น
เพราะเรามีแนวทางปฏิบัติที่เข้มงวด”
8. เครือข่ายทางสังคมและธุรกิจ
การสร้างเครือข่ายเป็ นส่วนสำคัญใน
การส่งเสริมวัฒนธรรมการทำงาน
ร่วมกันและนวัตกรรม นั่นเป็ น
เหตุผลที่องค์กรต่างๆ เช่น Geneva
Women in International Trade
(GWIT) จัดงานเป็ นประจำเพื่อ
รวบรวมความคิดทางธุรกิจที่ดีที่สุด โดย GWIT เป็ นการรวบรวมสตรีที่
เป็ นมืออาชีพ มีความกระตือรือร้นและมีความหลากหลายมุมมอง จาก
บริษัทสตาร์ทอัพเอกชน บริษัทข้ามชาติ ภาครัฐ และเอ็นจีโอ จำนวน
300 แห่ง
สมาชิกจะมารวมตัวกันอย่างไม่เป็ นทางการประมาณเดือนละครัง้
เป็ นเวลาหนึ่งชั่วโมง ตามด้วยการนำเสนอจากวิทยากรรับเชิญ กิจกรรม
เพื่อสร้างแรงบันดาลใจในการสนทนาที่มีความหมายมากขึน
้ และโอกาส
ในการเป็ นหุ้นส่วนทางธุรกิจของกันและกัน
9. ความปลอดภัยและความมั่นคง
ในสวิตเซอร์แลนด์ มีอัตรา
การเกิดอาชญากรรมต่ำและ
อาชญากรรมรุนแรงนัน
้ หายากมาก
นอกจากนีย
้ ังเป็ นประเทศที่สะอาด
ที่สุดแห่งหนึ่งของโลกด้วยมีเครือ
ข่ายการขนส่งสาธารณะที่ดีเยี่ยม
และระบบสุขภาพมาตรฐานระดับโลก
ชาวสวิสมีมาตรฐานการครองชีพที่สูง มีระดับความเป็ นอยู่ที่ดีและ
สูงกว่าค่าเฉลี่ยทั่วโลก รัฐบาลเปิ ดกว้าง โปร่งใส และรับผิดชอบอย่างเต็ม
ที่ พลเมืองสวิสสามารถประท้วงกฎหมายที่รัฐบาลร่างขึน
้ ใหม่ได้หาก
รวบรวมลายเซ็นจาก 50,000 รายชื่อภายในสิบวันนับจากวันที่ประกาศ
ผ่าน ลายเซ็นมากกว่า 50,000 รายชื่อก่อให้เกิดการลงคะแนนเสียงใน
ระดับชาติ โดยที่กฎหมายใหม่จะได้รับการยอมรับหรือปฏิเสธโดยเสียง
ข้างมาก

การปฏิรูปเพื่อยกระดับผลการศึกษา
การใช้จ่ายภาครัฐในด้านการศึกษาของเด็กเล็กค่อนข้างต่ำการใช้
จ่ายด้านการศึกษาโดยคิดเป็ นส่วนแบ่งของ GDP ในสวิตเซอร์แลนด์ใกล้
เคียงกับค่าเฉลี่ยใน OECD (ประมาณ 6%) อย่างไรก็ตาม การใช้จ่ายต่อ
นักเรียนเทียบกับ GDP ต่อหัวยังอยู่ในระดับสูง เรื่องนีม
้ ีขอบเขตค่อนข้าง
มากโดยมีอัตราการเข้าร่วมการศึกษาปฐมวัยและอุดมศึกษาที่ค่อนข้างต่ำ
ค่าใช้จ่ายต่อนักเรียนหนึ่งคนจะสูงขึน
้ ในระยะหลังของอาชีพการศึกษา (โ
ดยเฉพาะในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและระดับอุดมศึกษาการศึกษา
เชิงวิชาการ) ในประเทศ OECD ส่วนใหญ่ ในสวิตเซอร์แลนด์ แนวโน้มนี ้
ชัดเจนกว่ามากมากกว่าประเทศ OECD อื่นๆ การใช้จ่ายต่อนักเรียนต่อ
การศึกษาอยู่ในระดับต่ำ (รูปที่ 9)และ 10) ค่าธรรมเนียมการดูแลเด็ก
สำหรับเด็กอายุต่ำกว่า 4 ปี มักจะสูง ซึ่งถือว่าต่ำ
เช่นเดียวกับประเทศ OECD ส่วนใหญ่ การใช้จ่ายส่วนใหญ่เป็ นของ
สาธารณะ รวมถึงในด้านวิชาการระดับอุดมศึกษาด้วยการศึกษา. ข้อ
ยกเว้นที่สำคัญในสวิตเซอร์แลนด์คือการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอน
ปลายสายอาชีพบริษัทต่างๆ จัดทำค่าใช้จ่ายในการฝึ กอบรมที่สำคัญ
สำหรับการฝึ กอบรมภาคปฏิบัติ ประมาณครึ่งหนึง่ ของค่าอาชีวศึกษา การ
ศึกษาเกิดจากนายจ้าง (Höckel et al. 2009) เนื่องจากการฝึ กงานมีผล
กำไรให้กับบริษัทโดยเฉลี่ยตลอดระยะเวลาของการฝึ กงาน (ดูเช่น
Wolter, 2008) ค่าใช้จ่ายส่วนตัวเหล่านีค
้ ือ ส่วนใหญ่เกิดจากผู้เข้ารับการ
ฝึ กอบรมผ่านการใช้เวลาทำงานโดยมีค่าจ้างต่ำกว่าผลิตภัณฑ์ส่วนเพิ่ม 10
ระยะเวลาที่ผู้เข้ารับการฝึ กอบรมต้องทำงานเพื่อหาทุนในการฝึ กอบรม
อาจเป็ นข้อจำกัดเวลาที่พวกเขาสามารถอุทิศให้กับการศึกษาได้
เหตุการณ์นอ
ี ้ าจก่อให้เกิดคำถามว่าพวกเขาใช้จ่ายหรือไม่ระยะเวลาใน
การศึกษาที่เหมาะสมที่สุดโดยคำนึงถึงผลประโยชน์สุทธิตลอดชีวิต รวม
ถึงเงื่อนไขด้วยของโอกาสการจ้างงานตลอดชีวิตที่ดีขน
ึ ้ ตามที่ระบุไว้ข้าง
ต้น การศึกษาส่วนใหญ่จะจัดในที่ทำงานสัดส่วนของเวลาที่ใช้ในโรงเรียน
ต่อสัปดาห์จะแตกต่างกันไป โดยทั่วไปจะอยู่ที่ 1-2 วันต่อสัปดาห์
(Höckel et al.)จากการวิเคราะห์ของแบบสำรวจ Adult Literacy ซึ่ง
ทดสอบการอ่าน คณิตศาสตร์ และปั ญหาทักษะการแก้ปัญหาของ
ประชากรผู้ใหญ่ คะแนนเฉลี่ยถึงระดับ ปวส. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ผู้ถือคือ 41 คะแนน บุคคลที่เรียนภาคบังคับมีคะแนนเฉลี่ยถึง 33
คะแนน (Falter et al., 2007) และผู้ถือวุฒิการศึกษาระดับวุฒิภาวะ (รว
มถึงวุฒิการศึกษาระดับวุฒิภาวะด้วย) 61 คะแนน บางส่วนของความแตก
ต่างเหล่านีน
้ ่าจะเกิดจากผลการคัดเลือก ใช้เวลาร่วมกันมากขึน
้ เล็กน้อย
การศึกษาในโรงเรียนอาจชักจูงผู้สำเร็จการศึกษาให้ได้รับวุฒิการศึกษา
ระดับมืออาชีพมากขึน
้ ทำให้สามารถเข้าถึงมหาวิทยาลัย
วิทยาศาสตร์ประยุกต์ซึ่งมีปริญญาที่ให้ผลตอบแทนค่อนข้างสูงแม้ว่าจะ
มีนโยบายก็ตามผู้ผลิตจะต้องหลีกเลี่ยงการเพิ่มจำนวนผู้ออกกลางคัน การ
ใช้จ่ายสาธารณะต่อนักเรียนชัน
้ การศึกษาทั่วไประดับมัธยมศึกษาที่ไม่มี
การสนับสนุนเงินทุนจากภาคเอกชนอย่างมีนัยสำคัญคือประมาณ 25%
สูงกว่าการศึกษาภาคบังคับ (OFS, 2009a) และสูงกว่าในระดับอาชีวะ
ตอนบนอย่างมาก การใช้จ่ายภาครัฐต่อนักเรียนหนึ่งคนก็ลดลงอย่างมาก
เช่นกันในระดับอุดมศึกษาอาชีวศึกษามากกว่าการศึกษาเชิงวิชาการระดับ
อุดมศึกษา
มีการโต้แย้งใน OECD (2007c) ว่าเป็ นที่น่าสงสัยว่าการใช้จ่าย
สาธารณะต่อนักเรียนหนึ่งคนจะสูงขึน
้ หรือไม่ ขัน
้ ตอนการศึกษาในภาย
หลังเป็ นการกำหนดลำดับความสำคัญที่เหมาะสมด้วยเหตุผลด้าน
ประสิทธิภาพและความเสมอภาค ประการแรก มีหลักฐานที่แสดงว่า
ความมีประสิทธิผลของการศึกษาในระดับที่กำหนดนัน
้ ขึน
้ อยู่กับความมี
ประสิทธิภาพเป็ นอย่างมากการศึกษาอยู่ในขัน
้ ตอนก่อนหน้านี ้
(Heckman และ Masterov, 2007) เสนอแนะว่าผลประโยชน์ส่วนเพิ่ม
การใช้จ่ายภาครัฐในระยะแรกมีสูง โดยเฉพาะในประเทศสวิสเซอร์แลนด์
ที่มีการเข้าร่วมในระดับเตรียมประถมศึกษา การศึกษาและการดูแลเด็ก
ยังค่อนข้างต่ำ ในขณะที่ความเชื่อมโยงระหว่างระดับทรัพยากรและการ
ศึกษาผลลัพธ์มักจะอ่อนแอ มีหลักฐานที่แสดงว่า เช่น ขนาดชัน
้ เรียนมี
ผลกระทบที่สำคัญมากกว่านักเรียนที่อายุน้อยมากจากภูมิหลังด้อยโอกาส
(ดูเช่น Piketty และ Valdenaire, 2006 เพื่อเป็ นหลักฐานเกี่ยวกับ
ฝรั่งเศส). ประการที่สอง นักเรียนส่วนใหญ่ที่ประกอบอาชีพการศึกษา
ระยะยาวมักจะมีภูมิหลังทางครอบครัวเป็ นตัวแทนของภูมิหลังทาง
เศรษฐกิจและสังคมที่ดีมากเกินไป การใช้จ่ายภาครัฐเอื้ออำนวยต่อระยะ
หลังของอาชีพการศึกษาจึงมีแนวโน้มถดถอย จุดนีม
้ ีความโดดเด่นเป็ น
พิเศษในสวิตเซอร์แลนด์ซึ่งเส้นทางสายอาชีวศึกษาได้รับเงินทุนสาธารณะ
น้อยกว่าสายอาชีพ ประการที่สาม การศึกษาปฐมวัยมีลักษณะสินค้า
สาธารณะและสินค้าบุญที่เด่นชัดเป็ นพิเศษ: มีโอกาสล้มเหลวด้านการ
ศึกษาตัง้ แต่อายุยังน้อย เพื่อนำมาซึ่งค่าใช้จ่ายจำนวนมากให้กับสังคมโดย
รวม (เช่น การใช้จ่ายด้านสวัสดิการ) และผู้ปกครองที่มีบุตรหลานมีแนว
โน้มที่จะได้รับประโยชน์มากที่สุดอาจไม่สามารถประเมินผลประโยชน์ได้
ครบถ้วน
ในมุมมองของผลประโยชน์ส่วนตัวต่อการศึกษาระดับอุดมศึกษา มี
กรณีที่อนุญาตให้มีเงินทุนส่วนตัวเข้ามามีบทบาทมีบทบาทสำคัญในการ
ศึกษาระดับมหาวิทยาลัยในระดับอุดมศึกษา โดยไม่เปิ ดโอกาสให้
นักศึกษาที่มีภูมิหลังทางเศรษฐกิจสังคมต่ำไปสู่การศึกษาระดับอุดมศึกษา
ตกอยู่ในความเสี่ยง ทรัพยากรการใช้จ่ายด้านการศึกษาในวัยเด็ก การ
ศึกษายังสามารถระดมจากการออมในโครงการสิทธิการใช้จ่ายทางสังคม
โดยเฉพาะด้านสุขภาพและความพิการ (OECD, 2007a)
ในขณะที่รัฐบาลกลางให้การสนับสนุนเงินทุนแก่มหาวิทยาลัยและ
การใช้จ่ายสาธารณะอย่างมีนัยสำคัญในการศึกษาระดับประถมศึกษาและ
มัธยมศึกษาส่วนใหญ่ได้รับทุนสนับสนุนจากรัฐ เทศบาลมีความสำคัญ
ความรับผิดชอบในการให้ทุนดูแลเด็กตลอดจนวัยเด็กและระดับประถม
ศึกษาในระดับที่น้อยกว่าการศึกษา การจัดสรรความรับผิดชอบด้านเงิน
ทุนที่สำคัญให้กับเทศบาลจะสร้างพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ การรั่วไหลซึ่งอาจ
ส่งผลให้มีข้อกำหนดไม่เพียงพอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีที่ไม่จำเป็ นต้อง
เข้าร่วม ที่ผลประโยชน์ในแง่ของการศึกษาที่ดีขน
ึ ้ ในภายหลังและผลลัพธ์
ของตลาดแรงงานมักจะไม่ได้รับการเก็บเกี่ยวจัดหาเทศบาลอันเป็ นผลมา
จากความคล่องตัวทางภูมิศาสตร์ อีกทัง้ เนื่องจากเป็ นส่วนสำคัญของการ
ผลประโยชน์จะไม่เกิดขึน
้ กับบุคคล แต่เกิดขึน
้ กับผู้เสียภาษีทงั ้ หมดทั่ว
ประเทศผ่านรายได้จากภาษีที่สูงขึน
้ และการใช้จ่ายด้านสวัสดิการที่ลดลง
และลักษณะคุณวุฒิตามที่กล่าวไว้ข้างต้น ไม่น่าจะเป็ นไปได้ที่ผู้ปกครองมี
สิทธิออกเสียงนำผลประโยชน์เหล่านัน
้ ไปใช้ในการตัดสินใจลงคะแนน
เสียง ผลกระทบเชิงบวกของการจัดให้มีการศึกษาก่อนประถมศึกษาที่
เอื้อเฟื้ อมากขึน
้ ต่ออุปทานแรงงานสตรีก็อาจขึน
้ อยู่กับปั จจัยภายนอกเช่น
กัน ดังที่ผู้ปกครองอาจเลือกที่จะฝากบุตรหลานไว้ในสถานที่นอกเขต
เทศบาลที่ตนอาศัยอยู่ (OECD, 2006a)
การปรับปรุงการมีส่วนร่วมของการศึกษาก่อนประถมศึกษาไปสู่
ผลลัพธ์
งานเชิงประจักษ์จำนวนมากได้กำหนดความสามารถพื้นฐานด้าน
ความรู้ความเข้าใจและความสามารถที่ไม่เกี่ยวกับการรับรู้ดังกล่าวเกิดขึน

ในช่วงปี แรก ๆ ก่อนที่เด็กจะอายุครบห้าขวบ เด็กจากครอบครัวด้อย
โอกาสได้รับการกระตุ้นทางสติปัญญาและอารมณ์น้อยกว่าเด็กคนอื่นๆ มี
การชะลอการพัฒนา (Heckman และ Masterov, 2007) สำหรับเด็ก
เหล่านีก
้ ารเข้ารับเลีย
้ งเด็กและสิ่งอำนวยความสะดวกด้านการศึกษาก่อน
วัยเรียนมีประสิทธิผลในการหลีกเลี่ยงปั ญหาการเรียนรู้ในภายหลัง (เช่น
OECD, 2006d) มีหลักฐานมากมายที่แสดงให้เห็นว่าการเรียนตัง้ แต่อายุ
ยังน้อยช่วยเพิ่มโอกาสทางการศึกษาในระยะต่อมา โดยเฉพาะผู้ที่มีพ่อแม่
ที่มีการศึกษาค่อนข้างต่ำ (Cunha et al., 2006) มันยังเพิ่มขึน
้ อีกด้วย
ส่วนแบ่งของนักเรียนที่สามารถศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา (Caneiro
และ Heckman, 2003) หลักฐานจำนวนมากจากประเทศ OECD หลาย
ประเทศเกือบจะชีใ้ ห้เห็นถึงความสำเร็จของมาตรการแก้ไขจุดอ่อนในการ
พัฒนาเด็กตัง้ แต่เนิ่นๆ เช่น ครัวเรือน โปรแกรมการเยี่ยมเยียนใน
นิวซีแลนด์และสหรัฐอเมริกา (OECD, 2006d)
เด็กเล็กที่มีความต้องการด้านการศึกษาซึ่งเป็ นเรื่องยากสำหรับผู้
ปกครองอย่างยิ่ง- รวมถึงเด็กที่มีความสามารถสูง ลูกของพ่อแม่ที่มีภูมิ
หลังทางเศรษฐกิจและสังคมต่ำ และลูกๆ ซึ่งพ่อแม่ไม่พูดภาษาท้องถิ่น –
จะได้รับประโยชน์อย่างมากตัง้ แต่วัยเด็ก การศึกษาในสวิตเซอร์แลนด์ ใน
กรณีส่วนใหญ่ ความต้องการพิเศษเหล่านีไ้ ม่ได้ถูกนำมาพิจารณาด้วย โดย
เฉพาะช่วงต้นๆ สิ่งอำนวยความสะดวกด้านการศึกษาในวัยเด็กไม่อยู่ใน
ตำแหน่งที่จะช่วยชดเชยความต้องการการเรียนรู้ของเด็กกับผู้ปกครองที่มี
ภูมิหลังทางเศรษฐกิจและสังคมที่ยากจน (Stadelmann-Steffen และ
Stamm, 2009) ในประเทศเยอรมนี บางรัฐได้ย้ายไปทดสอบความ
สามารถทางภาษาท้องถิ่นของเด็ก ๆ 2 ปี ก่อนเริ่มประถมศึกษาโรงเรียน
และลงทะเบียนเด็กเล็กในโครงการสนับสนุนพิเศษหากมีจุดอ่อนเกิดขึน

ในการรับรู้ของค่าใช้จ่ายที่สูงขึน
้ ของโปรแกรมดังกล่าว โรงเรียนก่อนวัย
เรียนจะได้รับเงินอุดหนุนค่าหัวที่สูงขึน
้ สำหรับเด็กอพยพ (OECD,
2008b) ขีดความสามารถของสถานศึกษาปฐมวัยและสถานรับเลีย
้ งเด็ก
เพื่อช่วยเหลือเด็กด้วยความต้องการการศึกษาเฉพาะด้านควรได้รับการ
เสริมสร้างให้เข้มแข็ง
การปรับปรุงประสิทธิภาพการศึกษาภาคบังคับ
ในขณะที่รัฐบาลเขตปกครองตนเองมีอิสระในการกำหนดนโยบาย
บังคับโดยได้ตกลงกันเรื่ององค์ประกอบโครงสร้างพื้นฐานทั่วไป ดังนัน
้ ใน
ทุกตำบลจึงถือเป็ นภาคบังคับ ปั จจุบันการศึกษาเริ่มเมื่ออายุ 6 ปี และสิน

สุดจนถึงอายุ 15 ปี โรงเรียนประถมศึกษาในรัฐส่วนใหญ่ครอบคลุมถึง
โรงเรียนแรกการศึกษา 6 ปี แม้ว่าใน 2 มณฑลจะใช้เวลา 5 ปี และบาง
แห่งอาจใช้เวลา 7 ปี (รวมทัง้ ขัน
้ ตอนการปฐมนิเทศ) ในรัฐส่วนใหญ่ การ
คัดเลือกนักเรียนตามสายต่างๆ เมื่อสิน
้ สุดการศึกษาระดับประถมศึกษา
เป็ นที่แพร่หลาย รัฐที่อยู่ในชุมชนภาษาเดียวกันได้กำหนดกฎเกณฑ์ทั่วไป
เกี่ยวกับเนื้อหาของการสอนในวิชาหลัก อย่างไรก็ตามลำดับและระยะ
เวลาในการสอนของคนที่ไม่ใช่เจ้าของภาษาและชาวต่างชาติ
การปฏิรูปนโยบายกำลังดำเนินการในการศึกษาระดับอุดมศึกษา
ระบบการศึกษาของมหาวิทยาลัยมีความหลากหลายในโครงสร้าง
สถาบัน มหาวิทยาลัย (hautes écoles universitaires) ประกอบด้วย 2
Federal Institutes of Technology (instituts féderaux de
technologie) ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนและอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลโดย
รัฐบาลกลาง เช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยแคนโตนอล 10 แห่ง ซึง่ ส่วนใหญ่
ได้รับทุนสนับสนุนเต็มจำนวนอยู่ภายใต้การดูแลของมณฑล วุฒิการศึกษา
ระดับวุฒิภาวะช่วยให้สามารถเข้าถึงหลักสูตรปริญญาส่วนใหญ่ในสาขา
เหล่านีไ้ ด้อย่างไม่มีเงื่อนไขสถาบัน นอกจากนี ้ มหาวิทยาลัย
วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ซึ่งส่วนใหญ่ได้รับทุนสนับสนุนจากแคนตันด้วย
แตกต่างจากมหาวิทยาลัยตรงที่อยู่ภายใต้กฎระเบียบของรัฐบาลกลาง
ทำให้สามารถเข้าถึงการศึกษาระดับอุดมศึกษาได้ผ่านการศึกษาระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย
ชื่อเสียงของมหาวิทยาลัยในสวิสได้รับประโยชน์จากทรัพยากรระดับ
สูงและความเป็ นอิสระที่ได้รับการพัฒนาอย่างดี มหาวิทยาลัยในสวิสอยู่
ในอันดับที่สูงทัง้ ในด้านผลงานวิจัยและชื่อเสียงด้านการวิจัยของ
คณาจารย์ ที่จำนวนสิ่งพิมพ์สัมพันธ์กับประชากรมีจำนวนมากเมื่อเปรียบ
เทียบระหว่างประเทศ (OECD, 2006a) และการจัดอันดับมหาวิทยาลัย
ระดับนานาชาติ - เช่นการจัดอันดับทางวิชาการของมหาวิทยาลัย
Shanghai Jiao Tong ระดับโลก – แสดงให้เห็นว่าหลายคนได้รับ
ตำแหน่งที่ค่อนข้างสูงเมื่อเปรียบเทียบกับประสิทธิภาพโดยเฉลี่ยในแง่ต่อ
หัวของระบบมหาวิทยาลัยแห่งชาติอ่ น
ื ๆ ใน OECD (Aghion et al.,
2007) สำหรับการเปรียบเทียบระหว่างประเทศ) ดังนัน
้ นักศึกษามหา
วิทยาลัยในสวิสส่วนใหญ่จึงได้ลงทะเบียนเรียนในสถาบันที่มีช่ อ
ื เสียงระดับ
นานาชาติในระดับสูง (แม้ว่าจะไม่เป็ นความจริงสำหรับมหาวิทยาลัยที่
สมัครก็ตาม
ความพยายามในการปฏิรูปในปั จจุบันเน้นการแบ่งส่วนระบบการ
ศึกษาระดับอุดมศึกษา
การแบ่งส่วนสถาบันออกเป็ นประเภทต่างๆ โดยมีนโยบายท้องถิ่นที่
แตกต่างกันและมักมีระดับสูง ความรับผิดชอบได้นำไปสู่การกระจัด
กระจายในอดีต ทำให้ต้นทุนเพิ่มขึน
้ โดยสนับสนุนการจัดเตรียมในบางครัง้
หน่วยงานขนาดเล็ก (OECD 2003, 2006a) ส่งผลให้มีระยะเวลาการ
ศึกษายาวนานถึง 6 ปี สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยในปี
2550.24 ระยะเวลาการศึกษาที่แตกต่างกัน แม้จะอยู่ในระดับเดียวกันใน
สาขาวิชาต่างๆ ยังคงมีมากแม้ว่าความแตกต่างเหล่านีจ
้ ะลดลงใน
มหาวิทยาลัยนับตัง้ แต่มีการนำโครงสร้าง (two-tier)
การปฏิรูปซึ่งยังอยู่ในกระบวนการดำเนินการ กำลังพยายาม
เอาชนะการกระจายตัวโดยการให้สถาบันประเภทต่างๆ อยู่ภายใต้กฎ
ระเบียบและเงินทุนทั่วไป หลักการที่ใช้ร่วมกันโดยรัฐและรัฐบาลกลาง
ร่างกฎหมายคาดการณ์ว่าจะมีการจัดตัง้ หน่วยงานรับรองระบบอิสระซึ่ง
จะแนะนำการรับรองสถาบันของมหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัย
วิทยาศาสตร์ประยุกต์ตามเกณฑ์ที่สอดคล้องกันและการระดมทุนที่มุ่งเน้น
ผลผลิตที่เข้มงวดมากขึน
้ หลักการ อันที่จริงการผสมผสานหลักการระดม
ทุนที่เน้นอินพุตและเอาต์พุตดังที่คาดการณ์ไว้อาจเหมาะสมที่สุดสำหรับ
ส่งเสริมความคุ้มค่า การลงทะเบียนเป็ นเกณฑ์ที่มีประโยชน์หากการ
เคลื่อนไหวของนักเรียนมีความแข็งแกร่งและสร้างแรงกดดันให้ปรับปรุง
คุณภาพ การตรวจสอบความถูกต้องภายนอกของกลไกการประกัน
คุณภาพภายใน ตามที่การปฏิรูปมีเป้ าหมายเพื่อดูเหมือนจะเหมาะสม
ที่สุดสำหรับระบบการศึกษาที่มีประสบการณ์ในการประเมินผล (OECD,
2008c)
ขัน
้ ตอนการปฏิรูปที่สำคัญที่ดำเนินการไปแล้วคือการจัดทำบัญชี
ต้นทุนที่สม่ำเสมอมหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์ประยุกต์ซึ่ง
อนุญาตให้มีการเปรียบเทียบต้นทุนในการได้รับระดับที่คล้ายคลึงกันใน
สถาบัน ระบบบัญชีได้ทำหน้าที่เป็ นพื้นฐานในการจัดทำต้นทุนเกณฑ์
มาตรฐานต่อปี การศึกษา ร่างกฎหมายคาดการณ์ว่าเกณฑ์มาตรฐาน
ต้นทุน (“ต้นทุนอ้างอิง”) จะเป็ นใช้เพื่อกำหนดเงินทุนร่วมของรัฐบาล
กลางสำหรับมหาวิทยาลัยแคนโตนอลและมหาวิทยาลัย
วิทยาศาสตร์ประยุกต์

สรุประบบการศึกษาประเทศสวิตเซอร์แลนด์
ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ได้รับการยอมรับว่ามีระบบการศึกษาที่ดี
ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก เนื่องจากรัฐแต่ละรัฐมีหน้าที่รับผิดชอบในการ
บริการทางศึกษาระดับอนุบาล มัธยมศึกษา มหาวิทยาลัย ทำให้การ
ศึกษาอาจจะแตกต่างกันไปบ้างระหว่างรัฐ โดยการศึกษาในสวิตเซอร์
แลนด์แบ่งออกเป็ น 5 ระดับ โดยคณะผู้จัดทำได้สรุปความแตกต่างของ
ระบบศึกษาประเทศสวิตเซอร์แลนด์กบ
ั ระบบการศึกษาไทยไว้ดังนี ้
1. ระดับอนุบาล
สวิตเซอร์แลนด์ – เด็กจะเข้าเรียนอนุบาลตัง้ แต่อายุ 4 ปี
ไทย – เด็กจะเข้าเรียนอนุบาลตัง้ แต่อายุ 2.5-3 ปี
2. ระดับประถมศึกษา
สวิตเซอร์แลนด์ – เด็กสวิตทุกคนจะต้องเรียนชัน
้ ประถม
ศึกษาเมื่ออายุ 6 ปี ขึน
้ ไป ส่วนจำนวนปี ที่เรียนแตกต่างกันไปใน
แต่ละมณฑล ส่วนใหญ่คือ 6 ปี แต่บางมณฑลจัดเป็ น 4 ปี หรือ
5 ปี
ไทย – เด็กไทยทุกคนจะต้องเรียนชัน
้ ประถมศึกษาเมื่ออายุ 6
ปี ขึน
้ ไป โดยใช้เวลาในการเรียนระดับประถมศึกษา จำนวน 6 ปี
3. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
สวิตเซอร์แลนด์ – ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระยะเวลาใน
การศึกษาระดับนี ้ มณฑลส่วนใหญ่จัดให้ต่อจากประถมศึกษา แต่
บางมณฑลอาจมีระยะเวลาศึกษาเป็ น 4 ปี หรือ 5 ปี แต่การ
ศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาแล้ว ต้องมีเวลาทัง้ สิน

9 ปี เด็กสวิตต้องศึกษาให้จบมัธยมศึกษาตอนต้น จึงจะถือว่าจบ
การศึกษาภาคบังคับ โดยนักเรียนจะมีอายุประมาณ 13-15 ปี
ไทย – เด็กไทยทุกคนจะต้องเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาตอนต้น
ม.1-ม.3 โดยปกติใช้เวลา 3 ปี จึงถือว่าจบการศึกษาภาคบังคับ
4. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
สวิตเซอร์แลนด์ – แบ่งออกเป็ น 2 สาย คือ สายสามัญศึกษา
และสายอาชีวศึกษา โดยสายสามัญมุ่งสู่การศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา
ในมหาวิทยาลัย
ไทย – ชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย ในประเทศไทย โดยปกติใช้
เวลา 3 ปี แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ 1) ประเภทสามัญศึกษา
เป็ นการจัดการศึกษาเพื่อเป็ นพื้นฐานในการศึกษาต่อในระดับ
อุดมศึกษา 2) ประเภทอาชีวศึกษา เป็ นการจัดการศึกษาเพื่อ
พัฒนาความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพหรือศึกษาต่อใน
ระดับอาชีพชัน
้ สูงต่อไป
5. ระดับอุดมศึกษา
สวิตเซอร์แลนด์ – มหาวิทยาลัยในสวิตเซอร์แลนด์มีทงั ้ หมด
12 แห่งด้วยกัน ซึ่ง 10 แห่งเป็ นของมณฑล ที่เหลืออีก 2 แห่งเป็ นของ
รัฐบาลกลาง นักเรียนที่จบชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลายส่วนใหญ่จะเข้าศึกษา
ในมหาวิทยาลัย ซึ่งมีอยู่ทั่วไป
มหาวิทยาลัยในสวิตเซอร์แลนด์ สามารถแบ่งออกได้เป็ น
- ระบบมหาวิทยาลัย (University) มหาวิทยาลัย
วิทยาศาสตร์ประยุกต์ (University of Applied Sciences หรือ
Fachhochschule)
- มหาวิทยาลัยเฉพาะทาง เช่น Fine arts universities,
Pedagogical universities หรือวิทยาลัยด้านการโรงแรมและท่องเที่ยว
ไทย – มหาวิทยาลัยในสวิตเซอร์แลนด์มีหลายแห่งทั่วประเทศ
ทัง้ มหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชน โดยในระดับอุดมศึกษาแบ่งเป็ นสอง
ระดับ คือ ระดับต่ำกว่าปริญญาและระดับปริญญา การใช้
คำว่า "อุดมศึกษา" แทนคำว่า "การศึกษาระดับมหาวิทยาลัย" ก็เพื่อ
จะให้ครอบคลุมการศึกษาในระดับประกาศนียบัตรหรืออนุปริญญา ที่
เรียนภายหลังที่จบการศึกษาขัน
้ พื้นฐานแล้ว
ภาคผนวก

ผล PISA ปี 2018 (สวิตเซอร์แลนด์ และฟิ นแลนด์)


ผล PISA ปี 2018 (ไทย)
ด้านการอ่าน Reading

ด้านคณิตศาสตร์ (Mathematics)

ด้านวิทยาศาสตร์ (Science)
บรรณานุกรม

กระทรวงการต่างประเทศ. (2565). สมาพันธรัฐสวิส. ค้นเมื่อ 7


กันยายน 2666, จาก
https://www.mfa.go.th/th/content/
5d5bcc2115e39c306000a1c4?
cate=5d5bcb4e15e39c3060006870
กระทรวงแรงงาน. (2561). การศึกษา. ค้นเมื่อ 7 กันยายน 2566,
จาก https://switzerland.mol.go.th/info/education
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (2557). SWITZERLAND. ค้นเมื่อ 7
กันยายน 2566, จาก
http://cdc.tbs.tu.ac.th/index.php/portfolio_page/switzerland/

Fuentes, A. (2011). Raising education outcomes in


switzerland. St. Louis: Federal Reserve Bank of St Louis. ค้น
เมื่อ 8 กันยายน 2566, จาก https://www.proquest.com/working-
papers/raising-education-outcomes-switzerland/docview/
1698877029/se-2
Swiss Study Online. (2566). 9 เหตุผลที่ควรเลือกไปเรียนในส
วิตเซอร์แลนด์. ค้นเมื่อ 7 กันยายน
2566, จาก https://swissstudy.online/reasons-to-study-in-
switzerland/

You might also like