ภาพถ่ายหน้าจอ 2023-08-26 เวลา 1.03.38 PM

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 71

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเทคนิคการดัดแปลงมอเตอร์ไซค์

ให้เป็นมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้า (รุ่นที่ 2)
โดย
หน่ วยปฏิบัตกิ ารวิจยั การประยุกต์ ใช้ งานอิเล็กทรอนิกส์ กาลังและการจัดการพลังงาน

1
KKT Motobike
2
กำหนดกำรอบรม
วันเสาร์ ที่ 26 สิ งหาคม 2566
8.00-8.30น. ลงทะเบียนและพิธีเปิ ดงาน
8.30-10.30น. พื้นฐานรถมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้า หลักการทางานของอุปกรณ์ต่างๆ และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง
10.30-12.00น. การวิเคราะห์เลือกใช้มอเตอร์ไฟฟ้าและแบตเตอรี่ สาหรับรถมอเตอร์ไซค์ดดั แปลง
และกรณี ศึกษาเทคนิคการดัดแปลงมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้า 1
12.00-13.00น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.00น. กรณี ศึกษาเทคนิคการดัดแปลงมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้า 2
14.00 -17.00น. มาตรฐานการทดสอบกรมขนส่งทางบก และมาตรฐานการทดสอบวัดค่าทางไฟฟ้า
วันอาทิตย์ ที่ 27 สิ งหาคม 2566
8.00-8.30น. ลงทะเบียน
8.30-10.30น. หลักการเบื้องต้นในการวัดประสิ ทธิภาพรถมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้า การวัดแรงม้า แรงบิด กระแสไฟ และแรงดัน
10.30-12.00น. การเตรี ยมการนารถไฟฟ้าขึ้นเครื่ องไดโน่ การยึดรถ การปรับระยะฐานล้อ และการติดตั้งเครื่ องวัดกระแส และแรงดัน
ขั้นตอนการทาการวัดผลบนไดโน่ การเร่ งความเร็ วรถ การใช้งานโปรแกรมเพื่อเก็บค่าต่าง ๆ (Sampling) และการ
แสดงผลที่หน้าจอ (Graph & Data Table)
12.00-13.00น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30น. การแปรความหมายกราฟ และการอ่านค่ากราฟ และค่าทางสถิติต่างๆ
14.30 -17.00น. การปรับตั้งค่าไดโน่ให้ได้มาตราฐาน (Calibration) 3
แบบทดสอบก่อนการอบรม

4
The research group of Power Electronic Applications and
Energy Management (PEAEM)

• Analysis and design of inverter/converters for renewable


energy systems
• Electric motor drives and inverter/converters in EV
applications
• Energy storage applications for utility grids in order to
improve power quality and the reliable delivery of electricity
• Demand response for energy management. The research
group has the cooperation with the local society, power
generation industry and electricity utility authority/company.

5
Our facilities (component to system levels)

6
Our facilities (component to system levels)

7
Training Courses

8
Training Courses
• อบรมเชิงปฏิบัตกิ ารการควบคุมมอเตอร์ สาหรับยานยนต์ ไฟฟ้ า (ฟรี30ท่ าน)

9
Training Courses
• โครงการอบรมติดตั้งและทดสอบสถานีอดั ประจุสาหรับยานยนต์ ไฟฟ้ าและความปลอดภัย (ฟรี30ท่ าน)

10
Training Course
• โครงการอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารเทคนิคการดัดแปลงมอเตอร์ไซค์ให้เป็ นมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้ า (ฟรี30ท่ าน)
(กาหนดการจัดกิจกรรมระหว่างเดือน ก.ค.-ส.ค.)

11
EV Conversion

12
EV Conversion

13
University-Industry Collaboration
Nissan, donated EV(Nissan Leaf)

14
Project: Eco-friendly EV for public transportation in EEC

15
Contents

• พื้นฐานรถมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้า หลักการทางานของอุปกรณ์ต่างๆ และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง

• การวิเคราะห์เลือกใช้มอเตอร์ไฟฟ้าและแบตเตอรี่ สาหรับรถมอเตอร์ไซค์ดดั แปลง

16
• ทีม่ าและความสาคัญ

ทีม่ า EGAT, EVAT

17
ที่มา : EVAT

18
• พื้นฐานรถมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้า หลักการทางานของอุปกรณ์ต่างๆ และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง

1 Charger
Controllers 2
3 Motor
BMS/Battery 4
5 Inverter
Converter 6
Power Systems for EV 19 19
1 Charger
โ มดการอัด การใช้งาน ลัก แ ล่งจ่าย กระแ อัด แรงดันอัด ชั่วโมงในการอัด
ประจุ กระแ ปะจุ (A) ประจุไฟฟ้า ประจุไฟฟ้า
(V) (Hr)

โ มด 1 บ้านพักอาศัย AC ≤ 16 250 6-20

โ มด 2 บ้านพักอาศัย AC ≤ 32 250 3-8


โ มด 3 าธารณะ AC 80 250 3-8

โ มด 4 าธารณะ DC 200 480 ≤ 0.5

ที่มา: DOE Energy Effeciency and Renewable Energy Vehicle Technologies Program
20
20
ระบบป้องกันอันตรายจาก
ไฟฟ้ารั่ว (Residual Current
Device: RCD)

มีฟังก์ชันควบคุมการอัดประจุ (Control Pilot Function) ควบคุมการ


อัดประจุไฟฟ้าและตรวจ อบระบบป้องกันในระ ว่างการอัดประจุไฟฟ้า

- อุปกรณ์ป้องกันกระแ เกิน (Circuit Breaker)


-อุปกรณ์ป้องกันกระแ รั่ว (Earth Leakage Circuit Breaker)
- -อุปกรณ์ ํา รับตัดต่อการจ่ายไฟฟ้า (Contactor)
-ฟังก์ชันควบคุมการอัดประจุ (Control Pilot Function)

ขนาดกระแ ไฟฟ้าและแรงดันไฟฟ้า งู ดุ ในการอัดประจุไฟฟ้าจะ


ขึ้นอยู่กับรูปแบบของ เต้าเ ียบและเต้ารับ และมาตรฐานของการอัดประจุไฟฟ้าที่ใช้ 21
21
2 Controllers

- Control and Measuring


- Speed and acceleration
- Other sensor

22
22
Sensor

• Hall sensor • Voltage sensor


• Temperature sensor • Current sensor
• Motion sensor • Power sensor
• Acceleration sensor
• Displacement sensor
• Gyro sensor
• Ultrasonic sensor

23
23
3 Motor

Brushless motor permanent magnet


DC Motor
Brush motor
Electric motor
synchronous motor
AC Motor
Asynchronous motor
24
24
ชนิดมอเตอร์ ข้ อดี ข้ อด้ อย บริษัทรถที่เลือกใช้
Brush motor ราคาถูก ควบคุมง่ายและ ให้ ประสิ ทธิภาพต่า ความร้อน -
แรงบิดสู ง ขณะทางานสู ง เปลี่ยนแปรง
ถ่านบ่อย (Brush)
Brushless motor permanent ราคาถูก ควบคุมง่ายและ ให้ ความเร็ วต่า ประสิ ทธิภาพต่า -
magnet แรงบิดสู ง

Synchronous motor ประสิ ทธิภาพสู งกว่าแบบ ราคาของ Permanent Magnets Nissan Leaf, Soul EV
- Brushless DC (BLDC) Induction Motor มีน้ าหนัก แพง การควบคุมที่ซบั ซ้อน และ Toyota Prius
เบากว่า ประสิ ทธิ ภาพสู งกว่า
Motor ความเร็ วรอบสู ง แรงบิดสู ง
- Permanent Magnet
Synchronous Motor (PMSM)
Asynchronous motor มีราคาถูกกว่า ทนกว่า การ มีประสิ ทธิ ภาพน้อยกว่า PMSM Tesla Model S, Tesla
- Induction Motor ควบคุมง่ายกว่า และมี มีCopper Loss ที่ขดลวด Rotor Model X, Toyota
เสถียรภาพมากกว่า PMSM ทาให้ร้อนได้ง่าย RAV4, GM EV1

25
25
•Brushless DC Motor (BLDC)
Inner rotor
มอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสตรงไร้ แปรงถ่ าน

outer rotor

•Brushless DC Motor (BLDC)


มอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสตรงไร้ แปรงถ่ าน
แบบฮับมอเตอร์ (Hub motor)
26
26
https://www.lucas-tvs.com/hub-motor/

27
https://www.lucas-tvs.com/hub-motor/ 28
4 Battery/BMS
แบตเตอรี่ แบ่งเป็ น 2 ประเภทหลัก คือ
1) แบตเตอรี่ แบบใช้ครั้งเดียวทิ้ง หรื อ แบตเตอรี่ ชนิดปฐมภูมิ (primary batteries)
2) แบตเตอรี่ แบบชาร์จไฟใหม่ได้ หรื อ แบตเตอรี่ ชนิดทุติยภูมิ (rechargeable batteries)

29
นิยามความหมาย คาสาคัญต่างๆ
นิยาม หน่ วย ความหมาย
ความจุต่อน้ าหนัก(specific energy density) Wh/kg พลังงานไฟฟ้าต่อน้ าหนัก(ความสามารถในการเก็บความจุพลังงาน)
ความจุต่อปริ มาตร(Volumetic energy density) Wh/L พลังงานไฟฟ้าต่อปริ มาตร(ความสามารถในการเก็บความจุพลังงาน)
กาลังไฟฟ้าต่อน้ าหนัก(specific power density) W/kg กาลังไฟฟ้าต่อน้ าหนัก(ความสามารถในการใช้งาน ขณะจ่าย/ขณะชาร์จ )
กาลังไฟฟ้าต่อปริ มาตร(Volumetic power density) W/L กาลังไฟฟ้าต่อปริ มาตร(ความสามารถในการใช้งาน ขณะจ่าย/ขณะชาร์จ )
ความหมายของ W และ Wh
หน่วย W (watt) คือหน่วยของกาลังไฟฟ้า(power) มักใช้เรี ยกเมื่อขณะใช้ งานอุปกรณ์ ไฟฟ้ า เช่น เมื่อต่อเแหล่ง
จ่ายไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ ป้อนให้กบั หลอดไฟฟ้าขนาด 10W นั้นหมายความว่าแบตเตอรี่ จะจ่ายกาลังไฟฟ้าให้กบั หลอด
ไฟฟ้ามีเท่ากับ 10W
หน่วย Wh (watt-hour) คือหน่วยของพลังงานไฟฟ้า(energy) ใช้บอกถึงความสามารถในการเก็บความจุ
พลังงานของแบตเตอรี่ หรื อแหล่งจ่ายไฟฟ้า เช่นแบตเตอรี่ มีความจุเท่ากับ 10kWh นัน่ หมายความว่าแบตเตอรี่ มีสามารถ
ในการเก็บความจุพลังงานสู งสุ ดไม่เกิน 10kWh นอกจากนี้มกั ใช้เรี ยกในการอ่านค่ามิเตอร์ของการไฟฟ้าซึ่ง 1 หน่วยการ
ใช้ไฟฟ้าจะมีค่าเท่ากับ 1,000Wh หรื อ 1kWh 30
นิยามความหมาย คาสาคัญต่างๆ

โจทย์ เซลล์แบตเตอรี่ ชนิด A มีความจุต่อน้ าหนัก (specific energy density) เท่ากับ


10Wh/kg และเซลล์แบตเตอรี่ ชนิด B มีความจุต่อน้ าหนักเท่ากับ 5Wh/kg
คาถาม ถ้าต้องเลือกเซลล์แบตเตอรี่ ไปประกอบ pack battery ให้ได้ขนาด 20Wh และ
เพื่อให้ได้ pack battery ที่มีนา้ หนักเบากว่ า ควรจะต้องเลือกเซลล์แบตเตอรี่ ชนิดใด

โจทย์ เซลล์แบตเตอรี่ ชนิด C มีความจุต่อปริ มาตร (Volumetic energy density)


เท่ากับ 1kWh/L และเซลล์แบตเตอรี่ ชนิด D มีความจุต่อปริ มาตร เท่ากับ 500Wh/L
คาถาม ถ้าต้องเลือกเซลล์แบตเตอรี่ ไปประกอบ pack battery ให้ได้ขนาด 20Wh และ
เพื่อให้ได้ pack battery ที่มีขนาดที่เล็กกว่ า ควรจะต้องเลือกเซลล์แบตเตอรี่ ชนิดใด

31
นิยามความหมาย คาสาคัญต่างๆ
นิยาม หน่ วย ความหมาย
Energy Efficiency % อัตราส่ วนระหว่างพลังงานที่จ่ายต่อพลังงานที่สะสมไว้ (ไฟฟ้าที่ชาร์จนามาใช้กี่ %)
Self-Discharge rate %/yea อัตราส่ วนของพลังงานสู ญสี ยไปเมื่อไม่ได้ใช้งาน (เสี ยพลังงานไปเมื่อไม่ได้ใช้งานเป็ นเวลาต่อ
r 1ปี )
State of charge (SOC) % อัตราส่ วนของระดับการเก็บประจุหรื อการชาร์จไฟของแบตเตอรี่
Depth of Discharge (DOD) % อัตราส่ วนของการนาเอาความจุที่มีอยูอ่ อกมาใช้งาน
Capacity Ah ค่าความจุกระแสไฟฟ้าแบตเตอรี่
Voltage V แรงดันแบตเตอรี่
C-Rate C ความสามารถในการจ่ายหรื อชาร์จกระแสเมื่อเทียบกับความจุไฟฟ้า (ค่า C-Rate
มากยิง่ จ่ายหรื อชาร์จได้เร็ ว)
Cycle life Cycle จานวนครั้งที่สามารถชาร์จแบตเตอรี่ ได้ (จานวนครั้งสู งสุ ดที่สามารถชาร์จแบตเตอรี่ ได้)

32
33
33
พลังงานไฟฟ้าต่อนา้ หนัก

กาลังไฟฟ้าต่อนา้ หนักหรือปริมาตรสูงขึน้

มีความปลอดภัยสูงมากขึน้

ราคาถูก

ที่มา:ศูนย์เทคโนโลยีพลังงานแห่งชาติ
34
BMS (Battery management system)

BMS ที่เรี ยกกันย่อมาจาก Battery management system หรื อ ระบบการจัดการแบตเตอรี่ ทาหน้าที่หลักๆ


ในการ Maintain balance cell battery เพื่อรักษาระดับแรงดันภายในนเซลล์แบตเตอรี่ ให้เกิดความสมดุล
และยืดอายุการใช้งานแบตเตอรี่ 35
35
การทางานของ BMS
ามารถตรวจ อบ ถานะของแบตเตอรี่ตามที่แ ดงโดยรายการต่าง ๆ เช่น

Ex. 1 Ex 2 Ex. 3 Ex. 4 Ex. 5 Ex. 6

แรงดันไฟฟ้า ถานะการชาร์จ ถานะพลังงาน ถานะ ุขภาพ กระแ ไฟฟ้า


อุณ ภูมิ
(Voltage) (Temperature) (SOC) (SOP) (SOH) (Current)
ปริมาณพลังงานที่มีอยู่ การตรวจ อบ ุขภาพเซลล์ เพื่อตรวจ อบไม่ใ ้
แรงดันไฟฟ้าทั้ง มดที่ไ ล เพื่อป้องกันอุณ ภูมิเกิน รือความลึกของ า รับช่วงเวลาที่ จ่ายเกินกว่า
- Internal resistance
ผ่านเป็นระยะ ๆ การวัด ค่ามาตราฐานของ การปล่อย (DOD) กา นดใ ้การใช้ Capacity โดยการตัด/
/impedance/conductance
แรงดันเมื่อต้องการ แบตเตอรี่ ถ้าเกินจะ ั่ง เพื่อแ ดงระดับ พลังงานในปัจจุบัน - Capacity - Voltage ต่อ ไปที่มอ เฟ รือ
แรงดันไฟ ต้องทาการต่อ ยุดการทางานทันที เมื่อ การประจุ อุณ ภูมิและเงื่อนไข คอนแทกเตอร์ เพื่อ
- Number of charges
อนุกรม อุณ ภูมิลดลงก็จะเปิด แบตเตอรี่ อื่น ป้องกันไม่ใ เ้ กิดการ
– Discharge cycles
วงจรอีกครั้ง เ ีย ายต่อวงจร

36
5 Converter

วงจรคอนเวอร์เตอร์(converter) คือ วงจรไฟฟ้าที่ใช้แปลงสัญญาณจาก AC ให้


เป็ น DC ( AC/DC converter) เป็ นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์กาลังที่พบมากที่สุดในอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์สาหรับผูบ้ ริ โภคหลายชนิดเช่น เครื่ องรับโทรทัศน์ เครื่ องคอมพิวเตอร์
ส่ วนบุคคล เครื่ องชาร์จแบตเตอรี่ และนามาใช้ในระบบอัดประจุไฟฟ้าสาหรับยานยนต์
ไฟฟ้า

37
37
Converter

AC/DC

On board charger

38
38
6 Inverter

วงจรอินเวอร์เตอร์ (inverter) คือวงจรไฟฟ้าที่ใช้แปลงสัญญาณจาก DC


ให้เป็ น AC ( DC/AC converter) ตัวอย่างเช่นอุปกรณ์ UPS หรื อระบบพลังงาน
ทดแทน หรื อระบบแสงสว่างฉุกเฉิ น และนามาใช้ควบคุมการทางานของมอเตอร์
ไฟฟ้าในระบบขับเคลื่อนยานยนต์ไฟฟ้า เพื่อควบคุมความเร็ วของมอเตอร์ หรื อ
การเคลื่อนที่ของยานยนต์น้ นั เอง

39
39
Inverter

DC/AC

Three-Phase

40
40
ไดอะแกรมของมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้า
Controllers
-MCU (motor control Unit)
*Battery -Inverter & sensor other

*Motor

Charger, M23

Converter

41
• การวิเคราะห์เลือกใช้มอเตอร์ไฟฟ้าและแบตเตอรี่ สาหรับรถมอเตอร์ไซค์ดดั แปลง


ขันตอนการดั ่
ดแปลงรถจักรยานยนต ์จากเครืองยนต ์สันดาปให ้เป็ นฟฟฟ้ า

1. ตรวจสอบโครงสร้างและอุปกรณ์ต่างๆ ของรถที่นามาดัดแปลง

2. ปรังปรุ งสภาพรถจักรยานยนต์ให้อยูใ่ นสภาพที่สมบูรณ์ และปลอดภัยโดยให้มีสภาพพร้อมในการติดตั้งระบบต้นกาลัง ระบบขับเคลื่อนและระบบไฟฟ้า

3. การวิเคราะห์เลือกใช้มอเตอร์ไฟฟ้าและแบตเตอรี่ สาหรับรถมอเตอร์ไซค์ดดั แปลง (ระบบต้นกาลัง )

4. ติดตั้งอุปกรณ์มอเตอร์ แบตเตอรี่ ชุดควบคุม และระบบทางกลต่างๆ

6. เดินระบบสายไฟขับเคลื่อน ระบบควบคุมและไฟฟ้าแสงสว่าง ไฟสัญญาณต่างๆ

7. ทดสอบการใช้รถจักรยานยนต์ไฟฟ้า
42
• การวิเคราะห์เลือกใช้มอเตอร์ไฟฟ้าและแบตเตอรี่ สาหรับรถมอเตอร์ไซค์ดดั แปลง

43
• การวิเคราะห์เลือกใช้มอเตอร์ไฟฟ้าและแบตเตอรี่ สาหรับรถมอเตอร์ไซค์ดดั แปลง

ข ้อมูลจําเพาะของจักรยานยนต ์ฟฟฟ้ า กาหนดคุณสมบัติของรถดัดแปลง

44
การวิเคราะห์เลือกใช้มอเตอร์ไฟฟ้า

1. กรณี ตอ้ งการให้ได้ความเร็ วสู งสุ ด ด้วยการขับรถในทางระนาบ(มุมเป็ น0)


2. กรณี ขบั รถในทางไต่ระดับ (มุมเป็ น6)

45
1. กรณี ตอ้ งการให้ได้ความเร็ วสู งสุ ด ด้วยการขับรถในทางระนาบ(มุมเป็ น0)
คํานวณหาแรงต ้านทานการหมุน
กรณีทางไต่ ระดับ แรงฉุดหรื อลากให้ รถมีความเร็วคงที่
FRR = GVW x cos (θ) x Crr
GVW หรื อ gross vehicle weight คือ น้ าหนักรถรวมผูโ้ ดยสารเท่ากับมวลรวมคูณค่านิจความโน้มถ่วงโลก ,Crr หรื อ
Rolling resistance coefficient คือ สัมประสิ ทธิ์ความต้านการเคลื่อนที่ระหว่างล้อยางกับผิวถนนที่ให้รถมีความเร็ ว
คงที่และ g คือ ค่าอัตราความโน้มถ่วงโลก เท่ากับ 9.81 m/s2
โดย cos (θ) แทนค่าแฟกเตอร์ที่นา้ หนักรถกดลงที่ลอ้ ยางสู่ ถนนผิวลาดยางและสภาพดี
เมื่อ θ เท่ากับ 0º ค่า Cos(0º) = 1
จะได้ค่า FRR
FRR = 155 x 9.81 x1 x 0.012
FRR = 18.25 N

46
1. กรณี ตอ้ งการให้ได้ความเร็ วสู งสุ ด ด้วยการขับรถในทางระนาบ(มุมเป็ น0)
้ นลาดเอี
คํานวณหาแรงต ้านทานในการขึนพื ้ ยง

- แรงที่ใช้ ไต่ ระดับ(FGR, force required to climb a grade resistance) คือแรงที่ใช้ไต่ระดับ


FGR= GVWx sin (θ)
โดย θ เท่ากับมุมไต่สูงสุ ด
เมื่อแทนค่า θ เท่ากับ0 จะได้ sin0º เท่ากับ 0
FGR= 155 x 9.81 x 0
FGR= 0 N

47
1. กรณี ตอ้ งการให้ได้ความเร็ วสู งสุ ด ด้วยการขับรถในทางระนาบ(มุมเป็ น0)
่ ้ความเร่งในการหมุนฟปถึงความเร็วสูงสุด
คํานวณหาแรงทีใช

- แรงที่ใช้ ในการเร่ งให้ ได้ ความเร็วที่กาหนด(FAC)


แรงที่ใช้ในการเร่ งให้รถได้ความเร็ วที่กาหนดหรื อ FACได้มาจากอัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็ วคูณกับมวล
ของรถ โดยมีค่าความเร็ วต้น(V1) และความเร็ วท้าย(V2) ในระยะเวลาที่กาหนด (tA)
FAC= GVWx (V2-V1)/9.81 x tA
V2คือความเร็ วหลังการเร่ งจากหยุดนิ่ง , tAคือเวลาที่ใช้เร่ งรถจากหยุดนิ่งถึงความเร็ วที่ตอ้ งการ
กาหนดให้รถมีสมรรถนะเร่ งจากหยุดนิ่งเป็ นความเร็ ว 80 km/h หรื อ 22.22 m/s ได้ในเวลา 30 วินาที ดังนั้น
จะได้แรงที่ใช้ในการเร่ งให้ได้ความเร็ วที่กาหนด คือ
FAC= (155 x 9.81 x 22.22)/(9.81 x 30)
FAC= 114.8 N

48
1. กรณี ตอ้ งการให้ได้ความเร็ วสู งสุ ด ด้วยการขับรถในทางระนาบ(มุมเป็ น0)
แรงต ้านอากาศ
- แรงต้ านอากาศ(Air dag force, FAD)
แรงต้านอากาศคือแรงต้านอากาศที่พ้นื ที่ส่วนหน้าของรถ(Af, m2)ปะทะกับอากาศที่มีความ
หนาแน่น (ρ, air density, kg/m3) โดยมีค่าสัมประสิ ทธิ์แรงเสี ยดทานอากาศ (Cd)รถมีความเร็ ว
(V, m/s) แรงต้านอากาศจากรถคานวณได้จาก
FAD =(1/2) ρCdAfV2
รถมีความเร็ วที่ 80 km/h หรื อ 22.22 m/s และมีพารามิเตอร์ดงั ต่อไปนี้
ค่าสัมประสิ ทธิ์แรงเสี ยดทานอากาศ (Cd)= 0.5
อากาศที่มีความหนาแน่น (ρ) = 1.2 kg/m3
พื้นที่ส่วนหน้าของรถ(Af) = 0.54 m2
รถมีความเร็ ว(V) = 22.22 m/s
จะได้ค่าแรงต้านอากาศ
FAD =(1/2) x 1.2 x 0.5 x 0.54 x (22.22)2
FAD = 80N 49
รวมแรงทั้งสี่ เงื่อนไขทั้งหมด จะคานวณได้ค่าแรงผลักหรื อลากรถ ซึ่งต่อไปจะใช้ในการนาไป
คานวณหาแรงบิด (torque) ที่ลอ้ ขับเคลื่อนต่อไป
FTT= FRR+ FGR+ FAC+ FAD
FTT= 18.25 + 0 + 114.8 + 80
FT T= 213.05 N
- การคานวณหาแรงบิดที่ล้อ
คานวณหาแรงบิดที่ลอ้ แล้วแรงบิดจะเกี่ยวข้องกับพารามิเตอร์จากรัศมีของล้อรวมยางรวมถึงค่าความ
ต้านทานระหว่างเพลากับลูกปื นด้วย W= FTT x RWx RF
โดย Wคือแรงบิดที่ลอ้ ยาง(N.m)
RFคือแฟคเตอร์การเสี ยดทานระหว่างเพลากับลูกปื นกาหนดให้เป็ น1
RWคือรัศมีของล้อยาง(m) ;เมื่อล้อเส้นผ่านศูนย์กลาง17นิ้ว 17/0.03937 = 0.4318 m+ขอบยาง 0.0952m
หรื อรัศมีของล้อรวมยางคือ(ม.)=0.2635m.
ดังนั้นแรงบิดที่ลอ้ ยาง
W=213.05x0.2635x1
W= 56.14 Nm 50
- การเลือกขนาดมอเตอร์
เมื่อได้แรงบิดที่ลอ้ ยางที่ความเร็ วที่ออกแบบไว้จาเป็ นต้องมีระบบเกียร์เพื่อมาช่วยปรับแรงบิด
และความเร็ วในย่านการทางานที่ตอ้ งการในกรณี น้ ีพบว่าหากใช้แรงบิด553.05ต้องการกาลังที่
เพลาของมอเตอร์
Pm=max x 
เมื่อPmคือกาลังที่เพลาของมอเตอร์(W)
maxคือแรงบิดกาลังที่เพลาของมอเตอร์(Nm)
 คือความเร็ วเชิงมุม(rad/s)
กรณี น้ ีลอ้ หมุนหนึ่งรอบได้ระยะทาง1.6548m (R=รัศมีของล้อรวมยางคือ 0.2635m)ความเร็ ว
ของรถมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้าปกติ(ค่าเฉลี่ยความเร็ วทัว่ ไปในการขับขี่) 60km/hหรื อ63.25rad/s
Pm= 56.14 x63.25
𝑉 = 2𝜋𝑅𝑓 Pm= 3.55 kW
𝜔 = 𝑉/𝑅
𝜔 = 2𝜋𝑓
ความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วเชิงเส้น และความเร็วเชิงมุม 51
2. กรณี ขบั รถในทางไต่ระดับ(มุมเป็ น6)

*วิธีการคานวณเหมือนกรณีท่ี 1 ตามexcel แนบ


70.33N.m

52
สรุ ปการวิเคราะห์เลือกใช้มอเตอร์ไฟฟ้า

จะเลือกใช้ มอเตอร์ ไฟฟ้ าขนาด


power max ไม่ น้อยกว่ า Pmax= 3.55 kW
Torque max ไม่ น้อยกว่ า Tmax= 70.33N.m

ค้ นหาข้ อมูลอุปกรณ์ พบว่ า


Hub-motor 72 V ขนาด power rated 3 kW power max 3.6 kW Speed
1200 RPM Torque 150 N.m น้ําหนัก 11 kg

53
• การวิเคราะห์เลือกใช้แบตเตอรี่

ผลลัพธ์จาการคานวณมอเตอร์ Hub-motor 72 V ขนาด power rated= 3 kW power max = 3.6 kW

ค้ นหาข้ อมูลอุปกรณ์ พบว่ า


Voltage 72 V
ค่าความจุไฟฟ้า 40 Ah
c-discharge 3 C
c-charge 0.5 C
จ่ายกระแสไฟฟ้า Max 120 A
จ่ายกาลังไฟฟ้า Max 8640 W

*วิธีการคานวณตามexcel แนบ
54
Ex แบตเตอรี่ ขนาด 72 V มีค่าความจุไฟฟ้า(capacity) 40Ah มีค่า C-rate of charge
เท่ากับ 0.5C และค่า C-rate of discharge เท่ากับ 3C ให้หาระยะเวลาในการ charge และ
discharge
C-rate กระแสสูงสุด ระยะเวลา กาลังไฟฟ้ าสูงสุด
Charge (C-rate of 40Ah x 0.5C = 40Ah/20A = 72Vx20A =
charge เท่ากับ 0.5C ) 20A 0.5h 1,440W

Discharge (C-rate of 40Ah x 3C = 40Ah/5A = 72Vx120A =


discharge เท่ากับ 3C) 120A 2h 8,640W

*วิธีการคานวณระยะทางสูงสุดที่ใช้งานรถมอเตอร์ไซค์ได้ตอ่ การชาร์จ(km) และใช้เวลาชาร์จ(h) ตามexcel แนบ 55


สำยไฟฟ้ำ
เ ายไฟฟ้า า รับไฟฟ้ากระแ ตรงโดยเฉพาะ PV1-F หรือ AWG

การคานวณหากระแสสู งสุ ด
ของแบตเตอรี่ = 120 A จึงเลือก
สายไฟขนาด 16 𝑚𝑚2 ที่
สามารถทนกระแสได้ 132 A

56
57
Suzuki step

58
59
60
61
62
63
64
Suzuki step new vertion
MOTOR

- Hub-Motor 3000W 72V

BATTERY

- NMC 72V 40Ah

MAX SPEED

- 80 KM./H

CHARGING TIME

- 6.4 HOURS

Distance

- 96km

65
กรณี ศึกษาเทคนิคการดัดแปลงมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้า

66
กรณี ศึกษาเทคนิคการดัดแปลงมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้า

Hub-motor 48-72 V ขนาด 3 kW Controller 1500-3000 W เเรงดันไฟฟ้า


Speed 1200 RPM Torque 150 N.m 48-72 V กระเเ ไฟฟ้า Max 70 A
น้า นัก 11 kg กา ลังไฟฟ้า 3000 W Torque 45 N.m
น้า นัก 1.7 kg. Max Voltage 88 V

Battery เเรงดันไฟฟฟ้า 72 VDC DC-DC Converter 60W DC


กระเเ ไฟฟ้า 30 Ah Input Voltage 20-96 VDC DC
กาลังไฟฟ้า Max 6500 W Output Voltage 12 VDC
Maximum Output Current 5A
Size 75mm*75mm

67
มาตรฐานการทดสอบกรมขนส่ งทางบก และมาตรฐานการทดสอบวัดค่าทางไฟฟ้า

มาตรฐานสากล ม า ต ร ฐ า นใ น ป ร ะ เ ท ศฟ ท ย

68
Workshop
จงหาขนาดกาลังไฟฟ้ าสู งสุ ดของมอเตอร์ (Power max)
1 ขนาดพื้นที่หน้าหัวลาก (m2) 1.5 x 2 0.6
2 น้ าหนักรวมผูโ้ ดยสาร (kg) 155
3 วิง่ ในทางระนาบ (q) องศาดีกรี 0
4 สัมประสิ ทธิ์ ความต้านการเคลื่อนที่ระหว่างล้อกับราง (Crr) 0.012
5 ความเร็ วสู งสุ ด V2 (km/h) 70
*
6 กาหนดให้รถมีสมรรถนะเร่ งจากหยุดนิ่งเป็ นความเร็ วสู งสุ ดได้ในเวลา (วินาที ) 30
*
7 ค่าสัมประสิ ทธิ์ แรงเสี ยดทานอากาศ (Cd) 0.5
8 อากาศที่มีความหนาแน่น (ρ) kg/m3 1.2
9 แฟคเตอร์การเสี ยดทานระหว่างเพลากับลูกปื นกาหนดให้เป็ น 1
ล้อเส้นผ่านศูนย์กลาง16นิว 16/0.03937 = 0.4318 m+ขอบยาง 0.0952m หรื อ

* 10 รัศมีของล้อรวมยางคือ(ม.)= (0.4318 m+ขอบยาง 0.0952m )/2 =0.2032 0.2032
11 ค่าอัตราเร่ งความโน้มถ่วงโลก เท่ากับ m/s2 9.81
* 12 ความเร็ วต้นของรถ V1 (km/h) 30
* 13 ความเร็ วของรถมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้าปกติ(ค่าเฉลี่ยความเร็ วทัว่ ไปในการขับขี่) 45
69
Reference
http://www.mea.or.th/profile/3253
https://www.eaanywhere.com/news/EV-Charging-Mode-and-Safety-Level_61
https://www.mots.go.th/more_news.php?cid=504&filename=index
https://web.dlt.go.th/statistics/
https://avt.inl.gov
https://www.roboteq.com/index.php/roboteq-products-and-services/ac-induction-motor-controllers
WerachetKhan-ngern, Ph.D, KMITL, Thailand
มาตรฐานที่เกีย่ วข้ องกับรถจักรยานยนต์ ไฟฟ้ า, ในโครงการแข่ งขันรถจักรยานยนต์ ไฟฟ้ าดัดแปลงเพื่อธุรกิจแห่ ง
อนาคต, 2564
กรมการขนส่ งทางบก
สามาคมยานยนต์ ไฟฟ้ าไทย
การไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่ งลระเทศไทย (กฟผ.)
70
70
Thank You
Wason Tanjaroen
Faculty of Engineering at Sriracha,
Kasetsart University at Sriracha, Chonburi,
THAILAND
Email: wason@eng.src.ku.ac.th
+66(0)86-706-5992

71

You might also like