Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 152

เดือนกันยายน 2565

ถอดบทเรียนแบบเก็บ
ข้อมูลพื้นฐานเพื่อ
การวางแผนการ
พัฒนาศูนย์ปฏิบัติการ
ภาวะฉุกเฉิน
EOC ASSESSMENT TOOL

กองสาธารณสุขฉุกเฉิน
สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
คานา
การถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
สาหรับหน่วยงานสาธารณสุขระดับจังหวัดและระดับเขตสุขภาพ EOC ASSESSMENT TOOL จัดทาขึ้นเพื่อให้
สานักงานเขตสุขภาพที่ 1 - 12 และสานักงานสาธารณสุขจังหวัดทุกจังหวัด 76 จังหวัด ดาเนินการตอบตาม
ประเด็นคาถาม และนาข้อมูลทั้งหมดมารวบรวมวิเคราะห์ และจัดทาเป็นรายงานการถอดบทเรียน เพื่อใช้ในการ
พัฒนาและปรับปรุงศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินสาหรับหน่วยงานสาธารณสุขระดั บเขตสุขภาพ และระดับจังหวัด
ให้เป็นสถานที่ที่ใช้ในการปฏิบัติงานร่วมกันของหน่วยงานต่างๆ ภายใต้ระบบบัญชาการเหตุการณ์ เพื่อสนับสนุน
การบริหารสั่งการ ประสานงาน แลกเปลี่ยนข้อมูล และทรัพยากรให้เกิดขึ้นอย่างสะวดกรวดเร็วในสถานการณ์ฉุกเฉิน
กองสาธารณสุ ข ฉุ ก เฉิ น หวั ง เป็ น อย่ า งยิ่ ง ว่ า การถอดบทเรี ย นแบบเก็ บ ข้ อ มู ล พื้ น ฐาน
เพื่ อ การวางแผนการพั ฒ นาศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ส าหรั บ หน่ ว ยงานสาธารณสุ ข ระดั บ จั ง หวั ด
และระดับ เขตสุ ขภาพ EOC ASSESSMENT TOOL ฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์และสามารถนาไปต่อยอดในการ
พั ฒ นาศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ส าหรั บ หน่ ว ยงานสาธารณสุ ข ระดั บ จั ง หวั ด และระดั บ เขตสุ ข ภาพ
ในอนาคตต่อไป หากมีข้อแนะนาหรือข้อผิดพลาดประการใด ต้องขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย

กลุ่มยุทธศาสตร์การจัดการภาวะฉุกเฉินฯ
กองสาธารณสุขฉุกเฉิน
กันยายน 2565

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 1
บทสรุปผู้บริหาร
ตามที่กองสาธารณสุ ขฉุกเฉิน ส านักงานปลั ดกระทรวงสาธารณสุ ข เป็นหน่ว ยงานหลั กด้าน
การแพทย์และการสาธารณสุข รับผิดชอบในการตอบสนองต่อภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และการสาธารณสุข และ
จัดให้มีระบบบัญชาการเหตุการณ์ด้านการแพทย์และการสาธารณสุข รวมทั้งจัดให้มีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ด้านการแพทย์และการสาธารณสุขในระดับต่าง ๆ รวมถึงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การป้องกันและบรรเทาสา
ธารณภัยด้านการแพทย์ และสาธารณสุ ข โดยเป็นศูนย์ประสานงานส่ว นกลางในการสื่ อสาร สั่งการ เชื่อมโยง
หน่วยงานสาธารณสุขทั้งส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น และภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ กองสาธารณสุขฉุกเฉิน
สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได้จัดทาตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข “ระดับความสาเร็จในการจัดการภาวะ
ฉุกเฉินทางสาธารณสุขของหน่วยงานระดับจังหวัด”ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยให้หน่วยงานระดับจังหวัด
ประเมินตนเองตามแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินสาหรับหน่วยงาน
สาธารณสุขระดับจังหวัด (EOC assessment tool)
การพั ฒ นาศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์ แ ละสาธารณสุ ข หรื อ Public Health
Emergency Operation Center เป็นส่วนที่สาคัญในการเตรียมความพร้ อมและรับมือกับภาวะฉุกเฉินทางการ
แพทย์และสาธารณสุขทุกโรคและภัยสุขภาพของหน่วยงานทั้งส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น โดยใช้แบบเก็บ
ข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินสาหรับหน่วยงานสาธารณสุขระดับจังหวัด
(EOC assessment tool) เป็นกรอบและแนวทางในการถอดบทเรียน ซึ่งประกอบด้วย 10 หมวด ดังนี้
หมวดที่ 1 บริบท
หมวดที่ 2 ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉิน
หมวดที่ 3 กรอบโครงสร้างการทางาน
หมวดที่ 4 ระบบข้อมูล
หมวดที่ 5 Critical Information
หมวดที่ 6 Incident management and response
หมวดที่ 7 การสื่อสารความเสี่ยง (Risk Communications) และการเตือนภัย
หมวดที่ 8 การสื่อสารภายใน (หมายถึง การสื่อสารภายในระบบ ICS)
หมวดที่ 9 Coordination and logistical support of field operations
หมวดที่ 10 Training, Exercise and Evaluation
กองสาธารณสุขฉุกเฉินได้จัดทาแบบฟอร์มการถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวาง
แผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินสาหรับหน่วยงานสาธารณสุขระดับจังหวัดและระดับเขตสุขภาพ EOC
ASSESSMENT TOOL ให้สานักงานเขตสุขภาพที่ 1 - 12 และสานักงานสาธารณสุขจังหวัดทุกจังหวัด 76 จังหวัด
ดาเนินการตอบตามประเด็นคาถาม และนาข้อมูลทั้งหมดมาวิเคราะห์ และจัดทาเป็นรายงานการถอดบทเรียน
เพื่อใช้ในการพัฒนาและปรับปรุงศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินสาหรับหน่วยงานสาธารณสุขระดับเขตสุขภาพ และ
ระดับจังหวัด ให้เป็นสถานที่ที่ใช้ในการปฏิบัติงานร่วมกันของหน่วยงานต่างๆ ภายใต้ระบบบัญชาการเหตุการณ์
เพื่อสนับสนุนการบริหารสั่งการ ประสานงาน แลกเปลี่ยนข้อมูล และทรัพยากรให้เกิดขึ้นอย่างสะดวกรวดเร็ว
ในสถานการณ์ฉุกเฉิน

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 2
สารบัญ
เรื่อง หน้า
คานา 1
บทสรุปผู้บริหาร 2
สารบัญ 3
ส่วนที่ 1 ความเป็นมาของการถอดบทเรียน 5
ส่วนที่ 2 สรุปรายงานผลการถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนา 7
ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินสาหรับหน่วยงานสาธารณสุขระดับจังหวัดและ
ระดับเขตสุขภาพ EOC ASSESSMENT TOOL
- พื้นที่เขตสุขภาพที่ 1 8
- พื้นที่เขตสุขภาพที่ 2 15
- พื้นที่เขตสุขภาพที่ 3 23
- พื้นที่เขตสุขภาพที่ 4 34
- พื้นที่เขตสุขภาพที่ 5 40
- พื้นที่เขตสุขภาพที่ 6 46
- พื้นที่เขตสุขภาพที่ 7 54
- พื้นที่เขตสุขภาพที่ 8 64
- พื้นที่เขตสุขภาพที่ 9 75
- พื้นที่เขตสุขภาพที่ 10 80
- พื้นที่เขตสุขภาพที่ 11 87
- พื้นที่เขตสุขภาพที่ 12 93
ส่วนที่ 3 สรุปภาพรวมสาหรับการ พัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ 98
และสาธารณสุข (PHEOC/EOC)
- พื้นที่เขตสุขภาพที่ 1 99
- พื้นที่เขตสุขภาพที่ 2 101
- พื้นที่เขตสุขภาพที่ 3 103
- พื้นที่เขตสุขภาพที่ 4 107
- พื้นที่เขตสุขภาพที่ 5 110
- พื้นที่เขตสุขภาพที่ 6 113

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 3
เรื่อง หน้า
- พื้นที่เขตสุขภาพที่ 7 116
- พื้นที่เขตสุขภาพที่ 8 123
- พื้นที่เขตสุขภาพที่ 9 129
- พื้นที่เขตสุขภาพที่ 10 131
- พื้นที่เขตสุขภาพที่ 11 134
- พื้นที่เขตสุขภาพที่ 12 137
ส่วนที่ 4 ผลลัพธ์จากการถอดบทเรียน 139
ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ 142
ภาคผนวก
แบบฟอร์มการถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนา 146
ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินสาหรับหน่วยงานสาธารณสุขระดับจังหวัดและระดับเขตสุขภาพ
EOC ASSESSMENT TOOL

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 4
ส่วนที่ 1
ความเป็นมาของการถอดบทเรียน

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 5
ส่วนที่ 1
ความเป็นมาของการถอดบทเรียน
ในช่ ว งทศวรรษที่ ผ่ า นมาประเทศไทยได้ เ ผชิ ญ กั บ โรคและภั ย ธรรมชาติ ห ลายรู ป แบบ
ที่ มี ค วามรุ น แรงและบ่ อ ยครั้ ง ขึ้ น ส่ ง ผลกระทบต่ อ ประชากรจ านวนมาก โดยเฉพาะในเขตชุ ม ชนเมื อ ง
ซึ่งมีประชากรหนาแน่นมากขึ้น โดยภัยพิบัติที่เกิดขึ้น ได้แก่ ภัยจากแผ่นดินไหวและคลื่นยักษ์สึนามิ เมื่อวันที่
๒๖ ธันวาคม ๒๕๔๗ ส่งผลกระทบต่อ ๖ จังหวัดชายฝั่งทะเลอันดามัน คือ จังหวัดพังงา กระบี่ ระนอง ภูเก็ต ตรัง
และสตู ล มี ผู้ เ สี ย ชี วิ ต ทั้ ง ชาวไทยและชาวต่ า งประเทศรวม ๕,๔๐๑ คน สู ญ หาย ๒,๙๒๑ คน และท าให้
มีเด็กกาพร้ามากกว่า ๑,๒๑๕ คน มูลค่าความเสียหายกว่า ๑๔,๔๙๑ ล้านบาท และมหาอุทกภัยในประเทศไทยใน
ปี ๒๕๕๔ ก็ส่ งผลกระทบอย่ างรุ น แรงต่อประชาชนราว ๒,๘๔๐,๐๐๐ คน ในกรุงเทพมหานคร และจังหวัด
ปริ ม ณฑลโดยรอบอย่ า งกว้ า งขวาง จนอาจกล่ า วได้ ว่ า ภั ย พิ บั ติ เ หล่ า นี้ เ ป็ น ปั ญ หาภั ย คุ ก คามทางธรรมชาติ
ต่อความมั่นคง (Natural Threats to Security)
ซึ่งถือเป็ น ปั ญหาสั ง คมและการเมื องของประเทศด้ว ย จึงมีความจาเป็นอย่ างยิ่ งที่ กระทรวง
สาธารณสุขต้องให้ความร่วมมือ ในการบริหารจัดการและลดความเสี่ยงของการเกิด สาธารณภัย ซึ่งความเสี่ยงสูง
จากปัญหาของการบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉิน และความขาดแคลนของทรัพยากรที่จะรับมือต่อสถานการณ์ภาวะ
ฉุกเฉินให้ เป็ นไปได้อย่ างมีประสิ ทธิภาพ โดยมีมาตรการที่เข้มแข็งในการเตรียมความพร้อมตอบโต้ ภ าวะฉุ ก เฉิ น
ด้านการแพทย์ และสาธารณสุ ข ที่ส ามารถตอบสนองต่อการให้ ความช่วยเหลื อด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข
แก่ผู้ประสบภัย และการฟื้นฟูบูรณะหลังเกิดภัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากเกิดสถานการณ์ ภาวะฉุกเฉิน ขึ้นอีก
ในอนาคต ไม่ว่าจะเป็นอุทกภัยจากอิทธิพลของมรสุมหรือพายุไต้ฝุ่น รวมถึงเหตุการณ์แผ่นดินไหวในระดับ ที่รุนแรง
เป็นต้น ด้วยเหตุนี้จึงมีความจาเป็นต้องมีมาตรการที่เข้มแข็งและมีประสิทธิภาพ ในการเตรียมความพร้อมสูงสุด
ในด้านการแพทย์และการสาธารณสุขเพื่อรองรับสถานการณ์ฉุกเฉิน และพิบัติภัยทางธรรมชาติ ตลอดจนการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกที่มีความเสี่ยงสูงต่อสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนอีกด้วย
กระทรวงสาธารณสุ ข โดยกองสาธารณสุ ข ฉุ ก เฉิ น ได้ ด าเนิ น การก าหนดตั ว ชี้ วั ด กระทรวง
สาธารณสุ ข “ระดั บ ความส าเร็ จ ในการจั ด การภาวะฉุ ก เฉิ น ทางสาธารณสุ ข ของหน่ ว ยงานระดั บ จั ง หวั ด ”
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยให้หน่วยงานระดับจังหวัดประเมินตนเองตามแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการ
วางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินสาหรับหน่วยงานสาธารณสุขระดับเขตสุขภาพ (EOC assessment tool)
จึ ง จ าเป็ น ต้องดาเนิ น การถอดบทเรี ย นในครั้ งนี้ เพื่อให้ ห น่ว ยงานระดับจัง หวัดและเขตสุ ขภาพทุ กหน่ว ยงาน
มี ก ารเตรี ย มการและมี ก ารด าเนิ น งานเพื่ อ เตรี ย มความพร้ อ มศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์
และสาธารณสุข ทั้งการประเมินความเสี่ยงหรือความเปราะบางของพื้นที่ในการรับมือกับภาวะฉุกเฉินและสาธารณภัย
การประสานงานและการสื่ อ สารความเสี่ ย งกั บ หน่ ว ยงานทุ ก ระดั บ การจั ด ท าแผนปฏิ บั ติ ก ารที่ มี ม าตรฐาน
และการฝึกซ้อมในการรั บมือกับสาธารณภัยตามระดับความรุนแรง การกาหนดมาตรฐานการปฏิบัติในภาวะ
สาธารณภัย กลไกการจัดสรรงบประมาณและทรัพยากรในการเตรียมรับสาธารณภัย และการฝึกอบรมพัฒนา
บุคลากรด้านการแพทย์และสาธารณสุขด้านการบริหารจัดการสาธารณภัยและการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 6
ส่วนที่ 2
สรุปรายงานผลการถอดบทเรียน
EOC ASSESSMENT TOOL

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 7
ส่วนที่ 2
สรุปรายงานผลการถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการ
ภาวะฉุกเฉินสาหรับหน่วยงานสาธารณสุขระดับจังหวัดและระดับเขตสุขภาพ
EOC ASSESSMENT TOOL
พื้นที่เขตสุขภาพที่ 1
หมวดที่ 1 บริบท
1.1 การกาหนดพันธกิจและขอบเขตการปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข (PHEOC /EOC)
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉินและเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การกาหนดพันธกิจและขอบเขตการปฏิบัติงานของศูนย์
ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข ทาให้เกิดการทางานที่ครอบคลุมทุกกลุ่มภารกิจทั้งก่อน
และหลังเกิดเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉิน
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉินและเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน มีความจาเป็นต้องกาหนดพันธกิจ เพื่อเป็นแนวทางในการ
ปฏิบัติงาน เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินที่ต้องเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
1.2 การจั ด ท าแผนรองรั บ ภาวะฉุ กเฉิน ระดั บ จั ง หวั ด ตามภัย และการประเมิ น ความเสี่ย งที่ มี การ
จัดลาดับความสาคัญ
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การจัดทาแผนรองรับภาวะฉุกเฉินระดับจังหวัดตามภัยและการประเมินความเสี่ยง
ที่มีการจัดลาดับความสาคัญ ทุกจังหวัดมีการจัดทาแผนรองรับภาวะฉุกเฉินระดับจังหวัดและการประเมินความ
เสี่ยงที่มีการจัดลาดับความสาคัญ เพื่อเตรียมพร้อมรับมือกับภาวะฉุกเฉิน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การจัดทาแผนรองรับภาวะฉุกเฉินระดับจังหวัดตามภัยและการประเมินความเสี่ยง
ที่มีการจัดลาดับความสาคัญทุกจังหวัดสามารถดาเนินการตามแผนรองรับภาวะฉุกเฉินและสามารถรับมือกับภาวะ
ฉุกเฉินได้เป็นอย่างดี
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การจัดทาแผนรองรับตามโรคและภัยที่สาคัญมีการประเมินความเสี่ยง เป็นการ
เตรียมความพร้อมเพื่อใช้แผนในการปฏิบัติงานเมื่อเกิดโรคและภัยสุขภาพนั้น

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 8
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การจัดทาแผนรองรับภาวะฉุกเฉินระดับจังหวัดตามภัยและการประเมินความเสี่ยงที่
มีการจัดลาดับความสาคัญสามารถนาแผนที่เขียนไว้มาปรับใช้ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น
หมวดที่ 2 ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉิน
2.1 โครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
(PHEOC/EOC) และระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS) (คน เงิน ของ)
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านทรัพยากร (คน เงิน ของ) ในระดับเขตสุขภาพ
เพื่อรองรับการเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน โครงสร้างพื้นฐาน มีส่วนช่วยได้เป็นอย่างดีในการมอบหมายภารกิจและประสานงาน
ทาให้สามารถประสานงานได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ทันต่อเหตุการณ์
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน โครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข เป็นการเตรียมความพร้อมทั้ง Staff Stuff System เป็นส่วนสาคัญที่จะช่วยให้การดาเนินงานในภาวะ
ฉุกเฉินสามารถบรรลุเป้าหมายในการปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการฯ ได้เป็นอย่างดี
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน โครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน จะทาให้มีความพร้อมทั้งบุคลากร งบประมาณ และทรัพยากร จะส่งผลให้การ
บัญชาการเหตุการณ์ ตามโครงสร้าง ICS ดาเนินไปด้วยความราบรื่น
2.2 การอบรมบุคลากรให้มีความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์
และสาธารณสุข (PHEOC /EOC) และระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS)
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การอบรมบุคลากรให้มีความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์และสาธารณสุข และระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS) บุคลากรมีความรู้และทราบแนวทางการ
ดาเนินงานในเชิงทฤษฎี ซึ่งยังไม่มีมุมมองในการดาเนินงานที่เป็นรูปธรรมอย่างชัดเจน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การอบรมบุคลากรให้มีความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์และสาธารณสุขและระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS) บุคลากรสามารถนาความรู้และแนวทางการ
ดาเนินงานมาประยุกต์กับสถานการณ์ได้เป็นอย่างดี รวมถึงรับรู้ถึงปัญหาจากการทางานจริงและสามารถนาองค์
ความรู้ที่มีอยู่มาปรับใช้และแก้ไขปัญหาได้

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 9
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ควรมีการอบรม ทบทวนให้บุคลากรมีความรู้ในเรื่องการจัดการภาวะฉุกเฉิน ตาม
ระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS) เพื่อให้ทุกคนตระหนักและเกิดความเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เมื่อบุคลากรได้รับการอบรมเกี่ยวกับโครงสร้างของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์ แ ละสาธารณสุ ข (PHEOC /EOC) และระบบบั ญ ชาการเหตุ ก ารณ์ (ICS) ท าให้ มี ค วามเข้ า ใจ
ในบทบาทหน้าที่ เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินจะทาให้สามารถปฏิบัติงานได้
หมวดที่ 3 กรอบโครงสร้างการทางาน
3.1 การมี ร ะบบหรื อ กลไกการประสานงานของศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์ แ ละ
สาธารณสุข (PHEOC/EOC) กับหน่วยงานภายใน และหน่วยงานภายนอก
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น ระบบหรื อกลไกการประสานงาน เพื่อร่ว มกันดาเนินงานทั้งหน่ว ยงานภายใน
และภายนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ระบบหรือกลไกการประสานงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข ทาให้ทุกภาคส่วนทั้งหน่วยงานภายใน และหน่วยงานภายนอก สามารถดาเนินงานแก้ไขปัญหาร่วมกัน
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีระบบหรือกลไกการประสานงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการ
แพทย์และสาธารณสุข ช่วยให้การประสานงาน การเตรียมความพร้อม สะดวกรวดเร็ว ทั้งมีเครือข่ายทั้งภายในและ
ภายนอกกระทรวงสาธารณสุข
เมื่อเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น ระบบหรื อกลไกการประสานงานของศูนย์ปฏิบัติการฯ ช่ว ยเสริมระบบให้การ
ปฏิบั ติงานภาวะฉุกเฉิน ที่จ าเป็ น ต้องขอความช่ว ยเหลื อ หรือร้องขอจากหน่ว ยงานอื่น ให้ ส ามารถเข้ามาร่ว ม
ปฏิบัติการอย่างบูรณาการ
หมวดที่ 4 ระบบข้อมูล
4.1 การเชื่ อ มโยงข้ อ มู ล การปฏิ บั ติ ง านระหว่ า งศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์ แ ละ
สาธารณสุข (PHEOC/EOC) กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การเชื่อมโยงข้อมูลการปฏิบัติงานระหว่างศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการ
แพทย์และสาธารณสุข ไม่มีศูนย์รวมข้อมูลเป็นแหล่งเดียวกัน ทาให้ต้องขอข้อมูลจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทาให้
เกิดความล่าช้าในการนาข้อมูลมาใช้

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 10
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การเชื่อมโยงข้อมูลการปฏิบัติงานระหว่างศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์
และสาธารณสุข มีการมอบหมายให้มีผู้รับผิดชอบในการรวบรวม และบริหารจัดการข้อมูลให้เกิดประโยชน์สูงสุด
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉินและเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ระบบการเชื่อมโยงข้อมูลร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
เพื่อแชร์ข้อมูลนาไปใช้ในการวางแผน ตัดสินใจ แก้ไขปัญหาสถานการณ์ฉุกเฉินที่เกิดขึ้น
หมวดที่ 5 Critical Information
5.1 ระบบการรายงาน ข้อมูลทรัพยากร ระบุตาแหน่งและสถานะของการปฏิบัติงานของทีมปฏิบัติการ
ทางการแพทย์และสาธารณสุข หรือทีมปฏิบัติการจากหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องผ่านอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่จาเป็น
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ระบบการรายงาน ข้อมูลทรัพยากร ระบุตาแหน่งและสถานะของการปฏิบัติงาน
ของทีมปฏิบัติการทางการแพทย์และสาธารณสุข หรือทีมปฏิบัติการ ไม่มีฐานข้อมูลที่สามารถดึงข้อมูลระบบได้ใน
แหล่งเดียว ทาให้ต้องขอข้อมูลจากจังหวัดเป็นรายครั้ง
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ระบบการรายงาน ข้อมูลทรัพยากร ระบุตาแหน่งและสถานะของการปฏิบัติงานของ
ทีมปฏิบัติการทางการแพทย์และสาธารณสุข หรือทีมปฏิบัติการสามารถนาข้อมูลมาใช้ประโยชน์ในการร้องขอ
สนับสนุนในแต่ละจังหวัดได้รวดเร็ว ทันต่อสถานการณ์
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ระบบการรายงาน ข้อมูลทรัพยากร ระบุ ตาแหน่งและสถานะของการปฏิบัติงาน
ของทีมปฏิบัติการทางการแพทย์และสาธารณสุข หรือทีมปฏิบัติการจาเป็นต้องมี resource mapping เพื่อเป็น
ฐานข้อมูลในการเตรียมพร้อมกรณีเกิดภาวะฉุกเฉินต้องการใช้
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ระบบการรายงาน ข้อมูลทรัพยากร ระบุตาแหน่งและสถานะของการปฏิบัติงาน
ของทีมปฏิบัติการทางการแพทย์และสาธารณสุข หรือทีมปฏิบัติการ ทาให้รู้ว่าในพื้นที่มีทรัพยากรอะไร ที่ไหน
จานวนเท่าไหร่ เมื่อต้องการใช้จะได้ร้องขอได้ถูกต้อง เหมาะสม และช่วยให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ
5.2 การมีแนวทางปฏิบัติของแต่ละกลุ่มภารกิจอยู่ในศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข (PHEOC) ตามระบบบัญชาการเหตุการณ์
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น แนวทางปฏิ บั ติข องแต่ ล ะกลุ่ ม ภารกิ จ อยู่ ใ นศู น ย์ป ฏิบั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ นทาง
การแพทย์และสาธารณสุข มีการกาหนดบทบาทหน้าที่แต่ละกล่องภารกิจ เพื่อรองรับการปฏิบัติงาน

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 11
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน แนวทางปฏิบัติของแต่ละกลุ่มภารกิจอยู่ในศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการ
แพทย์และสาธารณสุขทาให้ผู้ที่ได้รับมอบหมายในแต่ละกล่องภารกิจ สามารถดาเนินการตามแนวทางปฏิบัติฯ
ตามที่ได้รับมอบหมายได้เป็นอย่างดี ส่งผลให้การดาเนินงานเป็นอย่างมีประสิทธิภาพ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การปฏิบัติงานของกลุ่มภารกิจอยู่ในศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์
และสาธารณสุขจาเป็ นต้องมี แนวปฏิบัติฯ (SOP) ของกลุ่มภารกิจเพื่อใช้เป็นแนวปฏิบัติ อย่างถูกต้องและเป็น
ทิศทางเดียวกันเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การปฏิบัติงานของกลุ่มภารกิจอยู่ในศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์
และสาธารณสุข แนวทางปฏิบัติฯ (SOP) มีความจาเป็นกรณี เจ้าหน้าที่ กลุ่มภารกิ จขาดแคลน จาเป็นต้องเรียก
ผู้ปฏิบัติงานใหม่มาปฏิบัติงาน แนวทางปฏิบัติฯ (SOP) จะช่วยให้ใช้เป็นคู่มือปฏิบัติงานได้อย่างครอบคลุม
หมวดที่ 6 Incident management and response
6.1 การแต่งตั้งหรือกาหนดตัวเจ้าหน้าที่ที่จะปฏิบัติงานตามโครงสร้างการบัญชาการเหตุการณ์ภายใต้
การดาเนินงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC./EOC) และสามารถ
นาไปใช้เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข และมีประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานอย่างไร
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การแต่งตั้งหรือกาหนดตัวเจ้าหน้าที่ที่จะปฏิบัติงานตามโครงสร้างการบัญชาการ
เหตุการณ์ภายใต้การดาเนินงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข เป็นการกาหนด
ผู้ปฏิบัติงานที่เหมาะสมและศักยภาพที่จะสามารถปฏิบัติงานหากเกิดเหตุการณ์จริง
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การกาหนดตัวบุคคลในการปฏิบัติงานที่ชัดเจน ทาให้เมื่อเกิดเหตุการณ์จริง สามารถ
ประสานงานไปยังตัวบุคคลที่รับผิดชอบในภารกิจนั้นได้อย่างรวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์ ซึ่งมีประโยชน์อย่างมากใน
การปฏิบัติงานภาวะฉุกเฉิน
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉินและเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การกาหนดแต่งตั้งเจ้าหน้าที่เพื่อปฏิบัติงานตามโครงสร้าง
ICS เป็นส่วนสาคัญที่จะกาหนดให้แต่ละคนทาหน้าที่ของตนเองตามที่ได้รับมอบหมายตามกลุ่มภารกิจ มีประโยชน์
ในแง่กาหนดผู้รับผิดชอบชัดเจนไม่ซ้าซ้อน เมื่อเกิดเหตุภาวะฉุกเฉินสามารถเรียกกาลังคนสารองตามกลุ่มภารกิจได้
หมวดที่ 7 การสื่อสารความเสี่ยง (Risk Communications) และการเตือนภัย
7.1 การมีแผน/แนวทางการสื่อสารความเสี่ยงตามโรคและภัยสุขภาพที่วิเคราะห์หรือประเมินความ
เสี่ยงได้หรือตามเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉิน และมีประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานอย่างไร

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 12
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การกาหนดแผน แนวทางการสื่อสารความเสี่ยงตามโรค ดาเนินการโดยมี การ
ประชุมชี้แจงเพื่อสื่อสารความเสี่ยง และติดตามสถานการณ์ในพื้นที่แต่ละจังหวัดในแต่ละช่วงเวลา
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีแผน แนวทางการสื่อสารความเสี่ยงตามโรคและภัยสุขภาพประชาชนทราบ
สถานการณ์จริ งและแนะนาการปฏิบัติตัว การเตรียมพร้อมรับมือ เพิ่มความรู้ เกี่ยวกับโรคและภัยนั้น และยัง
สามารถลดการตื่นตระหนกของประชาชนในพื้นที่ได้อย่างดี
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉินและเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีแผน แนวทางการสื่อสารความเสี่ยงตามโรคและภัย
สุขภาพที่วิเคราะห์หรือประเมินความเสี่ยงได้หรือตามเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉินของพื้นที่เป็นประโยชน์ในการเป็นแนว
ปฏิบัติสาหรับการสื่อสารของพื้นที่เพื่อให้ประชาชนเข้าใจและปฏิบัติตามมาตรการและแนวทางของหน่วยงานทาง
การแพทย์และสาธารณสุข
หมวดที่ 8 การสื่อสารภายใน (หมายถึง การสื่อสารภายในระบบ ICS)
8.1 แนวทางการดาเนินงานสาหรับการสื่อสารในองค์กร
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน และเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน มีการสื่อสารแนวทางการดาเนินงานเพื่อเตรียมพร้อม
รับมือการสถานการณ์ฉุกเฉินที่เกิดขึ้นได้ตามบริบทของพื้นที่
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การดาเนินงานสาหรับการสื่อสารในหน่วยงานเป็นสิ่งจาเป็นที่จะมีช่องทางสื่อสาร
ภายในกลุ่มภารกิจตามระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS)
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การดาเนินงานสาหรับการสื่อสารในหน่วยงาน เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินจะทาให้ การ
ประสานงานที่ราบรื่น สะดวกรวดเร็ว
หมวดที่ 9 Coordination and logistical support of field operations
9.1 การสนับสนุนทีมปฏิบัติการพร้อม อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็นสาหรับลงพื้นที่ภาคสนาม
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉินและเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การสนับสนุนทีมปฏิบัติการพร้อม อุปกรณ์/เครื่องมือที่
จ าเป็ น ส าหรั บ ลงพื้น ที่ภ าคสนาม มีการให้ การสนับสนุนเป็นอย่างดี ภ ายในเขตสุขภาพ ทั้งด้านบุคลากร และ
เครื่องมือที่จาเป็นเพื่อใช้ในกาปรฏิบัติการ

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 13
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิด ภาวะฉุ กเฉิน การสนับสนุนทีมปฏิบัติการพร้อม อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็นสาหรับลงพื้ นที่
ภาคสนามต้องมีการเตรียมความพร้อมทีมปฏิบัติการรวมทั้งอุปกรณ์ในทักษะการปฏิบัติงาน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การสนับสนุนทีม ปฏิบัติการฉุกเฉิน ส่งในพื้นที่กรณีมีการเกิดเหตุการณ์ในพื้ นที่
ไปประสานในการ response เป็นสิ่งสาคัญ
9.2 การสนับสนุน จัดเก็บ จัดส่งยาเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาในคลังเวชภัณฑ์ อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็น
ให้กับทีมปฏิบัติการ
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น การสนั บ สนุ น จั ด เก็ บ จั ด ส่ ง ยาเวชภัณ ฑ์ ที่ มิ ใ ช่ยาในคลั งเวชภั ณฑ์ อุ ป กรณ์ /
เครื่องมือที่จาเป็นให้กับทีมปฏิบัติการ มีสนับสนุน และรวบรวมข้อมูล รวบถึงตรวจสอบ เพื่อเตรียมการสนับสนุน
หากเกิดเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉิน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การสนับสนุน จัดเก็บ จัดส่งยาเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาในคลังเวชภัณฑ์ อุปกรณ์/เครื่องมือ
ที่จาเป็นให้กับทีมปฏิบัติการสามารถแบ่งปันทรัพยากรภายในเขต และนอกเขตสุขภาพได้อย่างพอเพียงต่อความ
ต้องการ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉินและเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การสนับสนุนเวชภัณฑ์ ยา ที่จาเป็นแก่ทีมปฏิบัติการจะ
ช่วยให้การปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถดาเนินการได้อย่างรวดเร็วและทันต่อสถานการณ์
หมวดที่ 10 Training, Exercise and Evaluation
10.1 การจัดอบรมตามหลักสูตรกลาง (ICS100) ที่จัดตั้งขึ้นมาเป็นการเฉพาะเพื่อฝึกอบรมเจ้าหน้าที่
ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC) และเจ้าหน้าที่ตามโครงสร้าง ICS
สานักงานเขตสุขภาพ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การจัดอบรมตามหลักสูตรกลาง (ICS100) มีความจาเป็นอย่างยิ่ง และมีประโยชน์
กับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งทาให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถนาองค์ความรู้ที่ได้จากการฝึกอบรมมาประยุกต์ใช้ และเป็น
ประโยชน์ต่อการปฏิบัติงาน
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การจัดอบรมตามหลักสูตรกลาง (ICS100) ยังมีความจาเป็นแต่การที่ให้เจ้าหน้าที่
เข้าไปเรียน online อาจจะทาให้มีบุคลากรเข้าร่วมอบรมไม่ได้ตามเป้าหมาย

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 14
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การจัดอบรมตามหลักสูตรกลาง (ICS100) เจ้าหน้าที่ผ่านการอบรมจะทาให้เข้าใจ
บทบาทหน้าที่ในการปฏิบัติงานได้ตามกลุ่มภารกิจที่ตนได้รับ
10.2 แผน (BCP/IAP) ระบบการบริหารจัดการข้อมูล และกิจกรรม การฝึกซ้อมแผนเป็นการเฉพาะ
ให้กับเจ้าหน้าที่ตามคาสั่งศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC)
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน และเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน แผน (BCP/IAP) ระบบการบริหารจัดการข้อมูล และ
กิจกรรม การฝึกซ้อมแผนเป็นการเฉพาะให้กับเจ้าหน้าที่ตามคาสั่งศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุขทาให้สามารถรองรับสถานการณ์จริงได้เป็นอย่างดี
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน และเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน แผนประคองกิจการ (BCP) เป็นแผนที่ให้หน่วยงาน
สามารถดาเนินการได้อย่างต่อเนื่องเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ส่วนแผนเผชิญเหตุ (IAP) จะทาให้รู้ขอบเขต กิจกรรมการ
ปฏิบัติงานเมื่อเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุขเพื่อตอบโต้โรคและภัยฉุกเฉิน
พื้นที่เขตสุขภาพที่ 2
หมวดที่ 1 บริบท
1.1 การกาหนดพันธกิจและขอบเขตการปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข (PHEOC /EOC)
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน และเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ใช้เป็นกรอบแนวทาง/ทิศทาง การปฏิบัติภารกิจหรือ
บริการหลักขององค์กร (Products or Services) ด้าน PHEM ภายใต้ ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (PHEOC./EOC)
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การกาหนดพันธกิจและขอบเขตการปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อให้เกิดความชัดเจนในการดาเนินงาน และเป็นการกาหนดจุดมุ่งเน้น เป้าหมาย
ในการพัฒนาระบบศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การกาหนดพันธกิจและขอบเขตการปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อให้เกิดความชัดเจนในการดาเนินงาน สามารถกาหนดภารกิ จที่ชัดเจนของ
บุคลากร ให้สามารถปฏิบัติงานบรรลุเป้าหมายเดียวกันได้

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 15
1.2 การจั ด ท าแผนรองรั บ ภาวะฉุ กเฉิน ระดั บ จั ง หวั ด ตามภัย และการประเมิ น ความเสี่ย งที่ มี การ
จัดลาดับความสาคัญ
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น ควรมีการดาเนินงานการวิเ คราะห์ และจัดล าดั บความส าคัญ ของโรคและภั ย
ความเปราะบางของระบบ (System vulnerability) และความเสี่ยงในพื้นที่ ปัจจัยที่ทาให้เกิดความเสี่ ยงจาก
สาธารณภัย ได้แก่ ภัย ความล่อแหลม ความเปราะบาง และศักยภาพ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการวางแผน ลาดับ
ความสาคัญ/กาหนดมาตรการ /แนวทาง/และทรัพยากรในการดาเนินงาน PHEM ที่สอดคล้องกับผลการวิเคราะห์
ความเสี่ยง
เมื่อเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น ให้ น าแผนที่เตรียมพร้อมล่ วงหน้ารองรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ที่มีแนว
ทางการด าเนิ น งานPHEM ในแต่ ล ะโรค ภั ย สุ ข ภาพตามความเสี่ ยง /ทรั พ ยากรที่ จ าเป็น ส าหรั บ งาน PHEM
และเมื่อเกิดเหตุสามารถเรียกใช้แผนได้ทันที
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การจัดทาแผนรองรับภาวะฉุกเฉินระดับจังหวัดตามภัยและการประเมินความเสี่ยง
ที่มีการจัดลาดับความสาคัญ ต้องมีการจัดทาแผนรองรับภาวะฉุกเฉินที่ครอบคลุมทุกโรคและภัยสุขภาพ เพื่อเป็น
การเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การจัดทาแผนรองรับภาวะฉุกเฉินระดับจังหวัดตามภัยและการประเมินความเสี่ยงที่
มี ก ารจั ด ล าดั บ ความส าคั ญ เมื่ อ เกิ ด เหตุ ก ารณ์ แ ผนที่ จัด ท าไว้ อ าจจะต้อ งน ามาปรับ ปรุ ง เพื่ อ ให้ เหมาะสมกับ
สถานการณ์ และแผนต้องมีการปรับปรุงเป็นระยะตามความเหมาะสม โดยเฉพาะ แผนด้านการรับรักษาผู้ป่วย/
ผู้บาดเจ็บจากเหตุการณ์
หมวดที่ 2 ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉิน
2.1 โครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
(PHEOC/EOC) และระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS) (คน เงิน ของ)
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน โครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข (PHEOC/EOC) และระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS) ใช้เป็นข้อมูลในการวางแผน ลาดับความสาคัญ/
กาหนดมาตรการ /แนวทาง/และทรัพยากรในการดาเนินงาน PHEM ที่สอดคล้องกับผลการวิเคราะห์ความเสี่ยง
เมื่อเกิดภาวะฉุ กเฉิน การยึดหลักสายการบัญชาเหตุการณ์ และเอกภาพในการบัญชาการเหตุ การณ์
จะช่วยสร้างความชัดเจน ลดความสับสน ซึ่งเกิดจากความขัดแย้งกันในการสั่งการ เนื่องจากผู้บังคับบัญชาที่เป็น
หัวหน้าในแต่ละระดับจะต้องสามารถควบคุมกากับดูแลการปฏิบัติงานของบุคลากรในหน่วยของตนเอง

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 16
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิด ภาวะฉุ กเฉิน การกาหนดโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC) และระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS) (คน เงิน ของ) ระบบไฟฟ้า
ของศูนย์ฯ การกาหนดให้มีเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารองและเชื้อเพลิง อาจเป็นไปได้ยากในระดับสานักงานสาธารณสุข
จังหวัด อาจมีการปรับแผนการจัดตั้งศูนย์ไปในสถานที่สารอง เช่น โรงพยาบาลฯ ที่มีเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารอง
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน โครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข (PHEOC/EOC) และระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS) ระบบไฟฟ้าของศูนย์ฯ การกาหนดให้มีเครื่อง
กาเนิดไฟฟ้าสารองและเชื้อเพลิง อาจเป็นไปได้ยากในระดับสานักงานสาธารสุขจังหวัด อาจมีการปรับแผนการ
จัดตั้งศูนย์ไปในสถานที่สารอง เช่น โรงพยาบาลที่มีเครื่องกาเนิดไฟฟ้าสารอง ทาให้สามารถตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์และสาธารณสุขได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.2 การอบรมบุคลากรให้มีความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์
และสาธารณสุข (PHEOC /EOC) และระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS)
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน เป็นการเตรียมความพร้อมให้บุคลากรมีความรู้ พร้อมปฏิบัติงานทั้งในภาวะปกติ
และภาวะฉุกเฉินได้ตามบทบาทหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ทาให้บุคลากรมีความรู้ และพร้อมปฏิบัติงานในภาวะฉุกเฉินได้ตามบทบาทหน้าที่ ที่
ได้รับมอบหมาย
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน เนื่องจากโครงสร้างการปฏิบัติงานของบุคลากรในสานักงานสาธารณสุข จังหวัด
ในศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC /EOC) และระบบบัญชาการเหตุการณ์
(ICS) มาจากหลากหลายกลุ่มงาน ควรมีการพัฒนารูปแบบการอบรมในลักษณะหลักสูตร online หรือ on the
job training เพือ่ ให้เกิดความเข้าใจในระบบและวิธีการปฏิบัติงาน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การอบรมบุคลากรให้มีความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์ และสาธารณสุ ข (PHEOC /EOC) และระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS) มีรูปแบบ on the job
training โดยให้ผู้ปฏิบัติงานมีพี่เลี้ยงในการปฏิบัติงานในศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 17
หมวดที่ 3 กรอบโครงสร้างการทางาน
3.1 การมี ร ะบบหรื อ กลไกการประสานงานของศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์ แ ละ
สาธารณสุข (PHEOC/EOC) กับหน่วยงานภายใน และหน่วยงานภายนอก
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉินและเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีระบบหรือกลไกการประสานงานของศูนย์ปฏิบัติการ
ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC) กับหน่วยงานภายในและหน่วยงานภายนอก เพื่อให้
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เจ้าหน้าที่/บุคลากรที่เกี่ยวข้อง สามารถปฏิบัติงานเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน
ด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุ ขภาพตามบทบาทที่ได้รับมอบหมายได้ เป็นไปตามมาตรฐาน
เดียวกัน
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ระบบหรือกลไกการประสานงานของศูน ย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์
และสาธารณสุข (PHEOC/EOC) กับหน่วยงานภายใน และหน่วยงานภายนอก โดยมีทะเบียนเครือข่ายหน่วยงาน
ทั้งภายในและภายนอกกระทรวงสาธารณสุข ช่วยทาให้สามารถประสานการปฏิบัติการได้อย่างรวดเร็ว
เมื่ อ เกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น มี ก ลไกการประสานงานของศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์ และ
สาธารณสุข โดยมีทะเบียนเครือข่ายหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกกระทรวงสาธารณสุข ช่วยทาให้สามารถ
ประสานการปฏิบัติได้อย่างรวดเร็ว ทันต่อสถานการณ์
หมวดที่ 4 ระบบข้อมูล
4.1 การเชื่ อ มโยงข้ อ มู ล การปฏิ บั ติ ง านระหว่ า งศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์ แ ละ
สาธารณสุข (PHEOC/EOC) กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สานักงานเขตสุขภาพ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การเชื่อมโยงข้อมูลการปฏิบัติงานระหว่างศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์
และสาธารณสุขหน่ วยงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับ ทั้ง ส่วนกลาง ระดับเขต ระดับจังหวัด สามารถเชื่อมโยงกับแผน
ของหน่วยงานอื่นๆ ได้ ตลอดจนทราบถึงบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบตามที่ได้รับ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การเชื่อมโยงข้อมูลการปฏิบัติงานระหว่างศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการ
แพทย์และสาธารณสุข(PHEOC/EOC) กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เป็นการเตรียมความพร้อมสาหรับการประสานงาน
ข้อมูลทรัพยากร เพื่อใช้ในการบริหารสถานการณ์

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 18
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การเชื่อมโยงข้อมูลการปฏิบัติงานระหว่างศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์
และสาธารณสุข(PHEOC/EOC) กับ หน่ ว ยงานที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้ข้อมูล ในการบริหารจัดการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์และสาธารณสุข
หมวดที่ 5 Critical Information
5.1 ระบบการรายงาน ข้อมูลทรัพยากร ระบุตาแหน่งและสถานะของการปฏิบัติงานของทีมปฏิบัติการ
ทางการแพทย์และสาธารณสุข หรือทีมปฏิบัติการจากหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องผ่านอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่จาเป็น
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉินและเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ควรมีเตรียมระบบพื้นฐานการรายงาน ข้อมูล ทรัพยากร
ระบุตาแหน่งและสถานะของการปฏิบัติงานของทีมปฏิบัติการทางการแพทย์และสาธารณสุข หรือทีมปฏิบัติการ
จากหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องผ่านอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่จาเป็น
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ระบบการรายงาน ข้อมูลทรัพยากร ระบุตาแหน่งและสถานะของการปฏิบัติงาน
ของทีมปฏิบัติการทางการแพทย์และสาธารณสุข หรือทีมปฏิบัติการจากหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องผ่านอุปกรณ์
หรือเครื่องมือที่จาเป็น เพื่อให้สามารถทราบจานวนทรัพยากรได้อย่างเป็นปัจจุบัน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ระบบการรายงาน ข้อมูลทรัพยากร ระบุตาแหน่งและสถานะของการปฏิบัติงาน
ของทีมปฏิบัติการทางการแพทย์และสาธารณสุข หรือทีมปฏิบัติการจากหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องผ่านอุปกรณ์
หรื อ เครื่ อ งมื อ ที่ จ าเป็ น เพื่ อ ให้ ส ามารถทราบทรั พ ยากรได้ อ ย่ า งเป็ น ปั จ จุ บั น ให้ เ พี ย งพอต่ อ การปฏิ บั ติ ง าน
และสามารถใช้เป็นข้อมูลเสนอผู้บริหารในการตัดสินใจบริหารจัดการสถานการณ์ และออกข้อสั่งการที่สอดคล้อง
กับสถานการณ์ได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และทันต่อสถานการณ์
หมวดที่ 6 Incident management and response
6.1 การมีแนวทางปฏิบัติของแต่ละกลุ่มภารกิจอยู่ในศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข (PHEOC) ตามระบบบัญชาการเหตุการณ์
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน และเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ควรปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติของแต่ละกลุ่มภารกิจ
อยู่ในศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC) ตามระบบบัญชาการเหตุการณ์
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น แนวทางปฏิ บั ติ ข องแต่ ล ะกลุ่ ม ภารกิ จ อยู่ ใ นศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น
ทางการแพทย์ แ ละสาธารณสุ ข ตามระบบบั ญ ชาการเหตุ ก ารณ์ ท าให้ มี ข อบเขตและบทบาทหน้ า ที่
ในการดาเนินงานของแต่ละกลุ่มภารกิจที่ชัดเจน สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 19
เมื่ อ เกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น แนวทางปฏิ บั ติ ข องแต่ ล ะกลุ่ ม ภารกิ จ อยู่ ใ นศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น
ทางการแพทย์และสาธารณสุข ตามระบบบัญชาการเหตุการณ์ ทาให้ผู้ปฏิบัติงานมีแนวทางในการปฏิบั ติงาน
ที่ชัดเจนและมีแนวทางการประสานงานที่ปฏิบัติงานได้จริง
6.2 การมีการแต่งตั้งหรือกาหนดตัวเจ้าหน้าที่ที่จะปฏิบัติงานตามโครงสร้างการบัญชาการเหตุการณ์
ภายใต้การดาเนินงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC./EOC) และ
สามารถนาไปใช้เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข และมีประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานอย่างไร
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉินและเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีการแต่งตั้งหรือกาหนดตัวเจ้าหน้าที่ที่จะปฏิบัติงาน
ตามโครงสร้างการบัญชาการเหตุการณ์ภายใต้การดาเนินงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์
และสาธารณสุข สามารถใช้ในการสั่งการ ติดต่อประสานงานได้เมื่อเกิดสถานการณ์ฉุกเฉิน
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น สามารถน าไปใช้ ไ ด้ จ ริ ง เนื่ อ งจากมี ก ารก าหนดผู้ รั บ ผิ ด ชอบที่ ชั ด เจน
ในการปฏิบัติงานแต่ละคนจะรู้บทบาทหน้าที่ของตัวเอง ทาให้การทางานในรูปแบบศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC./EOC) สามารถขับเคลื่อนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เมื่ อ เกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น สามารถน าไปใช้ ไ ด้ จ ริ ง เนื่ อ งจากมี ก ารก าหนดผู้ รั บ ผิ ด ชอบที่ ชั ด เจน
ในการปฏิบัติงานแต่ละคนจะรู้บทบาทหน้าที่ของตัวเอง ทาให้การทางานในรูปแบบศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC./EOC) สามารถขับเคลื่อนได้อย่างบูรณาการและมีประสิทธิภาพ เกิดความ
คล่องตัวในการจัดการงานแต่ละด้าน
หมวดที่ 7 การสื่อสารความเสี่ยง (Risk Communications) และการเตือนภัย
7.1 การมีแผน/แนวทางการสื่อสารความเสี่ยงตามโรคและภัยสุขภาพที่วิเคราะห์หรือประเมินความ
เสี่ยงได้หรือตามเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉิน และมีประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานอย่างไร
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉินและเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีแผน/แนวทางการสื่อสารความเสี่ยงตามโรคและภัย
สุขภาพที่วิเคราะห์หรือประเมินความเสี่ยง ทาให้มีแนวทางการสื่อสารความเสี่ยง เมื่อเกิดเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉิน
โรคและภัยสุขภาพ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีแนวทางการปฏิบัติงานที่ชัดเจน เกี่ยวกับโรคที่มีการวิเคราะห์ความเสี่ยง
ไว้เมื่อพบเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉินสามารถตอบโต้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 20
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีแนวทางการปฏิบัติงานที่ชัดเจนเกี่ยวกับโรคที่มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงไว้
เมื่อพบเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉินสามารถตอบโต้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยให้สามารถกาหนดขอบเขตของการ
สื่อสารความเสี่ยงได้ และทาให้ไม่เกิดความสับสนของผู้รับสาร
หมวดที่ 8 การสื่อสารภายใน (หมายถึง การสื่อสารภายในระบบ ICS)
8.1 แนวทางการดาเนินงานสาหรับการสื่อสารในองค์กร
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน เพื่อกาหนดไว้เป็นแนวทางการปฏิบัติสาหรับการสื่ อสารในหน่วยงาน เมื่อเกิด
เหตุการณ์ภาวะฉุกเฉินโรคและภัยสุขภาพ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ทาให้มีแนวทางการปฏิบัติสาหรับการสื่อสารในหน่วยงาน เมื่อเกิดเหตุการณ์ภาวะ
ฉุกเฉินโรคและภัยสุขภาพ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน แนวทางการดาเนินงานสาหรับการสื่อสารในองค์กรเป็นสิ่งสาคัญ เพื่อให้การทางาน
บรรลุเป้าหมาย
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน แนวทางการดาเนินงานสาหรับการสื่อสารในองค์กรเป็นสิ่งสาคัญ เพื่อให้การทางาน
บรรลุเป้าหมาย โดยเมื่อเกิดสถานการณ์ฉุกเฉิน จะมีช่องทางการสื่อสารในองค์กร คือไลน์กลุ่มช่วยให้การสื่อสาร
เข้าถึงทุกคนในองค์กรอย่างรวดเร็ว และทันต่อสถานการณ์
หมวดที่ 9 Coordination and logistical support of field operations
9.1 การสนับสนุนทีมปฏิบัติการพร้อม อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็นสาหรับลงพื้นที่ภาคสนาม
สานักงานเขตสุขภาพ
เมื่อเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น การสนั บ สนุนทีมปฏิบัติการพร้อม อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็นส าหรับลงพื้นที่
ภาคสนาม เพื่อบริหารจัดการแก้ไขปัญหาภายในเขตสุขภาพเบื้องต้น
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น ส าหรั บ การตอบโต้ภ าวะฉุกเฉินต้องมีทีมปฏิบัติการที่มีความพร้อม อุปกรณ์/
เครื่องมือที่จาเป็นสาหรับลงพื้นที่ภาคสนาม
เมื่อเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น ส าหรั บ การตอบโต้ภ าวะฉุกเฉิ นต้ องมีที มปฏิบัติ การที่มี ความพร้ อ ม อุปกรณ์ /
เครื่องมือที่จาเป็นสาหรับลงพื้นที่ภาคสนาม และช่วยเพิ่มศักยภาพการปฏิบัติงานให้กับพื้นที่ได้

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 21
9.2 การสนับสนุน จัดเก็บ จัดส่งยาเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาในคลังเวชภัณฑ์ อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็น
ให้กับทีมปฏิบัติการ
สานักงานเขตสุขภาพ
เมื่อเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น การสนั บ สนุนทีมปฏิบัติการพร้อม อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็นส าหรับลงพื้นที่
ภาคสนาม เพื่อบริหารจัดการแก้ไขปัญหาภายในเขตสุขภาพเบื้องต้น
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น การสนั บ สนุ น จั ด เก็ บ จั ด ส่ ง ยาเวชภัณ ฑ์ ที่ มิ ใ ช่ยาในคลั งเวชภั ณฑ์ อุ ป กรณ์ /
เครื่องมือที่จาเป็นให้กับทีมปฏิบัติการ สามารถดาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การสนับสนุน จัดเก็บ จัดส่งยาเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาในคลังเวชภัณฑ์ อุปกรณ์/เครื่องมือ
ที่จาเป็นให้กับทีมปฏิบัติการ สามารถดาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ และช่วยให้เกิดความคล่องตัวในการ
บริหารจัดการทรัพยากรในพื้นที่ เมื่อเกิดเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉิน
หมวดที่ 10 Training, Exercise and Evaluation
10.1 การจัดอบรมตามหลักสูตรกลาง (ICS100) ที่จัดตั้งขึ้นมาเป็นการเฉพาะเพื่อฝึกอบรมเจ้าหน้าที่
ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC) และเจ้าหน้าที่ตามโครงสร้าง ICS
สานักงานเขตสุขภาพ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การจัดอบรมตามหลักสูตรกลาง (ICS100) บุคลากรที่ผ่านการฝึกอบรม สามารถ
ดาเนิ น การเฝ้ าระวั งเหตุ ก ารณ์ การเฝ้ าระวังข่ าวลื อ การเฝ้ าระวังเหตุ ก ารณ์ผ่ า นทางช่อ งทางอื่น ๆได้ อ ย่ า งมี
ประสิทธิภาพ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น การจั ด อบรมตามหลั ก สู ต รกลาง (ICS100) ที่ จั ด ตั้ ง ขึ้ น มาเป็ น การเฉพาะ
เพื่อฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC) และเจ้าหน้าที่
ตามโครงสร้าง ICS ควรมีการจัดการอบรมในรูปแบบออนไลน์ หรือช่องทางที่ให้เจ้าหน้าที่ในสานักงานสาธารณสุข
จังหวัด สามารถเข้าถึงการอบรมได้ง่ายมากยิ่งขึ้น
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การจัดอบรมตามหลักสูตรกลาง (ICS100) ที่จัดตั้งขึ้นมาเป็นการเฉพาะเพื่อฝึกอบรม
เจ้าหน้าที่ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข ควรมีการจัดการอบรมในรูปแบบออนไลน์
หรือช่องทางที่ให้เจ้าหน้าที่ในสานักงานสาธารณสุขจังหวัด สามารถเข้าถึงการอบรมได้ง่ายมากยิ่งขึ้น และทาให้
เจ้าหน้าที่เข้าใจในการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 22
10.2 แผน (BCP/IAP) ระบบการบริหารจัดการข้อมูล และกิจกรรม การฝึกซ้อมแผนเป็นการเฉพาะ
ให้กับเจ้าหน้าที่ตามคาสั่งศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC)
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุ กเฉิ น จัดอบรมการทาแผน (BCP/IAP) ระบบการบริหารจัดการข้อมูล และกิ จกรรม
การฝึกซ้อมแผน ให้หน่วยงานที่ต้องดาเนินการ
เมื่อเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น หน่ ว ยงานที่มีแผนบริห ารความต่อเนื่องภารกิจขององค์กร ที่ระบุถึงแนวทาง/
ทรัพยากร/บุคลากรที่ต้องทางานเพื่อให้บริการและระบบงานที่ สาคัญดาเนินการต่อไปได้ เมื่อเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน
/สภาวะวิกฤติ หรือเรียกคืนการดาเนินงาน ให้กลับสู่ภาวะปกติ เมื่อมีเหตุการณ์ที่ทาให้การปฏิบัติงานปกติต้อง
หยุดชะงักสร้างความเชื่อมั่น และลดผลกระทบ ความเสียหายต่อองค์กร
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน แผน BCP/IAP มีความจาเป็น ในส่วนของการฝึกซ้อมแผน เช่น การดาเนินงาน
โควิด-19 มีการปฏิบัติงานจริง ซึ่งในการทางาน จะเป็นลักษณะ On the job training เห็นควรให้มีทางเลื อก
ในการฝึกซ้อมหรือ On the job training และมีการติดตามและประเมินผล
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน แผน BCP/IAP มีความจาเป็น เมื่อเกิดสถานการณ์ฉุกเฉิน สามารถนาแผนดังกล่าว
มาใช้เป็นกริบการปฏิบัติงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว ถูกต้อง และทันต่อสถานการณ์
พื้นที่เขตสุขภาพที่ 3
หมวดที่ 1 บริบท
1.1 การกาหนดพันธกิจและขอบเขตการปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข (PHEOC /EOC)
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ควรมีการกาหนดพันธกิจและขอบเขตการปฏิบัติงาน รวมทั้งการออกคาสั่งแต่งตั้ง
มอบหมายให้แต่กลุ่มภารกิจปฏิบัติหน้าที่อย่างชัดเจน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การกาหนดพันธกิจและขอบเขตการปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์ แ ละสาธารณสุ ข ท าให้ แ ต่ ล ะกลุ่ ม ภารกิ จ สามารถปฏิ บั ติ ง านได้ ต ามบทบาทหน้ า ที่ ไ ด้ อ ย่ า งมี
ประสิทธิภาพ

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 23
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การกาหนดพันธกิจและขอบเขตอย่างให้ชัดเจนของแต่ละกล่องภารกิจ และควร
กาหนดเป็ น ค าสั่ ง หน่ ว ยงานให้ ชั ด เจน ทาให้ ผู้ เกี่ยวข้ อ งทุ กภาคส่ ว นรับ ทราบถึ ง ขอบเขตการด าเนิน งานของ
ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุขอย่างชัดเจน สามารถทาให้ผู้บัญชาการเหตุการสามารถ
ตัดสินใจ สั่งการ ได้สะดวกรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และไม่เกิดความซ้าซ้อน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การกาหนดพันธกิจและขอบเขตการปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์และสาธารณสุข ทาให้แต่ละกลุ่มภารกิจสามารถการทางานตามพันธกิจและขอบเขตการปฏิบัติงาน
ในภารกิจที่ได้รับมอบหมาย ซึ่งในระยะตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ควรมีการทบทวนประเมินผลของแต่ละกลุ่มภารกิจ
เพื่อปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับการจัดการภาวะฉุกเฉินในแต่ละพื้นที่
1.2 การจั ด ท าแผนรองรั บ ภาวะฉุ กเฉิน ระดั บ จั ง หวั ด ตามภัย และการประเมิ น ความเสี่ย งที่ มี การ
จัดลาดับความสาคัญ
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น ควรมีการเตรียมความพร้อมจัด ทาแผนรองรับภาวะฉุกเฉินระดับเขตสุ ขภาพ
และระดับจังหวัด โดยการจัดทามีการประเมินความเสี่ยงและจัดลาดับของโรคและภัยสุขภาพที่สาคัญ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีแผนรองรับภาวะฉุกเฉิน ทาให้ แต่กลุ่มภารกิจเข้าใจ บทบาทภารกิจตามแผน
สามารถนาแผนที่ทาไว้ไปปรับใช้ได้ทันเหตุการณ์และสถานการณ์จริง
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การจัดทาแผนรองรับภาวะฉุกเฉิน ควรมีการประเมินความเสี่ยงและจัดลาดับโรค
และภัยสุขภาพที่สาคัญของจังหวัด และอาเภอ เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมรองรับสถานการณ์ภาวะฉุกเฉิน
ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ทันท่วงที ทั้งนี้ ต้องบูรณาการจัดทาแผนร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน สามารถนาแผนที่จัดทาไว้นาไปปรับใช้ได้ทันทีเมื่อเกิดเหตุการณ์หรือสถานการณ์
ฉุกเฉินในพื้นที่ เพื่อดาเนินการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ทั้งนี้ ควรมีการทบทวนและปรับปรุงแผนให้สอดคล้ องกับ
สถานการณ์ฉุกเฉินในขณะนั้น
หมวดที่ 2 ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉิน
2.1 โครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
(PHEOC/EOC) และระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS) (คน เงิน ของ)
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ควรมีการกาหนดไว้ให้ชัดเจนเป็นรูปธรรม อย่างต่อเนื่อง ในเชิงนโยบาย ทั้งด้าน
บุคลากร ทรัพยากร เครื่องมือ และงบประมาณ

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 24
เมื่อเกิด ภาวะฉุ กเฉิน ศูน ย์ ป ฏิบั ติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (EOC) สามารถใช้
ปฏิบัติงานได้จริง ระบบการดาเนินงานต่างๆ สามารถจัดการได้อย่างรวดเร็ว ทันต่อสถานการณ์และเป็นรูปธรรม
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น การมี โ ครงสร้ างพื้ น ฐานเพื่ อ รองรับ การเปิด ศู นย์ ปฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ นทาง
การแพทย์และสาธารณสุข เป็นการเตรียมความพร้อมที่ดี เพราะใช้ข้อมูลจากพื้นที่เพื่อวางแผนและเตรียมความ
พร้อมตามสภาพปัญหาจริงสามารถนาแผนที่ทาไว้ไปปรับใช้ได้ทันทีเมื่อเกิดเหตุการณ์และสถานการณ์ ฉุ กเฉิน
ส่งผลต่อการดาเนินงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุขได้เหมาะสม ทั้งนี้ ควรมีการ
กาหนดไว้ อ ย่ า งชั ดเจนเป็ น รู ป ธรรม และต่อเนื่ อ งในเชิง นโยบาย ทั้งด้านอาคารสถานที่ บุคลากร เครื่ อ งมื อ
และงบประมาณ
เมื่ อ เกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น สามารถเปิ ด ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์ แ ละสาธารณสุ ข
(PHEOC/EOC) ได้ทุกสถานการณ์ ทัน ต่อสถานการณ์ มีการเตรียมความพร้อมทั้งด้านอาคาร สถานที่ ระบบ
สาธารณูปโภค ระบบการสื่อสาร และงบประมาณรองรับบุคลากรที่ทางานได้อย่างเพียงพอ เหมะสม ทาให้ระบบ
การดาเนินงานต่างๆ สามารถปฏิบัติการได้อย่างรวดเร็วเป็นรูปธรรม
2.2 การอบรมบุคลากรให้มีความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์
และสาธารณสุข (PHEOC /EOC) และระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS)
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ควรมีการอบรมบุคลากร ให้มีความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างของศูนย์ปฏิบัติการภาวะ
ฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อเตรียมความพร้อมรองรับสถานการณ์ฉุกเฉินทุกกรณี (กรณีย้ายงาน
เปลี่ยนงาน) และบุคลากรสามารถปฏิบัติงานได้ตามบทบาทหน้าที่ได้ชัดเจน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เจ้าหน้าที่และบุคลากรในศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
สามารถปฏิบัติงานได้อย่างรวดเร็ว และเป็นระบบตามโครงสร้างระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS)
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การเตรียมการด้านกาลังคน และได้รับการอบรมให้กับบุคลากรตามคาสั่งแต่งตั้ง
คณะกรรมการศู น ย์ ป ฏิบั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ นทางการแพทย์ และสาธารณสุ ข เพื่ อ เตรี ย มความพร้ อ มบุ คลากร
(กรณีย้ายงาน เปลี่ยนงาน เป็นต้น) อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจที่ชัดเจนให้ทุกคนรับทราบ
และตระหนักในหน้าที่ตามภารกิจที่ได้รับมอบหมาย สามารถปฏิบัติงานได้อย่างชัดเจน

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 25
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การอบรมบุคลากรให้มีความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์ แ ละสาธารณสุ ข (PHEOC /EOC) และระบบบั ญ ชาการเหตุ ก ารณ์ (ICS) ท าให้ บุ ค ลากรใน
ศูนย์ปฏิบัติการฯ จะสามารถปฏิบัติงานได้อย่างรวดเร็วและเป็น ไปตามระบบโครงสร้างระบบบัญชาการเหตุการณ์
การปฏิบัติงานมีความถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ ต้องมีคู่มือ หรือการเรียนรู้แบบ E-learning , On the job
training หรือมีทีมผู้เชี่ยวชาญเป็นที่ปรึกษา
หมวดที่ 3 กรอบโครงสร้างการทางาน
3.1 การมี ร ะบบหรื อ กลไกการประสานงานของศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์ แ ละ
สาธารณสุข (PHEOC/EOC) กับหน่วยงานภายใน และหน่วยงานภายนอก
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น ควรมี ท าเนี ย บช่ อ งทางในการติ ด ต่ อ ประสานงานกั บ หน่ ว ยงานภายใน
และหน่วยงานภายนอก และมีการซักซ้อมแผนเพื่อการเตรียมความพร้อมรองรับสถานการณ์ฉุกเฉิน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีระบบหรือกลไกการประสานงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการ
แพทย์และสาธารณสุข ทาให้ผู้ปฏิบัติงานและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องสามารถตอบโต้ภาวะฉุกเฉินตามแนวทาง ได้อย่าง
รวดเร็วทันต่อเหตุการณ์
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น ควรจั ด ระบบหรื อ ท าเนี ย บในการติ ด ต่ อ ประสานงานให้ ต รงตามภารกิ จ
จัดทาช่องทางการประสานงาน สื่อสารความเสี่ยงทั้งส่วนอานวยการ ส่วนสนับสนุน ส่วนปฏิบัติการ และซักซ้อม
เพื่อเตรียมความพร้อม ทาความเข้าใจในการประสานงานของแต่ละทีมปฏิบัติการ และทราบแนวทางการดาเนินงาน
ที่ชัดเจนเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินเพื่อจะทาให้การปฏิบัติงานของแต่ละทีมสอดคล้องกันและไม่มีปัญหาอุปสรรค
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีระบบหรือกลไกการประสานงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการ
แพทย์และสาธารณสุข สามารถประสานงานได้คล่องตัวระบบการสื่อสารไม่ติดขัด มีการประสานงาน สื่อสาร
ความเสี่ยง ทั้งส่วนอานวยการ ส่วนสนับสนุน ส่วนปฏิบัติการแต่ละทีมสามารถประสานการทางานร่วมกันได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ผู้ปฏิบัติงานและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องสามารถปฏิบัติงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินตามแนวทางได้อย่างรวดเร็ว
ทันต่อเหตุการณ์

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 26
หมวดที่ 4 ระบบข้อมูล
4.1 การเชื่ อ มโยงข้ อ มู ล การปฏิ บั ติ ง านระหว่ า งศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์ แ ละ
สาธารณสุข (PHEOC/EOC) กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ควรมีระบบเชื่อมโยงข้อมูลการปฏิบัติงานระหว่างศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์และสาธารณสุข กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะช่วยให้สามารถประสานการดาเนินงานตามบทบาท
หน้าที่ของแต่ละหน่วยงานได้ชัดเจนและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ผู้บัญชาการณ์เหตุการณ์ (IC) สามารถนาข้อมูลจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาบริหาร
จัดการ ดาเนินการวางแผน และออกข้อสั่งการนโยบาย มาตรการต่างๆ เพื่อให้แต่ละกลุ่มภารกิจสามารถปฏิบัติงาน
ได้อย่างเหมาะสม รวดเร็ว และทันต่อเหตุการณ์
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การเชื่อมโยงข้อมูลการปฏิบัติงานระหว่างศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการ
แพทย์และสาธารณสุข ควรวางแผนประสานงานด้านข้อมูลให้เป็นแบบ Data center เพื่อความถูกต้อง ครบถ้วน
และแม่นยาในการนาข้อมูลไปบริหารจัดการ รวมทั้งการบูรณาการข้อมูลร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะช่วยให้
สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การเชื่อมโยงข้อมูลการปฏิบัติงานระหว่างศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์
และสาธารณสุข ควรมีศูนย์ข้อมูลระดับจังหวัด เพื่อให้ผู้บัญชาการเหตุการณ์สามารถบริหารจัดข้อมูล ตัดสินใจ
และสั่งการเครือข่ายภาคีที่เกี่ยวข้องทราบข้อมูลร่วมกัน แบบ Real time เพื่อให้ทีมปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม
รวดเร็ว และทันต่อเหตุการณ์ ลดความซ้าซ้อนกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
หมวดที่ 5 Critical Information
5.1 ระบบการรายงาน ข้อมูลทรัพยากร ระบุตาแหน่งและสถานะของการปฏิบัติงานของทีมปฏิบัติการ
ทางการแพทย์และสาธารณสุข หรือทีมปฏิบัติการจากหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องผ่านอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่
จาเป็น
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ระบบการรายงาน ข้อมูลทรัพยากร ระบุตาแหน่งและสถานะของการปฏิบัติง าน
ของทีมปฏิบัติการทางการแพทย์และสาธารณสุข หรือทีมปฏิบัติการจากหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องผ่านอุปกรณ์
หรือเครื่องมือที่จาเป็น ควรมีการจัดทาไว้ เพื่อเตรียมความพร้อมด้านข้อมูลทรัพยากรให้เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 27
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ระบบการรายงาน ข้อมูลทรัพยากร ระบุตาแหน่งและสถานะของการปฏิบัติงาน
ของทีมปฏิบัติการทางการแพทย์และสาธารณสุข หรือทีมปฏิบัติการจากหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องผ่านอุปกรณ์หรือ
เครื่องมือที่จาเป็น สามารถช่วยให้ผู้บัญชาการณ์เหตุการณ์ (IC) สามารถสั่งการได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ระบบการรายงาน ข้อมูลทรัพยากร ระบุตาแหน่งและสถานะของการปฏิบัติงาน
ของทีมปฏิบัติการทางการแพทย์และสาธารณสุข ควรมีการจัดทาเพื่อเตรียมความพร้อมด้านทรัพยากร ให้เพียงพอ
และความพร้ อ มต่ อ การอี ก ทั้ ง มี ก ารติ ด ต่ อ สื่ อ สารและใช้ ข้ อ มู ล ที่ ถู ก ต้อ งอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิภ าพ มี ค วามจ าเป็น
แต่ควรพิจารณาความเหมาะสมตามขนาดของปัญหาและเหตุการณ์
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ระบบรายงาน ข้อมูลด้านทรัพยากรแบบ Real time เพื่อให้ผู้บัญชาการเหตุการณ์
สั่ ง การได้ ส ะดวก รวดเร็ ว มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ มี ค วามพร้ อ มในการติ ด ต่ อ สื่ อ สารและใช้ ข้ อ มู ล ที่ ถู ก ต้ อ งอย่ า งมี
ประสิทธิภาพ และใช้ข้อมูลให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการปฏิบัติหน้าที่ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามภารกิจ
หมวดที่ 6 Incident management and response
6.1 การมีแนวทางปฏิบัติของแต่ละกลุ่มภารกิจอยู่ในศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข (PHEOC) ตามระบบบัญชาการเหตุการณ์
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น การมีแนวทางปฏิบัติของแต่ล ะกลุ่ มภารกิจอยู่ในศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์และสาธารณสุ ข (PHEOC) ตามระบบบัญชาการเหตุการณ์ ควรมีการกาหนดแนวทางปฏิบัติไว้
เพื่อให้แต่ละกลุ่มภารกิจรับทราบถึงบทบาทหน้าที่ภารกิจของตนเอง
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีแนวทางปฏิบัติของแต่ละกลุ่มภารกิจอยู่ในศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการ
แพทย์และสาธารณสุข (PHEOC) ตามระบบบัญชาการเหตุการณ์ ทาให้แต่ละกลุ่มภารกิจ สามารถปฏิบัติงานตาม
บทบาทหน้าทีไ่ ด้อย่างรวดเร็ว ชัดเจน และทันต่อเหตุการณ์
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น ทุ ก กลุ่ ม ภารกิ จ ต้ อ งมี แ นวทางปฏิ บั ติ ที่ มี ก ารปรั บ ปรุ ง ให้ ทั น ต่ อ เหตุ ก ารณ์
เพื่อให้บุคลากรแต่ละกลุ่มภารกิจ รับทราบบทบาทหน้าที่ สามารถนาแนวทางปฏิบัติไปใช้ได้อย่างถูกต้องและเป็น
แนวทางเดียวกัน
เมื่อเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น การมีแนวทางปฏิบัติของแต่ล ะกลุ่มภารกิจอยู่ในศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์และสาธารณสุข ทาให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องสามารถปฏิบัติงานตามแนวทางได้ถูกต้อง และเป็นไปใน
แนวทางเดียวกัน สามารถปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ได้อย่างรวดเร็ว ชัดเจน และทันต่อเหตุการณ์

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 28
6.2 การแต่งตั้งหรือกาหนดตัวเจ้าหน้าที่ที่จะปฏิบัติงานตามโครงสร้างการบัญชาการเหตุการณ์ภายใต้
การดาเนินงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC./EOC) และสามารถ
นาไปใช้เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข และมีประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานอย่างไร
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ควรมีการกาหนดตัวเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานตามโครงสร้างระบบบัญชาการเหตุการณ์
เพื่อให้เกิดความชัดเจน และผู้ปฏิบัติงานรับรู้บทบาทหน้าที่รับผิดชอบตามกลุ่มภารกิจ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การแต่งตั้งหรือกาหนดตัวเจ้าหน้าที่ที่จะปฏิบัติงานตามโครงสร้างการบัญชาการ
เหตุ ก ารณ์ ภ ายใต้ ก ารด าเนิ น งานของศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์ แ ละสาธารณสุ ข
โดยเฉพาะการนาของผู้บัญชาการณ์เหตุการณ์ (IC) ทาให้สามารถบริหารจัดการ มอบหมายภารกิจ และกากับ
ติดตามการปฏิบัติงานได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น การก าหนดบทบาทหน้ า ที่ โ ดยการแต่ ง ตั้ ง ค าสั่ ง และมอบหมายที่ ชั ด เจน
เป็นการกาหนดตัวเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานสามารถนาไปใช้เมื่อเกิดเหตุการณ์ได้จริงและจะทาให้ผู้ปฏิบัติงานรับรู้
บทบาทหน้าที่ที่ชัดเจน ทาให้การปฏิบัติงานและประสานงานเป็นได้อย่างเป็นระบบ รวดเร็ว ลดความซ้าซ้อน
ของการปฏิบัติงาน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การกาหนดตัวเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานจะทาให้ผู้ปฏิบัติงานรับรู้บทบาทหน้าที่ที่ชัดเจน
ทาให้การปฏิบัติงานเป็นได้อย่างเป็นระบบ รวดเร็ว รวมทั้งมีการปรับเปลี่ยนตัวเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานได้ตามความ
เหมาะสมและสถานการณ์ ข องเหตุ ก ารณ์ ซึ่ ง ท าให้ ก ารปฏิ บั ติ ง านมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากยิ่ ง ขึ้ น มี ค วามชั ด เจน
และคล่องตัวในการปฏิบัติงานและการประสานงาน อีกทั้ง ช่วยให้ผู้บัญชาการเหตุการณ์สามารถบริหารจัดการ
สั่งการ มอบหมายภารกิจ กากับติดตามได้สะดวกรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
หมวดที่ 7 การสื่อสารความเสี่ยง (Risk Communications) และการเตือนภัย
7.1 การมีแผน/แนวทางการสื่อสารความเสี่ยงตามโรคและภัยสุขภาพที่วิเคราะห์หรือประเมินความ
เสี่ยงได้หรือตามเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉิน และมีประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานอย่างไร
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีแผนหรือแนวทางการสื่อสารความเสี่ยงตามโรคและภัยสุขภาพที่วิเคราะห์
มี ป ระโยชน์ ใ นการเตรี ย มความพร้ อ มเมื่ อ เกิ ด เหตุ ก ารณ์ จ ริ ง สามารถน าแผนหรื อ แนวทางไปปรั บ ใช้ ไ ด้ ต าม
สถานการณ์
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีแผนหรือแนวทางการสื่อสารความเสี่ยงตามโรคและภัยสุขภาพที่วิเคราะห์หรือ
ประเมินความเสี่ยงได้หรือตามเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉินสามารถนาแนวทางที่จัดทาไว้ไปปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง
รวดเร็ว และทันต่อเหตุการณ์

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 29
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีแผนหรือแนวทางการสื่อสารความเสี่ยงตามโรคและภัยสุขภาพที่วิเคราะห์
หรื อ ประเมิ น ความเสี่ ย งได้ ห รื อ ตามเหตุ ก ารณ์ ภ าวะฉุ ก เฉิ น เน้ น การเฝ้ า ระวั ง แจ้ ง เตื อ น การป้ อ งกั น และ
การเตรียมความพร้อมก่อนเกิดโรคและภัยสุขภาพ เพื่อจะสามารถใช้แผน/แนวทางการสื่อสารความเสี่ยงในการ
เตรียมความพร้อมเมื่อเกิดเหตุการณ์สามารถนาแผนหรือแนวทางไปปรับใช้ได้ตามสถานการณ์
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน แผนสื่อสารความเสี่ยง ควรเน้นการประเมินระดับความรุนแรงของโรคและภัย
สุขภาพ ความรวดเร็ว แม่นยา ข้อปฏิบัติตนที่กระชับชัดเจน ในการแจ้งระดับโรคและภัย การเผชิญเหตุ การเข้าถึง
บริ ก ารทางการแพทย์ และการเยี ย วยา และต้ อ งจั ด ท าอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ เตรี ย มพร้ อ มรั บ มื อ และสามารถ
นาแนวทางที่จัดทาไว้ไปปฏิบัติงานได้อย่างรวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์
หมวดที่ 8 การสื่อสารภายใน (หมายถึง การสื่อสารภายในระบบ ICS)
8.1 แนวทางการดาเนินงานสาหรับการสื่อสารในองค์กร
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีแนวทางสื่อสารภายในหน่วยงานที่ชัดเจนทั้งแบบเป็นทางการและไม่เป็น
ทางการขึ้นอยู่กับเหตุการณ์ จะช่วยให้ทีมผู้ปฏิบัติงานสามารถดาเนินงานได้เป็นระบบ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีแนวทางสื่อสารภายในหน่วยงานที่ชัดเจนทีมผู้ปฏิบัติงานสามารถดาเนินงาน
ได้ เ ป็ น ระบบ รวดเร็ ว ทั น ต่ อ สถานการณ์ แ ละเข้ า ใจตรงกั น ส่ ง ผลให้ ทุ ก กลุ่ ม ภารกิ จ ปฏิ บั ติ ง านได้ อ ย่ า งมี
ประสิทธิภาพและไม่ซ้าซ้อนกัน
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ควรให้ความสาคัญกับการสื่อสารภายในหน่วยงานทีช่ ัดเจนทั้งแบบเป็นทางการและ
ไม่เป็นทางการขึ้นอยู่เหตุการณ์เป็นลาดับแรก เพื่อการเตรียมความพร้อมตามบทบาทหน้าที่ มีแนวทาง ระยะเวลา
และช่องทางการสื่อสารตามความเหมาะสมขององค์กร เพื่อให้ทางการดาเนินงานในการสื่อสารภายในและมีการ
ทางานอย่างเป็นระบบ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การดาเนินงานสาหรับการสื่อสารในองค์กรดาเนินการสื่อสารตามระบบบั ญชาการ
เหตุการณ์ สื่อสารตามข้อสั่งการของผู้บัญชาการเหตุการณ์ ซึ่งต้องมีความชัดเจน และเข้าใจตรงกัน ทาให้การ
ปฏิบัติงานคล่องตัวและไม่มีปัญหาอุปสรรคสามารถดาเนินงานได้เป็นระบบ รวดเร็ว และเข้าใจตรงกัน
หมวดที่ 9 Coordination and logistical support of field operations
9.1 การสนับสนุนทีมปฏิบัติการพร้อม อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็นสาหรับลงพื้นที่ภาคสนาม

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 30
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น การสนั บ สนุนทีมปฏิบัติการพร้อม อุปกรณ์ เครื่องมือที่จาเป็นสาหรับลงพื้นที่
ภาคสนามเป็นการเตรียมความพร้อมก่อนเกิดเหตุการณ์ จะช่วยให้ทีมปฏิบัติการสามารถปฏิบัติงานได้รวดเร็วขึ้น
เมื่อเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น การสนั บ สนุนทีมปฏิบัติการพร้อม อุปกรณ์ เครื่องมือที่จาเป็นส าหรับลงพื้นที่
ภาคสนาม ส่งผลให้ทีมปฏิบัติการในภาวะฉุกเฉิน สามารถปฏิบัติงานได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิด ภาวะฉุ กเฉิน การสนับสนุนทีมปฏิบัติการพร้อม อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็นสาหรับลงพื้ นที่
ภาคสนาม ควรมีแผนการสารอง สารวจ จัดทาทะเบียน และช่องทางการประสานงาน เพื่อเตรียมความพร้อม
อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็นไว้ล่วงหน้า เพื่อให้ทีมปฏิบัติการลงพื้นที่ภาคสนามได้อย่างมั่นใจและปฏิบัติงานได้อย่าง
มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ อี ก ทั้ ง การรายงานข้ อ มู ล ทรั พ ยากรในระบบ Co-Ward เป็ น การเตรี ย มความพร้ อ มก่ อ นเกิด
เหตุการณ์ จะช่วยให้ทีมปฏิบัติงานสามารถปฏิบัติงานได้รวดเร็วขึ้น
เมื่ อ เกิ ด ภาวะฉุ กเฉิ น การสนั บ สนุนทีม ปฏิบั ติ การพร้ อม อุปกรณ์ เครื่ องมื อ ที่จาเป็ นส าหรั บลงพื้ น ที่
ภาคสนาม มีระบบ stock ทรัพยากรวัสดุ/เครื่องมือ ของหน่วยงาน และประสานแผนร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ในการ โดยรายงานแบบ Real time ทาให้ ทุกกล่ องภารกิ จสามารถใช้ ทรั พ ยากรได้ อ ย่า งทัน ต่ อสถานการณ์
สามารถปฏิบัติงานได้สะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพมากขึ้น
9.2 การสนับสนุน จัดเก็บ จัดส่งยาเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาในคลังเวชภัณฑ์ อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็น
ให้กับทีมปฏิบัติการ
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การสนับสนุน จัดเก็บ จัดส่งยาเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาในคลังเวชภัณฑ์ อุปกรณ์เครื่องมือ
ที่จาเป็นให้กับทีมปฏิบัติการ ควรมีการวางแผน และเตรียมความพร้อมในการสนับสนุนด้านนี้ให้กับทีมปฏิบัติการ
ในพื้นที่
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การดาเนินงานจัดการภาวะฉุกเฉินต้องมี การสนับสนุน จัดเก็บ จัดส่งยาเวชภัณฑ์
ทีม่ ิใช่ยาในคลังเวชภัณฑ์ อุปกรณ์เครื่องมือที่จาเป็นให้กับทีมปฏิบัติการในพื้นที่อย่างเหมาะสมและเพียงพอ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น ควรมีแผนการส ารอง ส ารวจ จัดทาทะเบีย น และช่องทางการประสานงาน
เพื่อเตรียมความพร้อมยาเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาในคลังเวชภัณฑ์ อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็นไว้ล่วงหน้าด้านการจัดเก็บ
จะจัดเก็บเวชภัณฑ์ไว้ที่คลังพัสดุของกลุ่มงานคุ้ มครองผู้บริโภค ด้านการจัดส่งโรงพยาบาลเป็นฝ่ายมารับเวชภัณฑ์
ที่จัดสรรให้ตามเวลาที่กาหนด

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 31
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน มีการสนับสนุน จัดเก็บ จัดส่งยาเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาในคลังเวชภัณฑ์อุปกรณ์ เครื่องมือ
ที่จาเป็นให้กับทีมปฏิบัติการในพื้นที่ อย่างเหมาะสมและเพียงพอ มีระบบ stock ยาเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาในคลั ง
เวชภัณฑ์ อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็นของหน่วยงาน และประสานแผนร่วมกับหน่ วยงานที่เกี่ยวข้องในการ ทั้งนี้
มีระบบการรายงานแบบ Real time เพื่อให้ผู้บริหารสามารถบริหารจัดการทรัพยากรได้อย่างเหมาะสม
หมวดที่ 10 Training, Exercise and Evaluation
10.1 การจัดอบรมตามหลักสูตรกลาง (ICS100) ที่จัดตั้งขึ้นมาเป็นการเฉพาะเพื่อฝึกอบรมเจ้าหน้าที่
ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC) และเจ้าหน้าที่ตามโครงสร้าง ICS
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น การจั ด อบรมตามหลั ก สู ต รกลาง (ICS100) ที่ จั ด ตั้ ง ขึ้ น มาเป็ น การเฉพาะ
เพื่อฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข มีความจาเป็นในการจัดอบรม
ตามหลั ก สู ต รกลาง (ICS100) เพื่ อ ให้ เ จ้ า หน้ า ที่ ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์ แ ละสาธารณสุ ข
และเจ้าหน้าที่ตามโครงสร้างระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS) ปฏิบัติงานเป็นแนวทางเดียวกัน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การจัดอบรมตามหลักสูตรกลาง (ICS100) ที่จัดตั้งขึ้นมาเป็นการเฉพาะเพื่อฝึกอบรม
เจ้าหน้าที่ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อให้เจ้าหน้าที่ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์ แ ละสาธารณสุ ข และเจ้ า หน้ า ที่ ต ามโครงสร้ า งระบบบั ญ ชาการเหตุ ก ารณ์ (ICS) ปฏิ บั ติ ง าน
เป็นแนวทางเดียวกัน
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น การจั ด อบรมตามหลั ก สู ต รกลาง (ICS100) ที่ จั ด ตั้ ง ขึ้ น มาเป็ น การเฉพาะ
เพื่อฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข ควรจัดให้มีการอบรมเพิ่มเติม
อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เป็นการพัฒนาศักยภาพผู้ปฏิบัติงานที่มีการผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนตลอดเวลา เพื่อให้การ
ปฏิบัติงานเป็นแนวทาง ซึ่งส่วนกลางควรมีระบบตรวจสอบผู้ที่เข้ารับการอบรมให้สามารถตรวจสอบรายชื่อ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การระดมทรัพยากรบุคคล เพื่อเผชิญเหตุสถานการณ์ฉุกเฉินในบางกรณี อาจต้องใช้
บุคลากรของหน่วยงาน ซึ่งทีมปฏิบัติการของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินฯ อาจจะต้องมีบุคลากรจากกลุ่มงาน
ที่ไม่เกี่ยวข้องกับภารกิจ หรือนอกหน่วยงาน ต้องอาศัยระบบการเรียนรู้ที่รวดเร็ว เจ้าหน้าที่ศูนย์ปฏิบัติการภาวะ
ฉุกเฉินฯ และเจ้าหน้าที่ตามโครงสร้างที่ผ่านการอบรมมีการปฏิบัติงานที่ถูกต้องและเป็นไปในแนวทางเดียวกัน

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 32
10.2 แผน (BCP/IAP) ระบบการบริหารจัดการข้อมูล และกิจกรรม การฝึกซ้อมแผนเป็นการเฉพาะ
ให้กับเจ้าหน้าที่ตามคาสั่งศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC)
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน แผน (BCP/IAP) ระบบการบริหารจัดการข้อมูล และกิจกรรม การฝึกซ้อมแผนเป็น
การเฉพาะให้กับเจ้าหน้าที่ตามคาสั่งศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข มีความจาเป็น
ทั้ง 2 แผน เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในด้านต่างๆ ของทุกกลุ่มภารกิจ และควรเป็นแผนที่สามารถปรับใช้ได้
จริงตามสถานการณ์ฉุกเฉิน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน แผน (BCP/IAP) ระบบการบริหารจัดการข้อมูล และกิจกรรม การฝึกซ้อมแผนเป็น
การเฉพาะให้กับเจ้าหน้าที่ตามคาสั่งศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข มีความจาเป็น
ทั้ง 2 แผน ซึ่งสามารถนามาปรับใช้ได้ตามสถานการณ์ โดยขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของเหตุการณ์และจานวน
ผู้ปฏิบัติงานจริงในพื้นที่
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ควรจัดให้มีการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทาแผนร่วมกับหน่วยงานทั้งภายใน
และภายนอกกระทรวงสาธารณสุ ขอย่ างน้ อยปีล ะ 1 ครั้ง เพื่อเตรียมความพร้อม และจาลองเหตุการณ์ จ ริ ง
กรณีเกิดเหตุการณ์ ต้องมีการฝึกซ้อมแผนเป็นการเฉพาะให้กับเจ้าหน้าที่ตามคาสั่งศูนย์ปฏิบัติการฯ เพื่อให้การ
ปฏิบัติงานเป็นแนวทางเดียวกัน และเตรียมความพร้อมในแต่ละด้านของทุกกลุ่มภารกิจ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน แผน (BCP/IAP) ระบบการบริหารจัดการข้อมูล และกิจกรรม การฝึกซ้อมแผนเป็น
การเฉพาะให้กับเจ้าหน้าที่ตามคาสั่งศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข สามารถนามา
ปรั บ ใช้ ไ ด้ ต ามสถานการณ์ โดยขึ้ น อยู่ กั บ ความเหมาะสมของเหตุก ารณ์ และจานวนผู้ ปฏิบั ติ งานจริง ในพื้นที่
หรืออาจเป็นรูปแบบ On the job training จากระบบสั่งการของผู้บัญชาการเหตุการณ์ในการมอบหมายภารกิจ
ให้มีการปฏิบัติงานที่ถูกต้องและเป็นไปในแนวทางเดียวกัน

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 33
พื้นที่เขตสุขภาพที่ 4
หมวดที่ 1 บริบท
1.1 การกาหนดพันธกิจและขอบเขตการปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข (PHEOC /EOC)
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน เพื่อให้หน่วยงานและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องรับรู้บทบาทและขอบเขตการปฏิบัติงาน
น าภารกิจ หรื อหน้ าที่ความรั บ ผิ ดชอบได้รั บมอบหมายมาเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานให้ มี ความครอบคลุ ม
สามารถเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์ฉุกเฉินอยู่เสมอ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เพื่อให้การปฏิบัติงานมีความชัดเจน เกิดความคล่องตัวในการปฏิบัติงาน โดยพันธกิจ
และขอบเขตของการปฏิบัติงานจะเผยแพร่ไปสู่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอก เพื่อให้สามารถเกิด
การขับเคลื่อนการดาเนินงานมีประสิทธิภาพ เป็นไปในทิศทางและเป้าหมายเดียวกัน
1.2 การจั ด ท าแผนรองรั บ ภาวะฉุ กเฉิน ระดั บ จั ง หวั ด ตามภัย และการประเมิ น ความเสี่ย งที่ มี การ
จัดลาดับความสาคัญ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น เพื่อให้ ห น่ ว ยงานจัดทาแผนรองรับภาวะฉุ กเฉิน และการประเมินความเสี่ ย ง
ของหน่วยงานเพื่อจัดลาดับความสาคัญ ของโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ ซึ่งเป็นการเตรียมความพร้อมรองรับภาวะ
ฉุกเฉินของระดับจังหวัด โดยการจัดทาแผนรองรับ ภาวะฉุกเฉินดาเนินการจัดทาตามความเสี่ยงของพื้นที่ที่ ได้
ประเมิน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดาเนินงาน เตรียมพร้อม ตอบโต้ และฟื้นฟูเมื่อเกิดสถานการณ์ภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์และสาธารณสุข
เมื่ อ เกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น เพื่ อ ให้ ห น่ ว ยงานด าเนิ น การตอบโต้ ส ถานการณ์ ฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์
และสาธารณสุ ข ตามแผนรองรั บ ภาวะฉุ ก เฉิ น และความเสี่ ย งของหน่ว ยงานตามจัด ล าดั บ ความส าคั ญ กรณี
ที่เหตุการณ์มีความเปลี่ยนแปลงจากแผนที่เตรียมไว้อย่างมาก พิจารณาปรับปรุงแผนเป็นระยะตามความเหมาะสม
ของสถานการณ์ และประชาสัมพันธ์ให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องรับรู้และปฏิบัติตามแผนฉบับปัจจุบันโดยทั่วกัน
หมวดที่ 2 ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉิน
2.1 โครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
(PHEOC/EOC) และระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS) (คน เงิน ของ)

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 34
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน มีความสาคัญต่อระบบบัญชาการเหตุการณ์ เพื่อลดความสับสนของเจ้าหน้าที่
ผู้ ป ฏิบั ติงาน จากการสั่ งการที่ขัดแย้งกัน ของแต่ล ะกลุ่มภารกิจ โครงสร้าง ICS ใช้ระบบ Single Commander
โดยแต่ละกลุ่มภารกิจ มีบทบาทหน้าที่ในการให้ข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริง วิเคราะห์ และพยากรณ์สถานการณ์ที่อาจ
เกิดขึ้นในอนาคต เพื่อเป็น ข้อมูลประกอบการตัดสินใจให้ผู้บัญชาการเหตุการณ์ สามารถประกาศหรือสั่ ง การ
ได้อย่างทันต่อสถานการณ์และเตรียมรับมือเพื่อลดความรุนแรงของเหตุการณ์ในอนาคต
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน มีความสาคัญอย่างยิ่งต่อระบบัญชาการเหตุการณ์ เพราะสามารถลดความสับสน
ของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน จากการสั่งการที่ขัดแย้งกันของแต่ละกลุ่มภารกิจ ระบบ Single Commander สั่งการ
โดยผู้บัญชาการเหตุการณ์เท่านั้น โดยแต่ละกลุ่ มภารกิจ มีหน้าที่ในการให้ข้อมูล ที่เป็น ข้อเท็จจริง วิเคราะห์
และพยากรณ์สถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้นเป็นข้อมูลให้ผู้บัญชาการเหตุการณ์ตัดสิ นใจประกาศหรือสั่งการเพื่อตอบโต้
ภาวะฉุกเฉิน ทั้งการเตรียมบุคลากร ทรัพยากรยา เวชภัณฑ์ และเครื่องมือแพทย์ได้อย่างถูกต้อง เพียงพอและ
เหมาะสมกับสถานการณ์
2.2 การอบรมบุคลากรให้มีความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์
และสาธารณสุข (PHEOC /EOC) และระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS)
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่ อนเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น มีความส าคัญเป็นสิ่ งส าคัญ อย่า งยิ่ง เพื่อการเตรียมความพร้ อ มของบุค ลากร
หากบุ คลากรทุ ก กลุ่ มภารกิจ สามารถเข้ า ใจบทบาทหน้า ที่ และการปฏิบั ติง านตามโครงสร้า ง ICS (Incident
Command Systems) ในรูปแบบเดียวกัน ที่เป็น มาตรฐานสากล จะส่งผลให้การปฏิบัติงาน การประสานงาน
เป็นไปด้วยดียิ่งขึ้น โดยควรให้บุคลากรในทุกภาคส่วน และในแต่ละกลุ่มภารกิจเข้ามาอบรมการปฏิบัติงานภายใต้
ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข ระบบบัญชาการเหตุการณ์
เมื่อเกิดภาวะฉุ กเฉิ น มีความสาคัญเป็นสิ่งสาคัญอย่างยิ่งเพราะเมื่อเกิด สถานการณ์ฉุกเฉิน บุคลากร
ทุ ก กลุ่ ม ภารกิ จ สามารถเข้ า ใจบทบาทหน้ า ที่ แ ละการปฏิ บั ติ ง านตามโครงสร้ า ง ICS (Incident Command
Systems) สามารถปฏิบัติตามข้อสั่งการภายในขอบเขตการปฏิบัติงานของภารกิจตนเองอย่างเคร่งครัด ส่งผลให้
สามรรถตอบโต้สถานการณ์ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุขได้อย่างมีประสิทธิภาพ
หมวดที่ 3 กรอบโครงสร้างการทางาน
3.1 การมี ร ะบบหรื อ กลไกการประสานงานของศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์ แ ละ
สาธารณสุข (PHEOC/EOC) กับหน่วยงานภายใน และหน่วยงานภายนอก

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 35
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น มี ค วามส าคั ญ อย่ า งมากต่ อ การประสานงาน ขอความร่ ว มมื อ หรื อ สั่ ง การ
ในภาพรวมจังหวัด เป็นการเตรียมความพร้อมในการสร้างเครือข่ายในการประสาน เพื่อให้การปฏิบัติ ให้เป็นไป
ด้วยความสะดวก รวดเร็ว และทันทวงที
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน สามารถมีเครือข่ายการประสานงานสนับสนุนการปฏิบัติการในสถานการณ์ฉุกเฉิน
และเมื่อเกิดสถานการณ์จะช่วยให้เกิดการประสานงานได้อย่างรวดเร็ว ทันต่อสถานการณ์มากยิ่งขึ้น
หมวดที่ 4 ระบบข้อมูล
4.1 การเชื่ อ มโยงข้ อ มู ล การปฏิ บั ติ ง านระหว่ า งศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์ แ ละ
สาธารณสุข (PHEOC/EOC) กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น เตรี ย มพร้ อ มและวางแผนการเชื่อ มโยงข้ อ มู ล เพื่ อ ลดขั้ น ตอนการท างานได้
และช่วยให้ได้รับ กาสนับสนุน จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ทุกหน่วยงานเห็นภาพรวมของสถานการณ์ ของ
ทรัพยากรนาไปสู่การบริหารจัดการให้เกิดประโยชน์สูงสุด
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เตรียมพร้อมและวางแผนการเชื่อมโยงข้ อมูลเพื่อลดขั้นตอนการทางานได้ และช่วย
ให้ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง และลดขั้นตอนการส่งต่อข้อมูลและสามารถมีข้อมูลที่ครบถ้วน
ถูกต้องเพื่อใช้ในการบริหารสถานการณ์ได้อย่างทันท่วงที
หมวดที่ 5 Critical Information
5.1 การมี ร ะบบการรายงาน ข้ อ มู ล ทรั พ ยากร ระบุ ต าแหน่ ง และสถานะของการปฏิบั ติ ง านของ
ทีมปฏิบัติการทางการแพทย์และสาธารณสุข หรือทีมปฏิบัติการจากหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องผ่านอุปกรณ์หรือ
เครื่องมือที่จาเป็น
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ระบบรายงาน หรือข้อมูลทรัพยากร ยังไม่ได้ถูกนามาใช้จริง แต่เป็นการสร้างระบบ
เพื่ อ รองรั บ การเกิ ด สถานการณ์ จ ริ ง จากการคาดการณ์ แ ละการประเมิ น สถานการณ์ จ ากผู้ เ ชี่ ย วชาญ
จึงควรตรวจสอบเครื่องมือให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน Update อุปกรณ์ให้มีความทันสมัย ตามความก้าวหน้า
ของนวัตกรรม และสถานการณ์ในปัจจุบัน

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 36
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ระบบรายงานข้อมูลทรัพยากรถูกนามาใช้ในการปฏิบัติสถานการณ์จริงเพื่อประเมิน
สถานการณ์ในอนาคต และการดาเนินงาน รวมทั้งการแก้ปัญหาในสถานการณ์ปัจจุบัน เช่น ระบบ CO-Ward
ที่ มี ก ารรายงานผลจ านวนผู้ ป่ ว ย และทรั พ ยากร เวชภั ณ ฑ์ จ าเป็ นในแต่ล ะรายการที่ เป็ น ปัจ จุบั น ตลอดเวลา
เพื่ อ ประกอบการน าไปสู่ ก ารตั ด สิ น ใจของผู้ บ ริ ห ารและบริ ห ารจั ด การในสถานการณ์ ฉุ ก เฉิ นได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อง
และมีประสิทธิภาพ
หมวดที่ 6 Incident management and response
6.1 การมีแนวทางปฏิบัติของแต่ละกลุ่มภารกิจอยู่ในศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข (PHEOC) ตามระบบบัญชาการเหตุการณ์
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน เพื่อให้แต่ละกลุ่มภารกิจได้ทราบถึงแนวทางปฏิบัติ ที่ชัดเจน รวมถึงบทบาทหน้าที่
ของกลุ่มภารกิจที่ตนเองรับผิดชอบ เพื่อพร้อมปฏิบัติงานตอบโต้สถานการณ์เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดาเนินงาน ตามลักษณะเฉพาะของแต่ละกลุ่มภารกิจ
สอดคล้ อ งกั บ ข้ อ สั่ ง การและการมอบหมายภารกิ จ มี ก ารปฏิ บั ติ ง านเป็ น ระบบตามแนวปฏิบั ติที่ มี ม าตรฐาน
ของแต่ละกลุ่มภารกิจ สามารถปฏิบัติงานภายใต้ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ได้อย่างรวดเร็ว และทันท่วงที
6.2 การแต่งตั้งหรือกาหนดตัวเจ้าหน้าที่ที่จะปฏิบัติงานตามโครงสร้างการบัญชาการเหตุการณ์ภายใต้
การดาเนินงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC./EOC) และสามารถ
นาไปใช้เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข และมีประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานอย่างไร
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การแต่งตั้งหรือกาหนดตัวเจ้าหน้าที่ที่จะปฏิบัติงานตามโครงสร้างการบัญชาการ
เหตุการณ์ภายใต้การดาเนินงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC./EOC)
เป็นการคัดเลือกและพิจารณาจากผู้มีคุณสมบัติ ความสามารถเหมาะสมกับบทบาทหน้าที่ โดยมุ่งหวังผู้ที่ได้รับการ
แต่งตั้งดังกล่าว จะสามารถปฏิบัติงานได้โดยเกิดประโยชน์สูงสุด
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การแต่งตั้งหรือกาหนดตัวเจ้าหน้าที่ที่จะปฏิบัติงานตามโครงสร้างการบัญชาการ
เหตุการณ์ภายใต้การดาเนินงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC./EOC)
ควรคัดเลือกเฉพาะผู้ มีคุณสมบั ติและสามารถปฏิบัติงานได้โดยเกิดประโยชน์สูงสุด ควบคู่กับการฝึกฝนทักษะ
ให้ผู้ปฏิบัติงานสารองสามารถทดแทนผู้ปฏิบัติงานหลักได้จึงพิจารณาแต่งตั้งเพิ่มเติม เมื่อมีความพร้อม เนื่องจาก
หากคาสั่งมีจานวนผู้ไม่เกี่ยวข้อง หรือเกี่ยวข้องน้อยจะทาให้เกิดการเปรียบเทียบเกี่ยงภาระงานหรือเกิดความสับสน
ต่อการมอบหมายภารกิจ

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 37
หมวดที่ 7 การสื่อสารความเสี่ยง (Risk Communications) และการเตือนภัย
7.1 การมีแผน/แนวทางการสื่อสารความเสี่ยงตามโรคและภัยสุขภาพที่วิเคราะห์หรือประเมินความ
เสี่ยงได้หรือตามเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉิน และมีประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานอย่างไร
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน แนวทางการสื่อสารความเสี่ยงตามโรคและภัยสุขภาพที่วิเคราะห์หรือประเมินความ
เสี่ยงได้หรือตามเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉินมี ประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานในด้านการประชาสัมพันธ์ ประกาศเตือน
ให้ประชาชนรับรู้สถานการณ์และรับรู้แนวทางปฏิบัติ มาตรการของสานักงานสาธารณสุขจังหวัด โดยต้องวางแผน
แนวทางการสื่อสารความเสี่ยงของโรคและภัยสุขภาพที่ชัดเจน ตรงประเด็นและเข้าใจง่ายต่อประชาชน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน แนวทางการสื่อสารความเสี่ยงตามโรคและภัยสุขภาพที่วิเคราะห์หรือประเมินความ
เสี่ ย งได้ห รื อตามเหตุการณ์ภ าวะฉุ กเฉิ น มี ประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานอย่างมาก เนื่องจากมีส่ ว นช่ว ยในการ
ประชาสั มพัน ธ์ ประกาศเตือนให้ ประชาชนรับรู้สถานการณ์และรับรู้แนวทางปฏิบัติ มาตรการของส านักงาน
สาธารณสุ ข จั ง หวั ด โดยรู ป แบบการน าเสนอต้ อ งมี ค วามทั น สมั ย สามารถเข้ า ถึ ง ผู้ รั บ สารโดยตรง รวดเร็ ว
และน่าสนใจ ซึ่งในปัจจุบันยังควรมีการพัฒนาเพิ่มเติม
หมวดที่ 8 การสื่อสารภายใน (หมายถึง การสื่อสารภายในระบบ ICS)
8.1 แนวทางการดาเนินงานสาหรับการสื่อสารในองค์กร
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การดาเนินงานสาหรับการสื่อสารในองค์กร ควรมีทั้งรูปแบบเป็นทางการและไม่เป็น
ทางการ เพื่อกระตุ้นให้เกิดการแสดงความคิดเห็น หรือการเสนอแนวคิดที่มาจากทุกคนในหน่วยงาน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การดาเนินงานสาหรับการสื่อสารในองค์กร ควรมีทั้งรูปแบบทางการและไม่เป็น
ทางการ เพื่อกระตุ้นให้เกิดการแสดงความคิดเห็น หรือการเสนอแนวคิดที่มาจากทุกคนในหน่วยงาน เพื่อเป็นการ
วางแผนการดาเนินงาน กาหนดแนวทางการดาเนินงาน เมื่อเกิดสถานการณ์จริงสามารถปฏิบัติงานได้ทันที
หมวดที่ 9 Coordination and logistical support of field operations
9.1 การสนับสนุนทีมปฏิบัติการพร้อม อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็นสาหรับลงพื้นที่ภาคสนาม
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน เป็นการเตรียมความพร้ อม และการสร้างทีมปฏิบัติการ ฝึกซ้อมตามแผนก่อนเกิด
สถานการณ์จริง ซึ่งต้องคัดเลือกอุปกรณ์ เครื่องมือที่มีจาเป็นเหมาะสมต่อลักษณะการปฏิบัติงาน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน มีความสาคัญอย่างยิ่งอุปกรณ์ เครื่องมือที่มีจาเป็น เหมาะสมและพร้อมใช้งานเสมอ
จะสามารถช่วยแก้ไขสถานการณ์ เฉพาะหน้าในคลี่คลายไปได้ในระดับหนึ่ง และลดความกังวลต่อสถานการณ์ของ
ผู้ที่กาลังเผชิญได้ปฏิบัติงานได้

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 38
9.2 การสนับสนุน จัดเก็บ จัดส่งยาเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาในคลังเวชภัณฑ์ อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็น
ให้กับทีมปฏิบัติการ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน มีความสาคัญอย่างยิ่ง ที่ต้องให้การดูแลสนับสนุนจัดเก็บ จัดส่งยาเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา
ในคลังเวชภัณฑ์ อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็นให้กับทีมปฏิบัติการ ให้ได้รับผลกระทบจากภาวะฉุกเฉินน้อยที่สุดและ
กลับมามีคุณภาพชีวิตตามปกติ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน มีความสาคัญอย่างยิ่ง ที่ต้องให้การสนับสนุนจัดเก็บ จัดส่งยาเวชภัณฑ์ ที่มิใช่ยา
ในคลังเวชภัณฑ์อุปกรณ์ เครื่องมือที่จาเป็นให้กับทีมปฏิบัติการ ให้ได้รับ การสนับสนุนทรัพยากรที่เพียงพอ และ
เหมาะสมกับสถานการณ์ เพื่อให้ทีมปฏิบัติการสามารถปฏิบัติงานให้การช่วยเหลือได้ทันต่อสถานการณ์
หมวดที่ 10 Training, Exercise and Evaluation
10.1 การจัดอบรมตามหลักสูตรกลาง (ICS100) ที่จัดตั้งขึ้นมาเป็นการเฉพาะเพื่อฝึกอบรมเจ้าหน้าที่
ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC) และเจ้าหน้าที่ตามโครงสร้าง ICS
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน มีความจาเป็นอย่างยิ่ง การฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ ให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการ
ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข(PHEOC/EOC) และเจ้าหน้าที่ตาม โครงสร้าง ICS เพื่อเป็น
การพัฒนาบุคลาการให้มีความเชี่ยวชาญในปฏิบัติงาน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน มีความจาเป็นอย่างยิ่ง เจ้าหน้าที่ผู้ผ่านการฝึกอบรม มีความเข้าใจเกี่ยวกับการ
ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC) และเจ้าหน้าที่ตามโครงสร้าง ICS เนื่องจาก
ผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมแล้วจะมีประสบการณ์ในการดาเนินงาน และมีทักษะในการปฏิบัติงานเมื่อเจอสถานการณ์จริง
และสามารถนาความรู้มาใช้ในการบริหารจัดการได้อย่างถูกต้อง แม่นยา ทันต่อสถานการณ์
10.2 แผน (BCP/IAP) ระบบการบริหารจัดการข้อมูล และกิจกรรม การฝึกซ้อมแผนเป็นการเฉพาะ
ให้กับเจ้าหน้าที่ตามคาสั่งศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC)
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุ กเฉิ น มีความจ าเป็นต่อการจัดการระบบการบริหารจัดการสถานการณ์ ในภาวะฉุ กเฉิ น
และบริหารจัดการข้อมูลและกิจกรรมการฝึกซ้อมแผนเป็นการเฉพาะ เพื่อให้เจ้าหน้าที่มีทักษะ ทราบแนวทางในการ
ดาเนินการชัดเจนมากขึ้น โดยหน่วยงานต้องมีการทบทวนและเตรียมความพร้อมในการซ้อมแผนอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 39
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน สามารถดาเนินการตามที่วางแผนหรือตามการฝึกซ้อม หรือการประสานงานตาม
แนวทางที่ก าหนดไว้ ในการบริ ห ารจั ด การภาวะฉุ ก เฉิน ทางการแพทย์ และสาธารณสุ ข อย่ า งมีประสิ ท ธิ ภ าพ
โดยหน่วยงานต้องทบทวนแผนและเตรียมความพร้อม อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ต่อเนื่องทุกปี โดยแต่ละหน่วยงาน
วิเคราะห์ภาระงาน และแผนเฉพาะหน่วยงาน (แผนย่อยระดับหน่วยงาน) เมื่อเกิดเหตุการณ์เบื้องต้นให้ปฏิบัติตาม
แผนที่วางไว้ และประเมินซ้าทุกครั้งที่มีการปฏิบัติตามแผนว่ามีความจาเป็นต้องปรับแผนหรือไม่ และพิจารณาตาม
สถานการณ์ปัจจุบัน โดยทุกฝ่ายที่มีส่วนเกี่ยวข้องต้องรับรู้ร่วมกัน

พื้นที่เขตสุขภาพที่ 5
หมวดที่ 1 บริบท
1.1 การกาหนดพันธกิจและขอบเขตการปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข (PHEOC /EOC)
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การกาหนดพันธกิจและขอบเขตการปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC) เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดาเนินงาน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การกาหนดพันธกิจและขอบเขตการปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC) เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดาเนินงาน และควรกาหนดเป็นภาพรวม
ของการปฏิบัติงาน เพื่อเป็นแนวทางสาหรับการดาเนินงาน และสร้างความชัดเจนให้กับผู้ปฏิบัติงานมากขึ้น
1.2 การจั ด ท าแผนรองรั บ ภาวะฉุ กเฉิน ระดั บ จั ง หวั ด ตามภัย และการประเมิ น ความเสี่ย งที่ มี การ
จัดลาดับความสาคัญ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การจัดทาแผนรองรับภาวะฉุกเฉินและการประเมินความเสี่ยงที่มีการจัดลาดับ
เพื่อเตรียมความพร้อมในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินตามความเสี่ยงความสาคัญของภัยที่มีในจังหวัด แต่อาจจะจัดทา
แผนรองรับได้เฉพาะภัยที่มีความเสี่ยงตามการประเมิน ทั้งนี้ เขตสุขภาพกาหนดให้ทาแผนรองรับภาวะฉุกเฉิน
หลายโรคและภัยสุขภาพ โดยเน้นให้หน่วยงานนอกมาร่วมพิจารณาด้วย อาจทาให้ปัญหาด้านสาธารณสุขไม่ได้รับ
การจัดลาดับเป็นปัญหาแรก อีกทั้งทางด้านสาธารณสุขไม่มีงบประมาณาสาหรับการจัดทาแผนดังกล่าว
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การจัดทาแผนรองรับภาวะฉุกเฉินระดับจังหวัด และการประเมินความเสี่ยงตามโรค
และภัยสุขภาพ แผนดังกล่าวสามารถปรับเปลี่ยนแผนได้ตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริง ทั้งนี้ต้องมีการประเมินและ
กากับติดตาม ทบทวนแผนอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สามารถใช้แผนในการปฎิบัติการได้อย่างมีประสิทธิภาพ

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 40
หมวดที่ 2 ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉิน
2.1 โครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
(PHEOC/EOC) และระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS) (คน เงิน ของ)
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน เป็นระบบบริหารจัดการที่ความสาคัญและเป็นแนวทางในการกาหนดผู้บัญชาการ
เหตุการณ์ผู้สั่งการในยามเกิดสถานการณ์ฉุกเฉิน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน โครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข (PHEOC/EOC) และระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS) ทาให้มีระบบและขั้นตอนในการดาเนินงาน
ได้ทันต่อเหตุการณ์ และในบางสถานการณ์ฉุกเฉินต้องมีการปรับเพิ่มลดกล่องภารกิจ เพื่อให้สามารถปฏิบัติการ
ตอบโต้ภาวะฉุกเฉินได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.2 การอบรมบุคลากรให้มีความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์
และสาธารณสุข (PHEOC /EOC) และระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS)
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจในหน้าที่และบทบาทของผู้ปฏิบัติในแต่ละกลุ่มภารกิจ
และหลักการในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข และระบบการบัญชาการเหตุการณ์ (ICS)
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน บุคลากรที่ปฏิบัติงานในทุกกลุ่ มภารกิจ และทุกระดับ สามารถปฏิบัติห น้า ที่ ต าม
บทบาทที่ได้รับมอบหมาย ตามระบบบัญชาการเหตุการณ์ ICS สามารถปฏิบัติงานในการตอบโต้ภาวะฉุก เฉิน
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
หมวดที่ 3 กรอบโครงสร้างการทางาน
3.1 การมี ร ะบบหรื อ กลไกการประสานงานของศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์ แ ละ
สาธารณสุข (PHEOC/EOC) กับหน่วยงานภายใน และหน่วยงานภายนอก
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ระบบหรือกลไกการประสานงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์
และสาธารณสุขสามารถทาให้ผู้ปฏิบัติงานจากหลายหน่วยงานสามารถทางานร่วมกันได้อย่างเป็นระบบและรวดเร็ว
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ระบบหรือกลไกการประสานงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์
และสาธารณสุข สามารถกาหนดผู้ปฏิบัติงานผู้ประสานงาน และช่วยให้สามารถจัดการเหตุการณ์ฉุกเฉินได้ทุกโรค
และภัยสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพ

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 41
หมวดที่ 4 ระบบข้อมูล
4.1 การเชื่ อ มโยงข้ อ มู ล การปฏิ บั ติ ง านระหว่ า งศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์ แ ละ
สาธารณสุข (PHEOC/EOC) กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การเชื่อมโยงข้อมูลการปฏิบัติงานอาจยังไม่ชัดเจน ควรกาหนดผู้รับผิดชอบในการ
เชื่ อ มโยงและรู ป แบบการรายงานที่ ชั ด เจน ต้ อ งมี ห น่ ว ยงานหลั ก ในการรั บ ผิ ด ชอบเรื่ อ งของข้ อ มู ล ทุ ก ด้ า น
(ข้อมูลรายชื่อ,เบอร์โทรของแต่ละหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง) เพื่อลดความยุ่งยากซับซ้อนในการทางาน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การเชื่อมโยงข้อมูลการปฏิบัติงานระหว่างศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์
และสาธารณสุข หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบเรื่องของข้อมูลระดับจังหวัด/อาเภอ (ข้อมูลรายชื่อ ,เบอร์โทร ของแต่
ละหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง) เพื่อลดความยุ่งยากซับซ้อนในการทางาน และมี Server หลัก และ server สารอง
เพื่อให้สามารถบริการจัดการข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
หมวดที่ 5 Critical Information
5.1 ระบบการรายงาน ข้อมูลทรัพยากร ระบุตาแหน่งและสถานะของการปฏิบัติงานของทีมปฏิบัติการ
ทางการแพทย์และสาธารณสุข หรือทีมปฏิบัติการจากหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องผ่านอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่
จาเป็น
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ทาให้มีการบูรณาการทางการสื่อสาร ข้อมูลทรัพยากร ตาแหน่งและสถานะของการ
ปฏิบัติงานของทีมปฏิบัติการทางการแพทย์และสาธารณสุข หรือทีมปฏิบัติการจากหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ระบบการรายงาน ข้อมูลทรัพยากร ระบุตาแหน่งและสถานะของการปฏิบัติงาน
ของทีมปฏิบัติการทางการแพทย์และสาธารณสุข หรือทีมปฏิบัติ การจากหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องทาให้เกิดการ
สนับสนุนด้านข้อมูล และทรัพยากรระหว่างกันได้ตามความจาเป็น และทันต่อเหตุการณ์
หมวดที่ 6 Incident management and response
6.1 การมีแนวทางปฏิบัติของแต่ละกลุ่มภารกิจอยู่ในศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข (PHEOC) ตามระบบบัญชาการเหตุการณ์
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น การมีแนวทางปฏิบัติของแต่ล ะกลุ่ มภารกิจอยู่ในศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC) ตามระบบบัญชาการเหตุการณ์ เพื่อเป็นการกาหนดแนวทางบทบาท
และหน้าที่ ของแต่ละกลุ่มภารกิจที่ชัดเจน

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 42
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีแนวทางปฏิบัติของแต่ละกลุ่มภารกิจอยู่ในศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการ
แพทย์และสาธารณสุข (PHEOC) ตามระบบบัญชาการเหตุการณ์ เพื่อให้แต่ละกลุ่มภารกิจ สามารถปฏิบัติงาน
ได้ตามแนวทาง บทบาท หน้าที่ ตามระบบบัญชาการเหตุการณ์
6.2 การแต่งตั้งหรือกาหนดตัวเจ้าหน้าที่ที่จะปฏิบัติงานตามโครงสร้างการบัญชาการเหตุการณ์ภายใต้
การดาเนินงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC./EOC) และสามารถ
นาไปใช้เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข และมีประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานอย่างไร
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การแต่งตั้งหรือกาหนดตัวเจ้าหน้าที่ที่จะปฏิบัติงานตามโครงสร้างการบัญชาการ
เหตุการณ์ภายใต้การดาเนินงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อเป็นการเตรียม
ความพร้อมด้านบุคลากร และการวางแผนด้านการระดมบุคลากร เมื่อยามเกิดสถานการณ์ฉุกเฉินทางการแพทย์
ในแต่ละระดับ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การแต่งตั้งหรือกาหนดตัวเจ้าหน้าที่ที่จะปฏิบัติงานตามโครงสร้างการบัญชาการ
เหตุการณ์ภายใต้การดาเนินงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อให้สามารถ
ระดมกาลังบุคลากร หรือการสนับสนุนบุคลากร ได้ตามความเหมาะสมกับสถานการณ์ ทั้งนี้ในส่วนสานักงาน
สาธารณสุขจังหวัดมีจานวนบุคลากรไม่เพียงพอ ส่งผลให้ผู้ปฏิบัติงานมีภาระงานมากกว่า 1 งาน
หมวดที่ 7 การสื่อสารความเสี่ยง (Risk Communications) และการเตือนภัย
7.1 การมีแผน/แนวทางการสื่อสารความเสี่ยงตามโรคและภัยสุขภาพที่วิเคราะห์หรือประเมินความ
เสี่ยงได้หรือตามเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉิน และมีประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานอย่างไร
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีแผน/แนวทางการสื่อสารความเสี่ยงตามโรคและภัยสุขภาพที่วิ เคราะห์หรือ
ประเมินความเสี่ยงได้หรือตามเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉิน เพื่อเป็นการเฝ้าระวังข้อมูลข่าวสารต่างๆ จากทุกช่องทาง
และประเมินการรับรู้ของสาธารณะ ด้วยรูปแบบการเผยแพร่และภาษาที่เหมาะสม
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีแผน/แนวทางการสื่อสารความเสี่ยงตามโรคและภัยสุขภาพที่วิเคราะห์หรือ
ประเมินความเสี่ยงตามเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉิน เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงข่าวสารที่ถูกต้องและเป็นจริง มีช่องทางการ
สื่อสารความเสี่ยงจากผู้เชี่ยวชาญที่มีองค์ความรู้ ทาให้ สามารถจัดทาข้อมูล ข่าวสาร ที่ ถูกต้องแม่นยา ครบถ้วน
รวดเร็ว เหมาะสมกับสถานการณ์และกลุ่มเป้าหมายรวมทั้งสามารถตอบโต้ข่าวลือ หรือข่าวอันเป็นเท็จ ได้อย่าง
เหมาะสมและรวดเร็ว

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 43
หมวดที่ 8 การสื่อสารภายใน (หมายถึง การสื่อสารภายในระบบ ICS)
8.1 แนวทางการดาเนินงานสาหรับการสื่อสารในองค์กร
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน แนวทางการดาเนินงานสาหรับการสื่อสารในองค์กรควรมีหลากหลายช่องทาง
และมีความเหมาะสม สอดคล้องกับบริบทของหน่วยงาน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน มีแนวทางการดาเนินงานการสื่อสารในองค์กร ผ่าน Line group/ประชุม Zoom
เพื่อให้การปฏิบัติการบรรลุผลสาเร็จ รวมทั้งการจัดทาข้อมูลข่าวสารประเด็นข่าวสาร ได้ถูกต้องครบถ้วน เหมาะกับ
กลุ่มภารกิจประเมินผลและรายงานผลการดาเนินงานสื่อสารความเสี่ยงต่อผู้บัญชาการเหตุการณ์
หมวดที่ 9 Coordination and logistical support of field operations
9.1 การสนับสนุนทีมปฏิบัติการพร้อม อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็นสาหรับลงพื้นที่ภาคสนาม
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน มีการเตรียมความพร้อมด้านเวชภัณฑ์ วัสดุอุปกรณ์ และทีมปฏิบัติการ ดังนี้ การ
สารวจคงคลังเวชภัณฑ์ วัสดุ อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องในแต่ละภัย การจัดทาทะเบียนผู้รับผิดชอบงาน logistics และทีม
ปฏิบัติการต่างๆ ในจังหวัด การสารองเวชภัณฑ์ วัสดุ อุปกรณ์ ให้พร้อมรับสถานการณ์
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน จังหวัดมีการดาเนินงานจัดทาฐานข้อมูลคงคลังเวชภัณฑ์วัสดุ อุปกรณ์ และปรับปรุง
ให้เป็นปัจจุบัน ติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด เพื่อประเมินความต้องการใช้เวชภัณฑ์ วัสดุอุปกรณ์ และกรณี
ไม่เพียงพอดาเนินการจัดซื้อ จัดหาเพิ่มเติม จัดเตรียมเวชภัณฑ์ วัสดุ อุปกรณ์และทีมปฏิบัติการให้พร้อม สาหรับ
การลงพื้นที่สนาม
9.2 การสนับสนุน จัดเก็บ จัดส่งยาเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาในคลังเวชภัณฑ์ อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็น
ให้กับทีมปฏิบัติการ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน มีการเตรียมความพร้อมของทีมปฏิบัติการวัสดุ อุปกรณ์ เวชภัณฑ์ และยานพาหนะ
เพื่อสนับสนุนทีมปฏิบัติการต่างๆ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การสนับสนุน จัดเก็บ จัดส่งยาเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาในคลังเวชภัณฑ์ อุปกรณ์/เครื่องมือ
ที่จาเป็นให้กับทีมปฏิบัติการ ในกรณีของที่ มีคงคลัง ไม่เพียงพอ สามารถร้องขอการสนับสนุนจากโรงพยาบาล
ในจังหวัดก่อน และถ้ายังไม่เพียงพอขอความช่วยเหลือจากกองสาธารณสุขฉุกเฉิน หรือสานักงานควบคุมป้องกัน
โรคที่ 5 หรือจังหวัดภายในเขตสุขภาพที่ 5

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 44
หมวดที่ 10 Training, Exercise and Evaluation
10.1 การจัดอบรมตามหลักสูตรกลาง (ICS100) ที่จัดตั้งขึ้นมาเป็นการเฉพาะเพื่อฝึกอบรมเจ้าหน้าที่
ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC) และเจ้าหน้าที่ตามโครงสร้าง ICS
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน มีความจาเป็นต่อการพัฒนาบุคลากร ในการสร้างความรู้ ความเข้าในหลักการ
บั ญ ชาการเหตุ ก ารณ์ และการปฏิ บั ติ ห น้ าที่ ต ามศู น ย์ป ฏิบั ติก ารภาวะฉุ ก เฉิ นทางการแพทย์ แ ละสาธารณสุ ข
ควรมีการกาหนดคุณลักษณะเจ้าหน้าที่เหมาะสมควรอบรม
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การจัดอบรมตามหลักสูตรกลาง (ICS100) ที่จัดตั้งขึ้นมาเป็นการเฉพาะเพื่อฝึกอบรม
เจ้าหน้าที่ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC) และเจ้าหน้าที่ตามโครงสร้าง
ระบบบัญชาการเหตุการณ์ ICS สามารถปฏิบัติงานได้และมีประสิทธิภาพที่ดีกว่าการใช้ระบบการทางานแบบปกติ
ตอบโต้เหตุการณ์ภาวะฉุกเฉิน
10.2 แผน (BCP/IAP) ระบบการบริหารจัดการข้อมูล และกิจกรรม การฝึกซ้อมแผนเป็นการเฉพาะ
ให้กับเจ้าหน้าที่ตามคาสั่งศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC)
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การทาจัดแผนเพื่อรองรับสถานการณ์ภาวะฉุกเฉินทั้งแผนเผชิญเหตุ (IAP) และแผน
ประคองกิจการ (BCP) นั้น มีจาเป็นอย่างยิ่ง เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมของหน่วยงานรองรับสถานการณ์
ฉุกเฉิน ทั้งนี้ มีควรการฝึกซ้อมแผนอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อสามารถนาแผนไปใช้ปฏิบัติงานได้จริง
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ดาเนินการตามแผนเผชิญเหตุ IAP เพื่อรองรับกับสถานการณ์และนาไปใช้ปฏิบัติงาน
จริง และแผนประคองกิจการ BCP เพื่อประคองกิจการ ในสภาวะวิกฤต หรือภัยพิบัติ เพื่อลดการเกิดผลกระทบ
ต่อองค์กร และฟื้นฟูองค์กรให้เข้าสู่ภาวะปกติได้อย่างรวดเร็ว

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 45
พื้นที่เขตสุขภาพที่ 6
หมวดที่ 1 บริบท
1.1 การกาหนดพันธกิจและขอบเขตการปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข (PHEOC /EOC)
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น การก าหนดขอบเขตเป็ น ภาพกว้ า งจะเน้ น หนั ก ในภั ย สุ ข ภาพที่ เ กิ ด ขึ้ น บ่ อ ย
เช่น โรคติดต่ออุบัติใหม่อุบัติซ้า,เหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดการบาดเจ็บจากอุบัติภัย,ภัยสุขภาพที่เกิดจากสารเคมี เป็นต้น
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน กาหนดทิศทางของการ Activate ศูนย์ปฏิบัติการฯ เฉพาะเรื่องในช่วงเวลาที่เกิดภัย
สุขภาพนั้นๆ ในการกาหนดพันธกิจ และขอบเขตการปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข (PHEOC /EOC)
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการเตรียมความพร้อมของบุคลากร งบประมาณ วัสดุ
อุปกรณ์ และแผนการบริหารจัดการ ในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุขให้ไปในทิศทาง
เดียวกัน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการควบคุมภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
และ recovery ให้ไปในทิศทางเดียวกัน
1.2 การจั ด ท าแผนรองรั บ ภาวะฉุ กเฉิ น ระดั บ จั ง หวั ด ตามภัย และการประเมิ น ความเสี่ย งที่ มี การ
จัดลาดับความสาคัญ
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน จังหวัดมีการจัดทาแผนรองรับภาวะฉุกเฉินและจัดลาดับความสาคัญภัยสุ ขภาพ
ฉุกเฉินที่เกิดบ่อย และส่งผลกระทบต่อสุขภาพประชาชนเป็นปัญหาสาคัญของในพื้นที่ของแต่ละจังหวัด
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน แต่ละจังหวัดสามารถนาแผนที่จัดทามาใช้ปฏิบัติงานได้ตามระดับภาวะฉุก เฉิน
(5 ระดับ) ตามแผนที่วางไว้ได้ในระดับดี รวมถึงสามารถระดมทรัพยากรในพื้นที่จังหวัดในการแก้ปัญหาได้ ด้วย
ศักยภาพจังหวัดเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การจัดทาแผนรองรับภาวะฉุกเฉินระดับจังหวัดตามภัยและการประเมินความเสี่ยง
สามารถใช้เป็นแนวทางในการเตรียมความพร้อมในด้านต่างๆ

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 46
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การจัดทาแผนรองรับภาวะฉุกเฉินระดับจังหวัดตามภัยและการประเมินความเสี่ยง
สามารถใช้เป็นแนวทางในการควบคุมภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุขและ recovery
หมวดที่ 2 ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉิน
2.1 โครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
(PHEOC/EOC) และระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS) (คน เงิน ของ)
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น โครงสร้ างที่จั ด ทาไว้ส ามารถรองรับ ได้ ทุ กภัยสุ ขภาพที่เ กิ ด ขึ้น ในเขตสุ ข ภาพ
และมีการสารวจเตรียมความพร้อมทรัพยากรด้าน คน เงิน ของทุกปี เพื่อเตรียมการรองรับสถานการณ์ภาวะ
ฉุกเฉินที่จะเกิดขึ้น
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน สามารถขับเคลื่อนงานได้ตามโครงสร้างที่กาหนดไว้ แต่จะพบปัญหาเรื่องทรัพยากร
บางด้านที่ขาดแคลนซึ่งจะเกิดขึ้นเพียงในช่วงเวลาหนึ่งเท่านั้น เนื่องจากผู้ที่ได้รับผลกระทบมีปริมาณจานวน
มากกว่าแผนที่กาหนดไว้แต่ก็สามารถบริหารจัดการได้ในเวลาต่อมา
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน สามารถระบุบทบาทและหน้าที่ได้ชัดเจนว่าใครทาอะไร ที่ไหน และอย่างไร ในการ
เตรียมความพร้อมของบุคลากร งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ และแผนการบริหารจัดการ ในการจัดการภาวะฉุกเฉิ น
ทางการแพทย์และสาธารณสุข
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน สามารถระบุบทบาทและหน้าที่ได้ชัดเจนว่าใครทาอะไร ที่ไหน และอย่างไร ในการ
ควบคุมภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุขในสงบโดยเร็ว และไม่เกิดผลกระทบต่อสุขสภาวะของประชาชน
หรือมีผลกระทบน้อยที่สุด และ recovery ได้อย่างรวดเร็ว
2.2 การอบรมบุคลากรให้มีความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์
และสาธารณสุข (PHEOC /EOC) และระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS)
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ควรมีการอบรมบุคลากรในทุกระดับทั้งผู้บริหาร ผู้บัญชาการเหตุการณ์และใน
บุคลากรใหม่อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อให้เกิดความเข้าใจระบบโครงสร้างในการปฏิบัติงาน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เกิดกระบวนการเรียนรู้จากการปฏิบัติงานจริง และมีการจัดเก็บรวบรวมข้อมูล
ขั้นตอนกระบวนการ ปัญหาอุปสรรค ระหว่างการปฏิบัติงาน เพื่อนาไปใช้ในกระบวนการถอดบทเรียนหลังเสร็จสิ้น
การปฏิบัติการทุกครั้ง

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 47
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การอบรมบุคลากรให้มีความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC /EOC) และระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS) มีความสาคัญในการเตรียม
คน และบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การอบรมบุคลากรให้มีความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC /EOC) และระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS) สามารถทาให้ทราบว่าต้อง
ประสานหรือรายงานใคร จัดหางบประมาณ และวัสดุอุปกรณ์ที่ไหน
หมวดที่ 3 กรอบโครงสร้างการทางาน
3.1 การมี ร ะบบหรื อ กลไกการประสานงานของศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์ แ ละ
สาธารณสุข (PHEOC/EOC) กับหน่วยงานภายใน และหน่วยงานภายนอก
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน มีการเตรียมการระบบการประสานงานของหน่วยงานภายใน-ภายนอกไว้ในระดับดี
และควรจะต้องมีการทบทวนข้อมูลผู้รับผิดชอบในการประสานงาน ปีละ 1 ครั้ง เพื่อเตรียมความพร้อมในการ
ดาเนินงาน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน มีการจัดทาผู้ประสานงานเพิ่มเติมในกรณีเกิดภัยสุขภาพใหม่ๆ หรือภัยสุขภาพที่ยัง
ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน เพื่อจัดระบบการประสานงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
(PHEOC/EOC) กับหน่วยงานภายใน และหน่วยงานภายนอก
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีระบบหรือกลไกการประสานงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการ
แพทย์และสาธารณสุข ทาให้ทราบว่าหน่วยงานภายใน และหน่วยงานภายนอกใดควรมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีระบบหรือกลไกการประสานงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการ
แพทย์และสาธารณสุข มีช่องทางการประสานงานกับหน่วยงานภายใน และหน่วยงานภายนอก เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน
หมวดที่ 4 ระบบข้อมูล
4.1 การเชื่ อ มโยงข้ อ มู ล การปฏิ บั ติ ง านระหว่ า งศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์ แ ละ
สาธารณสุข (PHEOC/EOC) กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การเตรียมพร้อมระบบข้อมูล การเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง
ในภัยสุขภาพที่เกิดขึ้นแล้วระบบมีการเชื่อมโยงข้อมูลได้ดีในระดับหนึ่ง

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 48
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การเชื่อมโยงข้อมูลในกรณีโรคอุบัติใหม่หรือภัยสุขภาพใหม่ ยังเตรียมความพร้อม
ด้านระบบข้อมูลยังไม่ดีพอ ต้องมีการพัฒนาระบบการเชื่อมโยงข้อมูล ให้มีความครอบคลุมในทุกระดับมากขึ้น
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉินและเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การเชื่อมโยงข้อมูลการปฏิบัติงานระหว่างศูนย์ปฏิบัติการ
ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข ช่วยในการแบ่งปัน คน เงิน สิ่งของ และแผนงานในการเตรียมความ
พร้อมในด้านต่างๆ และสามารถประเมินความพร้อมในด้านต่างๆของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้
หมวดที่ 5 Critical Information
5.1 ระบบการรายงาน ข้อมูลทรัพยากร ระบุตาแหน่งและสถานะของการปฏิบัติงานของทีมปฏิบัติการ
ทางการแพทย์และสาธารณสุข หรือทีมปฏิบัติการจากหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องผ่านอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่
จาเป็น
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน มีความจาเป็นอย่างยิ่งในการทบทวนระบบจัดเก็บข้อมูล ระบบรายงาน ข้อมูล
ทรัพยากร ระบุตาแหน่งและสถานะของการปฏิบัติงานของทีมปฏิบัติการทางการแพทย์และสาธารณสุข หรื อทีม
ปฏิบัติการจากหน่วยงานอื่น
เมื่ อ เกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น กระทรวงควรเข้ า มาช่ ว ยพั ฒ นาระบบรายงานให้ ข้ อ มู ล เป็ น ระบบ Digital
อิเล็ กทรอนิ กส์ ไฟล์ หรื อ เว็บไซต์ เป็ น ระบบรายงานข้อมูลเดียวเพื่อให้ผู้ ปฏิบัติงานทุกระดับ (ระดับกระทรวง
ระดับเขต ระดับจังหวัด) เข้าถึงข้อมูลได้สะดวก รวดเร็ว และใช้ข้อมูลชุดเดียวกัน และควรจัดทาระบบสารองข้อมูล
เพื่อรองรับในกรณีระบบเกิดเหตุขัดข้อง
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ระบบการรายงาน ข้อมูลทรัพยากร ระบุตาแหน่งและสถานะของการปฏิบัติงาน
ของทีมปฏิบัติการทางการแพทย์และสาธารณสุข หรือทีมปฏิบัติการ ทาให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถเตรียมข้อมูลต่างๆ
ในส่วนที่ขาด หรือไม่เพียงพอได้อย่างรวดเร็ว
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ระบบการรายงาน ข้อมูลทรัพยากร ระบุตาแหน่งและสถานะของการปฏิบัติงานของ
ทีมปฏิบัติการทางการแพทย์และสาธารณสุข หรือทีมปฏิบัติการช่วยทาให้ผู้ปฏิบัติงานทราบสถานะของข้อมูลต่างๆ
ได้อย่างรวดเร็ว

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 49
หมวดที่ 6 Incident management and response
6.1 การมีแนวทางปฏิบัติของแต่ละกลุ่มภารกิจอยู่ในศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข (PHEOC) ตามระบบบัญชาการเหตุการณ์
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น การมีแนวทางปฏิบัติของแต่ล ะกลุ่ มภารกิจอยู่ในศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์ แ ละสาธารณสุ ข ท าให้ ผู้ ป ฏิ บั ติ ง านมี ค วามรู้ ส ามารถปฏิ บั ติ ง านได้ ต ามบทบาทหน้ า ที่ ที่ ไ ด้ รั บ
มอบหมาย
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน สามารถดาเนินงานได้ตามแนวทางและระบบตามที่กาหนดไว้ และผู้บัญชาการ
เหตุ ก ารณ์ มี ก ารปรั บ เปลี่ ย นเพิ่ ม เติ ม บทบาทหน้ า ที่ ตามภาวะฉุ ก เฉิ น ที่ เ กิ ด ขึ้ น เพื่ อ ให้ เ หมาะสมกั บ ที ม งาน
และสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในขณะนั้น
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น การมีแนวทางปฏิบัติ ของแต่ล ะกลุ่ มภารกิจอยู่ในศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์และสาธารณสุข ทาให้ทราบบทบาทหน้าที่ของแต่ละกลุ่มภารกิจซึ่งช่วยในการประสานงานได้อย่าง
รวดเร็ว
เมื่อเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น ผู้ ป ฏิบั ติงานทราบบทบาทของตนเองชัดเจน และสามารถจั ดการภาวะฉุกเฉิน
ได้อย่างเป็นระบบและเป็นขั้นตอน ทาให้ดาเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 การแต่งตั้งหรือกาหนดตัวเจ้าหน้าที่ที่จะปฏิบัติงานตามโครงสร้างการบัญชาการเหตุการณ์ภายใต้
การดาเนินงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC./EOC) และสามารถ
นาไปใช้เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข และมีประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานอย่างไร
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ทาให้เกิดความชัดเจนในการปฏิบัติหน้าที่ แต่จะต้องมีการทบทวน ตรวจสอบข้อมูล
ทุกปี เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงผู้ปฏิบัติงาน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เมื่อมีการเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข ผู้ปฏิบัติ
สามารถปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ไ ด้ ต ามบทบาทหน้ า ที่ ทั น ที เพื่ อ ให้ ก ารด าเนิ น งานด้ า นต่ า งๆเป็ น ไปด้ ว ยความรวดเร็ ว
และสามารถควบคุม ป้องกันภัยสุขภาพที่เกิดขึ้นได้ทันเวลา

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 50
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉินและเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีการแต่งตั้งหรือกาหนดตัวเจ้าหน้าที่ที่จะปฏิบัติงาน
ตามโครงสร้างการบัญชาการเหตุการณ์ภายใต้การดาเนินงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข สามารถนาไปใช้เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุขได้จริง เพราะผู้ปฏิบัติจะทราบ
บทบาทและหน้าที่ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน
หมวดที่ 7 การสื่อสารความเสี่ยง (Risk Communications) และการเตือนภัย
7.1 การมีแผน/แนวทางการสื่อสารความเสี่ยงตามโรคและภัยสุขภาพที่วิเคราะห์ หรือประเมินความ
เสี่ยงได้หรือตามเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉิน และมีประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานอย่างไร
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น มีความจ าเป็น เพราะการสื่ อสารความเสี่ ยงต่อโรคและภัยสุขภาพเป็นไปตาม
ช่วงเวลาที่กาหนดไว้ และเพื่อกระตุ้นในการเตรียมความพร้อมของหน่วยงานในการสื่อสารให้ประชาชนรับทราบ
ข้อมูลที่ถูกต้อง
เมื่ อ เกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น การสื่ อ สารความเสี่ ย งมี ค ววามจ าเป็ น ต้ อ งสื่ อ สารให้ ท ราบถึ ง ข้ อ เท็ จ จริ ง
ทันเหตุการณ์ และสามารถแก้ไขข่าวที่เป็นเท็จ /Fake News ได้อย่างทันท่วงที
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีแผน แนวทางการสื่อสารความเสี่ยงตามโรคและภัยสุขภาพ ใช้เป็นเครื่องมือ
ในการเตรียมการสื่อสารของเจ้าหน้าที่ให้กับประชาชนได้อย่างถูกต้อง
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีแผน แนวทางการสื่อสารความเสี่ยงตามโรคและภัยสุขภาพประชาชนรับทราบ
ข้อมูลที่ถูกต้อง ลดความตื่นตระหนก และผู้ปฏิบัติงานสามารถควบคุมภาวะฉุกเฉินได้อย่างรวดเร็ว
หมวดที่ 8 การสื่อสารภายใน (หมายถึง การสื่อสารภายในระบบ ICS)
8.1 แนวทางการดาเนินงานสาหรับการสื่อสารในองค์กร
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น ต้องมีแนวทางการสื่ อสารความเสี่ ยงภายในองค์ กร มีการทบทวนความเสี่ ย ง
เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนการปฏิบัติงานจริง
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ต้องมีการประเมินผล เพื่อปรับให้การสื่อสารมีความรวดเร็ว ครอบคลุม ต่อการ
ควบคุมภัยสุขภาพนั้นๆที่เกิดขึ้น

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 51
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ทาให้ทราบว่าต้องสื่อสารใครบ้างเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ผู้ปฏิบัติงานสามารถเข้าถึงความช่วยเหลือจากองค์กรได้อย่างรวดเร็ว
หมวดที่ 9 Coordination and logistical support of field operations
9.1 การสนับสนุนทีมปฏิบัติการพร้อม อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็นสาหรับลงพื้นที่ภาคสนาม
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน มีการสารวจและกาหนด อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็นสาหรับลงพื้นที่ภาคสนาม
รวมถึงมีการจัดทาสารวจข้อมูล และทบทวนข้อมูลทุกปี
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินมีการประเมิน และทบทวนการดาเนินงานด้านอุกรณ์/เครื่องมือ
ที่จาเป็น และสถานที่ทันที เพื่อปรับให้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น และมีการจัดทาแผนสารองเพื่อรองรับ
เหตุการณ์ที่มีผลกระทบเกิดมากเกินจากแผนที่เตรียมไว้ เพื่อให้มีความพร้อมการใช้งานด้านอุปกรณ์/เครื่องมือที่
จาเป็น และสถานที่
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ผู้ปฏิบัติมีกาลังใจในการปฏิบัติงาน และพร้อมที่จะจัดการเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ช่วยทาให้สามารถจัดการภาวะฉุกเฉินได้รวดเร็ว
9.2 การสนับสนุน จัดเก็บ จัดส่งยาเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาในคลังเวชภัณฑ์ อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็น
ให้กับทีมปฏิบัติการ
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน มีการทบทวนและเตรียมความเพียงพอของยาเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาในคลังเวชภัณฑ์
อุปกรณ์/เครื่องมือ ในหน่วยบริการ สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน มีการกากับ สนับสนุน กระจาย และจัดส่งยาเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาในคลังเวชภัณฑ์
อุปกรณ์/เครื่องมือ และระดมทรัพยากรข้ามหน่วยงาน ข้ามจังหวัดในเขตสุขภาพที่ 6 ได้
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ผู้ปฏิบัติมีกาลังใจในการปฏิบัติงาน และพร้อมที่จะจัดการเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ช่วยทาให้สามารถจัดการภาวะฉุกเฉินได้รวดเร็ว

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 52
หมวดที่ 10 Training, Exercise and Evaluation
10.1 การจัดอบรมตามหลักสูตรกลาง (ICS100) ที่จัดตั้งขึ้นมาเป็นการเฉพาะเพื่อฝึกอบรมเจ้าหน้าที่
ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC) และเจ้าหน้าที่ตามโครงสร้าง ICS
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิ น การจัดอบรมตามหลักสูตรกลาง (ICS100) มีความจาเป็นอย่างยิ่ง เพื่อเป็นการ
เตรียมองค์ความรู้สาหรับเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติงาน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน สามารถ learning by doing : เรียนรู้ได้ผ่านการปฏิบัติงานจริง และถอดบทเรียน
จากการปฏิบัติงานเพื่อปรับปรุงให้การปฏิบัติงานมีความเหมาะสมต่อเหตุการณ์ และมีประสิทธิภาพมากขึ้น
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น การจั ด อบรมตามหลั ก สู ต รกลาง (ICS100) ที่ จั ด ตั้ ง ขึ้ น มาเป็ น การเฉพาะ
เพื่อฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข ทาให้ผู้ปฏิบัติงานเข้าใจระบบ
บัญชาการเหตุการณ์ และสามารถจัดการภาวะฉุกเฉินได้อย่างเป็นระบบและมีขั้นตอน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การจัดอบรมตามหลักสูตรกลาง (ICS100) ที่จัดตั้งขึ้นมาเป็นการเฉพาะเพื่อฝึกอบรม
เจ้าหน้าที่ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข ทาให้ผู้ปฏิบัติงานเข้าใจระบบบัญชาการ
เหตุการณ์ และนาไปเตรียมความพร้อมในการจัดการภาวะฉุกเฉิน
10.2 แผน (BCP/IAP) ระบบการบริหารจัดการข้อมูล และกิจกรรม การฝึกซ้อมแผนเป็นการเฉพาะ
ให้กับเจ้าหน้าที่ตามคาสั่งศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC)
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน มีความจาเป็นอย่างยิ่ง บุคลากรได้รับการเรียนรู้ เป็นการเตรียมความพร้อมของ
แผนประครองกิ จ การ เพื่ อ ให้ ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์ แ ละสาธารณสุ ข (PHEOC/EOC)
ดาเนินการต่อไปได้
เมื่ อ เกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น มี ที ม จั ด เก็ บ ข้ อ มู ล รวบรวมจั ด การข้ อ มู ล ถอดบทเรี ย น เพื่ อ น ามาปรั บ แผน
(BCP/IAP) ให้ดียิ่งขึ้น
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ทาให้ทราบว่าใครควรมีบทบาทหน้าที่บ้าง เงินประมาณที่มีพอหรือไม่ วัสดุอุปกรณ์
ที่ต้องการใช้ แนวทางและขั้นตอนปฏิบัติอะไรที่มีความสาคัญ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน แผน (BCP/IAP) ระบบการบริหารจัดการข้อมูล และกิจกรรม การฝึกซ้อมแผนทาให้
ผู้ปฏิบัติงานมีทิศทางในงานทางานได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 53
พื้นที่เขตสุขภาพที่ 7
หมวดที่ 1 บริบท
1.1 การกาหนดพันธกิจและขอบเขตการปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข (PHEOC /EOC)
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน สามารถใช้เป็นกรอบแนวทาง/ทิศทาง การปฏิบัติภารกิจ ด้านการจัดการภาวะ
ฉุกเฉินทางสาธารณสุข (Public Health Emergency Management, PHEM) ภายใต้ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
PHEOC/EOC) และมีหนังสือแจ้งไปยังคณะกรรมการและผู้เกี่ยวข้อง เพื่อทราบหน้าที่และอานาจ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน สามารถนาสามารถใช้เป็นกรอบแนวทาง/ทิศทาง การปฏิบัติภารกิจ ด้านการจัดการ
ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (Public Health Emergency Management, PHEM) ภายใต้คาสั่งคณะกรรมการ
ตามระบบบัญชาการเหตุการณ์ฉุกเฉินทางสาธารณสุข (Incident Command System : ICS) สาหรับทุกโรคและ
ภัยสุขภาพ และศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (Emergency Operation Center : EOC) เขตสุขภาพที่ 7 และมีการ
จัดประชุมเพื่อติดตามสถานการณ์ และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างทันท่วงที
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิด ภาวะฉุ กเฉิน เพื่อกาหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการบัญชาการเหตุการณ์ เพื่อการ
อานวยการ สั่งการ ควบคุม เร่งรัด กากับ และติดตามประเมินแก้ไขปัญหาในการตอบโต้ต่อสถานการณ์ ในการการ
บริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรต่ า งๆ ส าหรั บ การตอบโต้ ส ถานการณ์ เพื่ อ ใช้ ใ นการตั ด สิ น ใจ ยกระดั บ ลดระดั บ
ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (Emergency Operation Center )
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เพื่อชี้บ่งภาวะฉุกเฉินที่อาจจะเกิดขึ้นได้ เพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉินที่เกิดขึ้นสามารถ
ปรับปรุงขั้นตอนปฏิบัติสาหรับการเตรียมความพร้อมและการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินตามช่วงเวลาที่กาหนด
1.2 การจั ด ท าแผนรองรั บ ภาวะฉุ กเฉิน ระดั บ จั ง หวั ด ตามภัย และการประเมิ น ความเสี่ย งที่ มี การ
จัดลาดับความสาคัญ
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การจัดทาแผนรองรับภาวะฉุกเฉินระดับจังหวัดและการประเมินความเสี่ยงที่มีการ
จัดลาดับความสาคัญ เป็นการสรางความเขาใจรวมกันระหวางผู บริหารและผู ปฏิบัติงานเมื่อเกิดภาวะฉุ กเฉิน
ในเขตสุขภาพที่ 7 ทาให้สามารถเตรียมความพรอมรับสถานการณฉุกเฉินที่อาจจะเกิดขึ้นในพื้นที่ ลดความเสียหาย
ที่จะอาจเกิดขึ้นและทาใหหน่วยงานสามารถดาเนินงานไดอยางตอเนื่องและมีประสิทธิภาพ รวมทั้งสามารถแกไข
สถานการณไดอยางทันทวงที

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 54
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เนื่องจากเขตสุขภาพที่ 7 มีการจัดทาแผนรองรับภาวะฉุกเฉินระดับจังหวัดและการ
ประเมินความเสี่ยงที่มีการจัดลาดับความสาคัญ ทุกจังหวัดในเขตจึงสามารถนามาเป็นแนวทางในการตอบโต้ภาวะ
ฉุกเฉินที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน เพื่อเป็นแนวทางการปฏิบัติเตรียมความพร้อมด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม
โรคและภัยสุขภาพได้ทันต่อสถานการณ์ และมีประสิทธิภาพ ในกรณีประกาศภาวะฉุกเฉิน มีการเฝ้าระวังความ
เสี่ยงของปัญหาในพื้นที่
เมื่อเกิดภาวะฉุ กเฉิน ทาให้มีความพร้อมในการเผชิญเหตุเพื่อรองรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุ ข ให้
สามารถรับมือสถานการณ์ทุกภัยอันตรายที่เป็นความเสี่ยงของพื้นที่ในการป้องกัน ตรวจค้น และตอบสนองต่อ
สถานการณ์วิกฤต เพื่อลดปั ญหาที่เกิดในการขับเคลื่ อนการดาเนินงานตามภารกิจขององค์กร โดยการจัดทา
แผนปฏิบั ติการรองรั บ ส าหรั บ ทุกภั ย อัน ตราย (All Hazard Plan : AHP) รองรับภาวะฉุกเฉินตามความเสี่ ย ง
ของพื้นที่, แผนประคองกิจการ (Business Continuity Plan : BCP) การประเมินความเสี่ยงสาธารณภัยของพื้นที่
(Risk Assessment) และจั ด ล าดั บ ความส าคั ญ ของภั ย อั น ตรายที่ ส่ ง ผลกระทบกั บ สุ ข ภาพประชาชนในพื้ นที่
เป็ น การวิเคราะห์ ส ถานการณ์ภ าพรวมของโรคและภัย และประเมินระดับความเสี่ ยงจากข้อมูล สถานการณ์
ดาเนินการเพื่อควบคุมโรคหรือจัดการกับภัยสุขภาพ ลักษณะความเสี่ยงจาเพาะ โอกาสการแพร่กระจายของโรค
และภัยสุขภาพในวงกว้าง ผลกระทบทางสาธารณสุข ความรุนแรงของโรคหรือภัยสุขภาพ วิธีการรักษา/วิธีป้องกันได้
ที่มีประสิทธิภาพของโรคหรือภัยสุขภาพ ลักษณะของภัยคุกคาม ลักษณะของการสัมผัส (Exposure assessment :
ลักษณะ, ประชากรกลุ่มเสี่ยง) ปัจจัยที่ส่งผลหรือควบคุมต่อภาวะโรคและภัยสุขภาพ (context assessment)
หมวดที่ 2 ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉิน
2.1 โครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการเปิดศูนย์ปฏิบั ติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
(PHEOC/EOC) และระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS) (คน เงิน ของ)
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การจัดเตรียมห้องที่เป็นสถานที่ ที่ใช้ในการปฏิบัติงานร่วมกันของกลุ่มภารกิจต่างๆ
ภายใต้ระบบบั ญชาการเหตุการณ์ (ICS) เพื่อสนับสนุนการบริหารสั่งการประสานงาน แลกเปลี่ยนข้อมูล และ
ทรัพยากรให้เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในภาวะฉุกเฉิน โดยจัดเตรียมสถานที่และเทคโนโลยีสารสนเทศขั้นพื้นฐานมีความ
จาเป็น ซึ่งเขตสุขภาพที่ 7 ได้มีการจัดเตรียมห้องไว้ เพื่อรองรับการเปิดศูนย์ EOC
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เนื่องจากเขตสุขภาพที่ 7 มีศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข
เขตสุขภาพที่ 7 (Smart EOC) ที่ตั้งอยู่ ชั้น 4 ตึกสานักงานเขตสุขภาพที่ 7 และทุกจังหวัดในเขตสุขภาพมีห้อง
ประชุม สาหรับจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุขรองรับ สถานการณ์ การแพร่
ระบาดของทุ ก โรคและภั ย สุ ข ภาพโดยเฉพาะโรคติ ด เชื้ อ ไวรั ส โคโรนา 2019 จึ ง สามารถการบริ ห ารสั่ ง การ
ประสานงาน แลกเปลี่ยนข้อมูลและทรัพยากรให้เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในภาวะฉุกเฉิน

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 55
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีโครงสร้างพื้นฐานและระบบบัญชาการณ์เหตุการณ์ เป็นโครงสร้างสาคัญที่ทา
ให้การปฏิบัติงานของศูนย์ EOC ดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากมีการระบุผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน มีระบบ
การสั่งการเป็นลาดับขั้นตามโครงสร้างหน้าที่ แต่อาจมีการปรับกระบวนการหรือโครงสร้างการประสานงานใน
ระหว่างการเกิดเหตุการณ์เพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์ความรุนแรงของเหตุการณ์ในแต่ละระยะ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน โครงสร้างพื้นฐานและระบบบัญชาการเหตุการณ์ มีความพร้อมในการปฏิบัติงาน
และทีมทุกกล่องภารกิจมีความเข้มแข็ง มีระบบบัญชาการที่ชัดเจนเป็นลาดับขั้น สามารถดึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
มาร่วมปฏิบัติภารกิจต่างๆได้ มีการวิเคราะห์ระบบขณะเกิดเหตุการณ์ในแต่ละระยะ ซึ่งช่วยให้การบริหารจัดการ
มีป ระสิ ทธิภ าพมากยิ่ งขึ้น บางระยะมีการปรับลดขั้นตอนการสั่ ง การ บางระยะเพิ่มผู้ รับผิ ดชอบที่ส อดคล้ อ ง
กับภารกิจที่เพิ่มขึ้นมา โดยภาพรวมถือว่ามีประสิทธิภาพและสามารถปฏิบัติงานได้อย่างทันเวลา
2.2 การอบรมบุคลากรให้มีความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์
และสาธารณสุข (PHEOC /EOC) และระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS)
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ควรสนับสนุนให้บุคลากรเข้ารับการอบรมเกี่ยวกับโครงสร้างของศูนย์ปฏิบัติการ
ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC /EOC) และระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS) เป็นการสร้าง
ความรู้ แ ละความเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ การจั ด การภาวะฉุ ก เฉิ น ทางสาธารณสุ ข ระบบบั ญ ชาการเหตุ ก ารณ์ แ ละ
ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขในเบื้องต้นให้กับบุคลากรและคณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้ง
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน หัวหน้ากล่องภารกิจทุกกล่อง ในระดับจังหวัดได้รับการอบรม ICS 100 แต่บุคลากร
ในสานักงานเขตสุขภาพที่ 7 ยังไม่ได้เข้ารับการอบรม จึงควรมีการเปิดอบรม และให้เจ้าหน้าที่ผู้ที่สนใจ เข้าร่วม
การอบรม
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การฝึกอบรมความรู้และทักษะของบุคลากร เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้จริงเมื่อ
เกิดภาวะฉุกเฉินขึ้น ควรมีการอบรมให้เข้าใจในทุกระดับ
เมื่อเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินขึ้ นในพื้นที่ ทาให้ บุคลากรมีความมั่นใจในการปฏิบัติงาน
และสามารถเตรียมความพร้อม เรียงลาดับขั้นตอนก่อน-หลัง ในการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง แม่นยามากขึ้น
หมวดที่ 3 กรอบโครงสร้างการทางาน
3.1 การมี ร ะบบหรื อ กลไกการประสานงานของศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์ แ ละ
สาธารณสุข (PHEOC/EOC) กับหน่วยงานภายใน และหน่วยงานภายนอก

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 56
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การประสานงานกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอก โดยในแต่ละจังหวัดจะมีการ
ซ้อมแผนร่วมกับหลายหน่วยงาน เช่น กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย ผู้ว่าราชการจังหวัด
ในฐานะประธานคณะกรรมการโรคติดต่อ โรงพยาบาลเอกชน เป็นต้น ทาให้มีแนวทางปฏิบัติอย่างสอดคล้องกัน
และทาให้การสั่งการในภาวะฉุกเฉินได้รวดเร็วและปฏิบัติไปในแนวทางเดียวกัน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การประสานงานกับหน่วยงานภายใน และภายนอกมีการประสานงานทั้งในรูปแบบ
เป็นทางการ เช่น หนังสือราชการ และแบบไม่เป็นทางการ เพื่อให้เกิดความรวดเร็วในการจัดการภาวะฉุกเฉิน
ได้ทันท่วงที มีการสั่งการ มอบนโยบาย ในการปฏิบัติทุกครั้งที่มีการประชุม EOC สามารถนาไปเป็นแนวทางปฏิบัติ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น และเมื่ อ เกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น วางแผนการด าเนิ น งานเตรี ย มความพร้ อ มและ
ประสานงานในการให้บริการและจัดบริการทางการแพทย์ทั้งภาวะปกติ และเหตุฉุกเฉินวิกฤตทางการแพทย์ และ
สาธารณสุข สามารถประสานงานกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกกระทรวงสาธารณสุข เช่น การจัดหน่วย
รักษาพยาบาล รวมทั้งระบบส่งต่อให้มีประสิทธิภาพ การประสานความร่วมมือกับภาครัฐ ภาคเอกชน อาสาสมัคร
หรือมูลนิธิ รวมทั้งคณะกรรมการต่างๆ เพื่อเตรียมพร้อมด้านการแพทย์และสาธารณสุข
หมวดที่ 4 ระบบข้อมูล
4.1 การเชื่ อ มโยงข้ อ มู ล การปฏิ บั ติ ง านระหว่ า งศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์ แ ละ
สาธารณสุข(PHEOC/EOC) กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การเชื่อมโยงข้อมูลยังไม่มีระบบที่ชัดเจน ส่วนใหญ่จะเป็นหน่วยงานเก็บข้อมูล
และวิธีการเก็บรวบรวมถึงข้อมูลใช้แบบฟอร์มการรวบรวมที่แตกต่างกัน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การเก็บรวบรวมข้อมูล มีโปรแกรมเพิ่มมากขึ้น จากการพัฒนาโดยส่วนกลาง เช่น
CO-Ward ,CO-Lab แต่ยังมีปัญหาในส่วนการนาข้อมูลไปใช้ การปรับระบบบ่อย ทาให้ผู้ปฏิบัติงานเกิดความสับสน
รวมถึงความล่าช้าของโปรแกรมเมื่อมีการบันทึกข้อมูลจานวนมาก ควรมีการปรับปรุงระบบให้สามารถนาข้อมูล
ไปใช้ได้อย่างทันท่วงที ประกอบการตัดสินใจยกระดับภาวะฉุกเฉินของผู้บริหาร
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน เพื่อให้เกิดความร่วมมือกันทุกระดับในองค์กรอย่างเหมาะสม โดยกาหนดหน้าที่
และความรับผิดชอบของผู้ที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งแนวทางการประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้
เกิดการประสานงานระหว่างหน่วยงานภายใน และหน่วยงานภายนอกในการช่วยเหลือและกู้ภัย

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 57
เมื่อเกิดภาวะฉุ กเฉิ น ผู้ปฏิบัติงานจากหลายหน่วยงานสามารถทางานร่วมกันได้อย่างเป็นระบบและ
รวดเร็ว ภายใต้การบัญชาการเหตุการณ์อย่างเป็นเอกภาพ ข้อมูลบางอย่างได้ถูกกาหนดให้รายงาน แต่บางข้อมูล
ไม่มีโปรแกรมรองรับและซ้าซ้อน
หมวดที่ 5 Critical Information
5.1 ระบบการรายงาน ข้อมูลทรัพยากร ระบุตาแหน่งและสถานะของการปฏิบัติงานของทีมปฏิบัติการ
ทางการแพทย์และสาธารณสุข หรือทีมปฏิบัติการจากหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องผ่านอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่
จาเป็น
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีระบบรายงานที่แสดงตาแหน่ง และสถานะการปฏิบัติงาน รวมถึงทรัพยากร
ที่คงเหลือ (แบบ Real time) สามารถทาให้มีผลต่อการตัดสินใจจัดสรรทรัพยากรหรือบุคลากรเพิ่มเติมได้
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ควรมีโปรแกรมที่สามารถตรวจสอบข้อมูลทรัพยากร เช่น ยา เตียง อุปกรณ์ป้องกัน
อั น ตรายส่ ว นบุ ค คล รวมถึ ง ทรั พ ยากรบุ ค คล ที่ ป ฏิ บั ติ ง าน ก็ จ ะช่ ว ยให้ มี ก ารตั ด สิ น ใจในการบริ ห า รจั ด การ
สถานการณ์ได้อย่างรวดเร็วและเตรียมความพร้อมรองรับเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ระบบรายงานมีความสาคัญสาหรับการประเมินความพร้อม เพื่อรองรับสถานการณ์
และนาไปจัดทาแผนปฏิบัติการได้อย่างแม่นยา
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ระบบรายงานที่ถูกต้อง แม่นยา เป็นปัจจุบัน มีความสาคัญต่อการบริหารจัดการ
ทรัพยากรได้อย่างเหมาะสม ทันเวลา และสอดคล้องกับสถานการณ์ของแต่ละหน่วยบริการ
หมวดที่ 6 Incident management and response
6.1 การมีแนวทางปฏิบัติของแต่ละกลุ่มภารกิจอยู่ในศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข (PHEOC) ตามระบบบัญชาการเหตุการณ์
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น ผู้ รั บ ผิ ด ชอบในทุ ก กล่ อ งภารกิ จ มี ก ารรั บ ทราบหน้ า ที่ แ ละอ านาจที่ ชั ด เจน
ตามหนั งสื อแจ้ งเวีย นคาสั่ งคณะกรรมการตามระบบบัญชาการเหตุการณ์ฉุกเฉิน ทางสาธารณสุ ข ( Incident
Command System : ICS) ส าหรั บ ทุ ก โรคและภั ย สุ ข ภาพ และศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น (Emergency
Operation Center : EOC) เขตสุขภาพที่ 7
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ผู้รับผิดชอบในทุกกล่องภารกิจมีการรับทราบหน้าที่และอานาจตามคาสั่ง รวมถึง
มีการซ้อมแผนรองรั บสถานการณ์ และการประชุมมอบนโยบายและข้อสั่ งการ โดยผู้ ตรวจราชการกระทรวง
สาธารณสุขทาให้ทุกกล่องภารกิจดาเนินการได้ตามหน้าที่และอานาจ ได้อย่างเรียบร้อย และมีประสิทธิภาพ

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 58
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีแนวทางปฏิบัติของแต่ละกล่องภารกิจทาให้ทราบถึงบทบาทหน้าที่และความ
เชื่อมโยงระหว่างกันเมื่อต้องปฏิบัติการจริงได้อย่างดี
เมื่อเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น ระบบบั ญชาการเหตุการณ์ สามารถจัดการเหตุการณ์ฉุกเฉินได้ทุกโรคและภัย
สุขภาพดีกว่าการใช้ระบบการทางานแบบปกติตอบโต้เหตุการณ์ในภาวะฉุกเฉิน แนวทางปฏิบัติของแต่ละกล่อง
ภารกิจทาให้การปฏิบัติหน้าที่ของแต่ละงานมีความชัดเจน ไม่ทับซ้อนกันและยังช่วยให้การประสานงานระหว่าง
กล่องภารกิจมีความชัดเจน รวดเร็ว
6.2 การแต่งตั้งหรือกาหนดตัวเจ้าหน้าที่ที่จะปฏิบัติงานตามโครงสร้างการบัญชาการเหตุการณ์ภายใต้
การดาเนินงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC./EOC) และสามารถ
นาไปใช้เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข และมีประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานอย่างไร
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การแต่งตั้งหรือกาหนดตัวเจ้าหน้าที่ที่จะปฏิบัติงานตามโครงสร้างการบัญชาการ
เหตุการณ์ภ ายใต้การดาเนิ นงานของศูน ย์ ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุ ข การกาหนด
บุคลากรที่ชัดเจน ทาให้เจ้าหน้าที่ได้รับการแต่งตั้งรับทราบหน้าที่และอานาจ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การกาหนดบุคลากรที่ชัดเจน ทาให้เจ้าหน้าที่ได้รับการแต่งตั้งรับทราบหน้าที่และ
อานาจ เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินสามารถเรียกประชุม และมอบหมายการปฏิบัติงานที่สาคัญตามบทบาทที่ได้รับ และมี
บุคลากรสารองเพื่อให้ ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (PHEOC./EOC) สามารถปฏิบัติงานได้อย่างต่อเนื่อ งตาม
ความจาเป็น เมื่อมีภารกิจเพิ่มมากขึ้น
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การแต่งตั้งหรือกาหนดตัวเจ้าหน้าที่ที่จะปฏิบัติงานตามโครงสร้างการบัญชาการ
เหตุการณ์ภายใต้การดาเนินงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข จะช่วยทาให้การ
ประสานงานทาได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น มีความชัดเจน ลดขั้นตอน ลดเวลาการสื่อสาร
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน มีประโยชน์ในการปฏิบัติงาน คือสานักงานสาธารณสุขจังหวัดเป็นหน่วยงานสาคัญ
ที่มีบทบาทในการขับเคลื่อนการดาเนินงานศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน และจัด การภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์
และสาธารณสุขให้มีประสิทธิภาพ เป็นเครื่องมือที่มีความสาคัญในการนามาใช้รับมือภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
และเป็นการเตรียมความพร้อมระบบจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (PHEM) การกาหนดตัวเจ้าหน้าที่จะช่วย
ทาให้การประสานงานทาได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น มีความชัดเจน ลดขั้นตอน ลดเวลาการสื่อสาร สามารถนา
ข้อมูลที่ได้จากผู้รับผิดชอบตรงไปใช้ในการตัดสินใจหรือบริหารจัดการทรัพยากรได้อย่างเหมาะสม

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 59
หมวดที่ 7 การสื่อสารความเสี่ยง (Risk Communications) และการเตือนภัย
7.1 การมีแผน/แนวทางการสื่อสารความเสี่ยงตามโรคและภัยสุขภาพที่วิเคราะห์หรือประเมินความ
เสี่ยงได้หรือตามเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉิน และมีประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานอย่างไร
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การเฝ้าระวังข้อมูลข่าวสารจากสื่อต่างๆ ทุกช่องทาง และประเมินการรับรู้ของ
สาธารณะ จัดทาแผนการสื่อสารความเสี่ยงและตอบโต้ที่เหมาะสมและรวดเร็ว มีการสื่อสารความเสี่ยงที่รวดเร็ว
ตามระดับความเสี่ยงในภาวะฉุกเฉิน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การจัดทาแผนการสื่อสารความเสี่ยงตามโรคและภัยสุขภาพ รวมถึงจัดทาข้อมูล
ข่าวสาร ประเด็นข่าว (Press release) ประเด็นสาร (Talking point) ที่ถูกต้องแม่นยา ครบถ้วน และเหมาะกับ
สถานการณ์ จัดทาเอกสาร เพื่อใช้ในการแถลงข่าว สื่อสารทางช่องทางต่าง ๆ มีการจัดทารายงานผลการปฏิบัติงาน
รายงานต่อผู้บัญชาการเหตุการณ์สามารถใช้ในการวางแผนดาเนินการตอบโต้เหตุการณ์ ภาวะฉุกเฉิน และสื่อสาร
ให้ประชาชนรับทราบสถานการณ์ทันเวลา
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น เพื่ อ เฝ้ า ระวั ง ข้ อ มู ล ข่ า วสารจากสื่ อ ต่ า งๆ ทุ ก ช่ อ งทาง และประเมิ น การรั บรู้
ของสาธารณะ (Public perceptions) เพื่อวิเคราะห์ความเสี่ยงและจัดทาแผนการสื่อสารความเสี่ยงที่เหมาะสม
และรวดเร็ว
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การสื่อสารความเสี่ยง เป็นการประชาสัมพันธ์สร้างความรู้ ความเข้าใจแก่ประชาชน
และชุมชน โดยเป็นการบริหารจัดการแบบบูรณาการ สามารถเน้นย้าเรื่องการให้เครือข่ายในระดับพื้ นที่เฝ้าระวัง
สอดส่องประชาชนที่มาจากพื้นที่อื่นร่วมกันให้ข้อมูลและสื่อสารที่ถูกต้องแก่ประชาชนโดยยึดสื่อกลาง เพื่อเป็น
แนวทางเดียวกัน
หมวดที่ 8 การสื่อสารภายใน (หมายถึง การสื่อสารภายในระบบ ICS)
8.1 แนวทางการดาเนินงานสาหรับการสื่อสารในองค์กร
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การเฝ้าระวังข้อมูลข่าวสารต่างๆ ทุกช่องทาง และประเมินการรับรู้ของสาธารณะ
ดาเนินการสื่อสารความเสี่ยง (ผ่านช่องทางต่างๆ รวมทั้งผลิตสื่อ เพื่อเผยแพร่ด้วยรูปแบบและภาษาที่เหมาะสม)
เพื่อให้คนในองค์กรทราบ ทาให้การประสานกับกลุ่ มภารกิจต่างๆ ในองค์การ สามารถจัดการข้อมูลที่จาเป็น
เพื่อเผยแพร่ และสื่อสารความเสี่ยงได้ดี มีประสิทธิภาพ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การจัดทาแผนการสื่อสารความเสี่ยง สามารถตอบโต้สื่อสารความเสี่ยงได้อย่าง
เหมาะสมและรวดเร็ ว การจั ดทาข้อมูล ข่าวสาร ประเด็นข่าว (Press release) ประเด็นสาร (Talking point)
ที่ถูกต้องแม่นยา และครบถ้วน เหมาะกับสถานการณ์ การสื่อสารภายในองค์กรที่ดี เป็นการอานวยความสะดวก
ในการติดต่อสื่อสารเป็นแนวทางเดียวกัน

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 60
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การสื่อสารของหัวหน้ากล่องภารกิจ ซึ่งเป็นผู้บริหารในระดับเขตสุขภาพ ซึ่งมีความ
เข้าใจในนโยบายของผู้บัญชาการเหตการณ์ คือผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพ และสาธารณสุข
นิเทศก์ เขตสุขภาพ ซึ่งการสื่อสารภายในกล่องภารกิจ และระหว่างแต่ละกล่องภารกิจ จึงเป็นสิ่งจาเป็นยิ่งสาหรับ
กิจกรรมและการดาเนิ นงานต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นก็จะส่งผลให้การปฏิบัติงานตามนโยบายเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
บุคลากรในแต่ละกล่ องภารกิจเกิดความพึงพอใจ และเข้าใจนโยบายได้อย่างชัดเจน เพื่อให้เกิดประสิทธิภ าพ
และประสิทธิผลต่อการจัดการภาวะฉุกเฉิน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ตามคาสั่งคณะกรรมการตามระบบบัญชาการเหตุการณ์ฉุกเฉินทางสาธารณสุ ข
(Incident Command System : ICS) ส าหรั บ ทุ ก โรคและภั ย สุ ข ภาพ และศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น
(Emergency Operation Center : EOC) เขตสุ ขภาพที่ 7 และผั ง ICS ซึ่งประธานในแต่ ล ะกล่ อ งภารกิ จ คือ
ผู้บริหารภาย ในเขตสุขภาพที่ 7 ซึ่งได้รับคาสั่งแต่งตั้งและในแต่ละกล่องภารกิจมีคณะกรรมการในระดับจังหวัดทุก
จังหวัด เมื่อมีการประสานงานเร่งด่วนจึงสามารถประสานได้อย่างรวดเร็ว และในส่วนของสานักงานเขตสุขภาพที่ 7
ซึ่ ง เป็ น เลขานุ ก ารคณะกรรมการฯ ก็ มี ก ารสื่ อ สารนโยบาย และข้ อ สั่ ง การล งไปยั ง ทุ ก จั ง หวั ด ในเขตท าให้
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อการจัดการภาวะฉุกเฉิน โดยเฉพาะในสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัส
โครโรนา 2019
หมวดที่ 9 Coordination and logistical support of field operations
9.1 การสนับสนุนทีมปฏิบัติการพร้อม อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็นสาหรับลงพื้นที่ภาคสนาม
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิด ภาวะฉุ กเฉิน การสนับสนุนทีมปฏิบัติการพร้อม อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็นสาหรับลงพื้ นที่
ภาคสนาม ต้องมีการวางแผนเตรียมความพร้อมก่อนลงพื้นที่
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ควรมีการสนับสนุนทีมปฏิบัติการพร้อม อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็นสาหรับลงพื้นที่
ภาคสนาม ในพื้ น ที่ ที่ เ กิ ด ภาวะวิก ฤติเ กิ น ศัก ยภาพของบุค ลากรในพื้ น ที่นั้ น ซึ่ ง เขตสุ ข ภาพที่ 7 มี ก ารส่ ง ทีม
ปฏิบัติการ ไปช่วยจังหวัดสมุทรสาคร และโรงพยาบาลสนามบุษราคัม และศูนย์แรกรับ กทม. ในช่วงเกิดการ
ระบาดใหญ่ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในช่วงปี พ.ศ. 2563 – 2564 ในส่วนของค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
และเครื่องมือ อุปกรณ์ เวชภัณฑ์ จาเป็นควรมีการสนับสนุนจากส่วนกลางเพิ่มเติมในส่วนที่ไม่เพียงพอ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ควรจะให้มีการสนับสนุนอุปกรณ์/เครื่องมือจาเป็นสาหรับทีมภาคสนาม แต่ต้องมี
การสารวจจานวนความต้องการ แผนปฏิบัติงาน และจานวนอุปกรณ์คงเหลือที่มีอยู่แล้วในภาคสนาม เพื่อให้มีการ
สนับสนุนอย่างเหมาะสม

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 61
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การสนับสนุนอุปกรณ์ฯ สาหรับภาคสนามมีความจาเป็น แต่ต้องมีการควบคุมกากับ
รายงานการใช้ จานวนคงเหลือ พร้อมตรวจสอบสภาพความพร้อมใช้ของวัสดุอุปกรณ์และจัดทาแผนปฏิบัติการ
ที่เป็นปัจจุบันเพื่อให้มีการสนับสนุนที่เหมาะสม มีการบริการภายใต้ข้อจากัดในระยะแรก แต่สามารถใช้งบฉุกเฉิน
เพื่อแก้ไขปัญหาได้ พร้อมทั้งขอสนับสนุนงบประมาณจากส่วนกลาง
9.2 การสนับสนุน จัดเก็บ จัดส่งยาเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาในคลังเวชภัณฑ์ อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็น
ให้กับทีมปฏิบัติการ
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น มี ก ารบริ ห ารจั ด การในระดั บ จั ง หวั ด มี ก ารจั ด ส่ ง ทรั พ ยากรไปยั ง ส านั ก งาน
สาธารณสุขจังหวัดและโรงพยาบาล
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ยาเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาในคลังเวชภัณฑ์ อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็นให้กับทีมปฏิบัติการ
มีการจัดส่งทรัพยากรไปยัง สสจ.และโรงพยาบาล ให้มีการบริหารจัดการภายในจังหวัด และมีทรัพยากรบางส่วน
ที่จัดส่งมายังสานักงานเขตสุขภาพที่ 7 ก็จัดสรรให้กับทุกจังหวัดอย่างเป็นธรรม ภายใต้คณะกรรมการ EOC
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การจัดเก็บ ยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยาฯ ในคลังส่วนกลาง เพื่อเป็นคลังสารองจานวน
หนึ่ง เพื่อใช้ในการหมุนเวียนเวชภัณฑ์แก่หน่วยบริการต่างๆ ตามสถานการณ์เร่งด่วน แต่อาจไม่ต้องจัดส่งเวชภัณฑ์
ให้กับทีมปฏิบัติการด้วยตนเอง ทีมปฏิบัติการควรมีการจัดเตรียมระบบขนส่งเพื่อรับเวชภัณฑ์และนาไปใช้ที่จุด
บริการ เพราะส่วนกลางอาจมีรถไม่เพียงพอ
เมื่ อ เกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น การจั ด เก็ บ ยาและเวชภั ณ ฑ์ มิ ใ ช่ ย าในคลั ง ส่ ว นกลาง เพื่ อ เป็ น คลั ง ส ารอง
และทาหน้าที่กระจายเวชภัณฑ์ไปยังจุ ดบริ การ โดยควรเตรียมความพร้อมของรถขนส่งเพื่อใช้จัดส่ งเวชภั ณฑ์
ในกรณีทีมปฏิบัติการต้องการการสนับสนุนเร่งด่วนแต่ในสถานการณ์ไม่เร่งด่วน สามารถให้ทีมปฏิบัติการเข้ามารับ
สิ่งสนับสนุนด้วยตนเองได้
หมวดที่ 10 Training, Exercise and Evaluation
10.1 การจัดอบรมตามหลักสูตรกลาง (ICS100) ที่จัดตั้งขึ้นมาเป็นการเฉพาะเพื่อฝึกอบรมเจ้าหน้าที่
ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC) และเจ้าหน้าที่ตามโครงสร้าง ICS
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น จ าเป็ น ควรสนับสนุนให้ บุคลากรเข้ารับการอบรมเกี่ยวกับโครงสร้างของศูนย์
ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน ทางการแพทย์และสาธารณสุ ข (PHEOC /EOC) และระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS)
เป็นการสร้างความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระบบบัญชาการเหตุการณ์
และศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขในเบื้องต้นให้กับบุคลากรและคณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้ง

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 62
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน หัวหน้ากล่องภารกิจทุกกล่อง ในระดับจังหวัดได้รับการอบรม ICS 100 แต่บุคลากร
ในสานักงานเขตสุขภาพที่ 7 ยังไม่ได้เข้ารับการอบรม จึงควรมีการเปิดอบรม และให้เจ้าหน้าที่ผู้ที่สนใจ เข้าร่วมการอบรม
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การเข้าอบรมหลักสูตรการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ระบบบัญชาการ
เหตุการณ์และศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน เป็นการพัฒนาองค์ความรู้และศักยภาพในการปฏิบัติงาน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน บุคลากรในสานักงานสาธารณสุขจังหวัดมีความจาเป็นต้องเข้าอบรมหลักสูตรการ
จั ดการภาวะฉุกเฉิน ทางสาธารณสุ ข ระบบบัญชาการเหตุการณ์และศูนย์ปฏิบัติก ารภาวะฉุกเฉิน เพื่อพัฒ นา
องค์ ค วามรู้ แ ละศั ก ยภาพในการปฏิ บั ติ ง าน และเป็ น การยกระดั บ การพั ฒ นาระบบปฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น
ทางสาธารณสุขที่เกิดจากโรคและภัยสุขภาพได้อย่างอย่างเท่าเทียม ทันสถานการณ์ด้วยเทคโนโลยี ที่เหมาะสม
10.2 แผน (BCP/IAP) ระบบการบริหารจัดการข้อมูล และกิจกรรม การฝึกซ้อมแผนเป็นการเฉพาะ
ให้กับเจ้าหน้าที่ตามคาสั่งศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC)
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การจัดทาแผนดาเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องสาหรับการบริหารความพร้อมต่อสภาวะ
วิกฤต (Business Continuity Plan : BCP) จัดทาขึ้นเพื่อเตรียมความพร้อมรองรับภาวะฉุกเฉินและการจัดการ
ในการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพตามมาตรฐานสากล โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดผลกระทบจากความเสี่ยง
ในสถานการณ์ต่างๆ เตรียมความพร้อมบทบาทหน้าที่ รวมทั้งแนวทางปฏิบัติในขณะเกิ ดเหตุให้สามารถแก้ไข
เหตุการณ์ได้อย่างเหมาะสม รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพและเพื่อลด์การสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินของข้าราชการ
เจ้าหน้าที่ และของทางราชการ รวมทั้งเป็นการเตรียมความพร้อมโดยมุ่งหวังให้ข้าราชการ และเจ้าหน้าที่ของ
เขตสุ ขภาพที่ 7 มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกัน และรู้วิธีปฏิบัติอย่างถูกต้องตามขั้นตอน สามารถเผชิญ
ต่อสถานการณ์ฉุกเฉินที่เกิดขึ้นได้อย่างทันท่วงที รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
เมื่ อ เกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น ได้ เห็ นถึ งความส าคั ญ และความจ าเป็ นของแผน (BCP/IAP) จึ งมี การประชุ ม
เชิงปฏิบัติการถอดบทเรียนการจัดทาแผนประคองกิจการ (Business Continuity Plan : BCP) และจัดทาแผน "พร้อม
รับและปรับตัว" (Resilience for COVID - 19)เขตสุขภาพที่ 7งบประมาณ พ.ศ. 2565 สาหรับการบริหารความพร้อม
ต่อสภาวะวิกฤติจากโรคติดเชื้ออุบัติใหม่ในสถานพยาบาล จัดทาแผน และซ้อมแผน ระดับเขตสุขภาพที่ 7
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการบริหารความต่อเนื่องของการปฏิบัติงานในสภาวะวิกฤต
เพื่อให้หน่วยงานมีการเตรียมความพร้อมล่วงหน้าในการรับมือกับสภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ฉุกเฉินต่างๆ ที่เกิดขึ้น
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการบริหารความต่อเนื่องของการปฏิบัติงานในสภาวะวิกฤต
เพื่อลดผลกระทบจากการหยุดชะงักในการดาเนินธุรกิจหรือการให้บริการ เพื่อบรรเทาความเสียหายให้อยู่ในระดับ
ที่ยอมรับได้ เช่น ผลระทบด้านเศรษฐกิจ การเงิน การให้บริการ สังคม ชุ มชน และสิ่งแวดล้อม ตลอดจนชีวิต
และทรัพย์สินของประชาชน เพื่อให้ประชาชน เจ้าหน้าที่ หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ หน่วยงานภาครัฐ และผู้มีส่วนได้
ส่วนเสีย (Stakeholders) มีความเชื่อมั่นในศักยภาพของหน่วยงาน แม้หน่วยงานต้องเผชิญกับเหตุการณ์ร้ายแรง
และส่งผลกระทบจนทาให้การดาเนินธุรกิจต้องหยุดชะงัก

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 63
พื้นที่เขตสุขภาพที่ 8
หมวดที่ 1 บริบท
1.1 การกาหนดพันธกิจและขอบเขตการปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข (PHEOC /EOC)
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน เป็นการกาหนดกรอบการดาเนินงาน กาหนดบทบาทภารกิจของแต่ละกลุ่มภารกิจ
ที่ชัดเจนในการปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน สาหรับการกาหนดพันธกิจและขอบเขต ในสถานการณ์จริง แต่ละกลุ่มภารกิจไม่ได้
แสดงบทบาทอย่ า งชั ด เจน มี ก ารทั บ ซ้ อ นภารกิ จ (Overlaps) เห็ น ได้ ชั ด เจน ได้ แ ก่ ก ลุ่ ม ภารกิ จ STAG SAT
และ Operations
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น เป็นการกาหนดกรอบการดาเนินงาน กาหนดทิศทางและขอบเขตการท างาน
ที่ชัดเจนก็จะทาให้งานประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย กาหนดบทบาทบาทภารกิจของแต่ละกลุ่มภารกิจที่ชัดเจน
เพื่อเตรียมความพร้อมในการรับมือต่อสถารณ์ฉุกเฉินที่เกิดขึ้นได้
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การกาหนดพันธกิจและขอบเขตการปฏิบติงานในแผนเผชิญเหตุด้านสาธารณสุข
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สามารถใช้เป็นแนวทางการปฏิบัติงานได้ ถูกเผยแพร่ไปสู่หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
สามารถส่งต่อพันธกิจและแนวทางการทางานแก่ผู้ปฏิบัติได้อย่างรวดเร็วและทันสถานการณ์ อีกทั้ง การกาหนด
ภารกิจที่ชัดเจน จาเป็น จะต้องมีคู่มือแนวทางการปฏิบัติในแต่ละภารกิจชัดเจน (SOP) เพื่อไม่ให้เกิดความผิดพลาด
ในการปฏิบัติงาน
1.2 การจั ด ท าแผนรองรั บ ภาวะฉุ กเฉิน ระดั บ จั ง หวั ด ตามภัย และการประเมิ น ความเสี่ย งที่ มี การ
จัดลาดับความสาคัญ
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การจัดทาแผนรองรับภาวะฉุกเฉินระดับจังหวัดตามภัยและการประเมินความเสี่ยง
จังหวัด ควรจัดทาแผนตามภัยและความเสี่ยงตามบริบทของพื้นที่
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การจัดทาแผนรองรับภาวะฉุกเฉิน จังหวัดไม่มีแผนสาหรับทุกภัย (All Hazard)
มีเพียงแผนตามความเสี่ยงของพื้นที่เท่านั้น

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 64
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การจัดการแผนรองรับภาวะฉุกเฉินตามภัยและการประเมินความเสี่ยงที่มีการ
จัดลาดับความสาคัญ มีความสาคัญในการเผชิญเหตุการณ์เป็นแนวทางในการดาเนินงาน เพื่อให้สามารถตอบสนอง
และจัดการโรคและภัยสุขภาพได้ มีความสาคัญและประโยชน์ในการปฏิบัติที่ยังไม่ชัดเจน ต้องมีการทาแผนรองรับ
เมื่อเกิดเหตุสามารถนาแผนงานต่างๆ มาดาเนินการได้อย่างรวดเร็ว ควรมีการจัดทาแผนรองรับภาวะฉุกเฉินระดับ
จังหวัดตามภัยและการประเมินความเสี่ยงที่มีการจัดลาดับความสาคัญ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน แผนรองรับภาวะฉุกเฉิน ขณะเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉินใช้เป็นแนวทางในการดาเนินงาน
มีปรับเปลี่ยนแนวทางตามสถานการณ์เพื่อให้สอดคล้องเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น มีความสาคัญในการทางานอย่างมาก
และมี ค วามชั ด เจนในทางปฏิ บั ติ เ มื่ อ เกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น สามารถปฏิ บั ติ ต ามแผนที่ ก าหนดไว้ อ ย่ า งเป็ น ระบบ
และรวดเร็ว ควรทบทวนผลการประเมอนความเสี่ยงอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง แผนรองรับภาวะฉุกเฉินระดับจังหวัด
ต้องถูกนามาปฏิบัติ เพื่อการบริหารจัดการ การเตรียมความพร้อม การจัดสรรทรัพยากรและกาลังคน ให้เหมาะสม
และสอดคล้องกับความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น และควรมีการซ้อมแผนสาหรับการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินที่มีความเสี่ยง
ที่จะเกิดในพื้นที่ตามลาดับ
หมวดที่ 2 ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉิน
2.1 โครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
(PHEOC/EOC) และระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS) (คน เงิน ของ)
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ควรมีการจัดโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับภาวะฉุกเฉิน เช่น การกาหนดมาตรฐาน
ขั้นต่าด้านโครงสร้าง ด้านกาลังคน (หน่วยบริการตาม Service plan A,S,M1,M2,F)
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การวางแผนด้านโครงสร้างพื้นฐานมาตรฐานขั้นต่า หรือ Protocol / CPG สาหรับ
หน่วยบริการในแต่ละระดับ (Level)
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (PHEOC./EOC)
และระบบการจัดการภาวะฉุกเฉิน ในภาวะปกติต้องมีการเตรียมความพร้อมด้าน Staff / Stuff/ Systems ไว้ใน
ระดับที่พร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทันที ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินฯ เป็นสถานที่ที่ใช้ในการปฏิบัติงานร่วมกัน
ของกลุ่มภารกิจต่างๆ ภายใต้ระบบบัญชาการเหตุการณ์ เพื่อสนับสนุนการบริหารสั่งการ ประสานงานแลกเปลี่ยน
ข้อมูล และทรั พยากรให้ เกิดขึ้น อย่ างรวดเร็ วในภาวะฉุกเฉินจาเป็นต้องมีวัสดุ อุปกรณ์ที่ต้องใช้งานและต้องมี
บุ คลากรและงบประมาณในการปฏิ บั ติภ ารกิจ ควรมี การจั ดโครงสร้ า งพื้น ฐานเพื่ อ รองรั บภาวะฉุ ก เฉิน เช่น
การกาหนดมาตรฐานขั้นต่าด้านโครงสร้าง ด้านกาลังคน (หน่วยบริการตาม Service plan A S M1 M2 F)

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 65
เมื่อเกิดภาวะฉุ กเฉิ น ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน(PHEOC/EOC) และระบบการจัดการภาวะฉุ กเฉิน
ในภาวะฉุ ก เฉิ น ต้ อ งมี ศั ก ยภาพหรื อ มี แ ผนในการสนั บ สนุ น Staff / Stuff/ Systems ได้ ต ลอดเวลา เพื่ อ เพิ่ ม
ประสิทธิภาพในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินในทุกภารกิจ มีสถานที่ในการจัดประชุม มีวัสดุ อุปกรณ์และเทคโนโลยี
ในการประชุม แต่สถานที่ปฏิบติงานในแต่ละกลุ่มภารกิจจะแยกสถานที่เป็นกลุ่มงานหรือห้องประชุมย่ยตามภารกิจ
ทีไ่ ด้รับมอบหมายการประสานงานและสั่งการ กาหนดพื้นที่หรือสถานที่สาหรับศูนย์ปฏิบัติการฯ หลักแล้วที่ชัดเจน
และเหมาะสมสาหรับการทางานตามที่หน่วยงานกาหนด เมื่อเกิดสถานการณ์ฉุกเฉิน สามาถเปิดศูนย์ปฏิบัติการฯ
ได้ทันที
2.2 การอบรมบุคลากรให้มีความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์
และสาธารณสุข (PHEOC /EOC) และระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS)
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ควรมีการอบรมให้ความรู้บุคลากรทุกระดับ และทุกแผนก กลุ่ม ฝ่าย ให้มีความรู้
ระบบบัญชาการเหตุการณ์
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน มีเพียงบุคลากรบางส่วนเท่านั้นที่เข้าใจในระบบบัญชาการเหตุการณ์ บุคลากรส่วน
ใหญ่ยั งไม่เข้าใจระบบ โดยเฉพาะบุ คลากรสายสนับสนุน (Back office) ยังมีก ารปฏิบัติงานแบบงานประจ า
(Routine)
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น การอบรมพั ฒ นาบุ ค ลากรให้ มี ค วามรู้ เ กี่ ย วกั บ โครงสร้ า งศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารฯ
และระบบบัญชาการเหตุการณ์มีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดาเนินการ เพื่อให้บุคลากรเกิดความรู้ความเข้าใจ
และดาเนินงานจั ดการภาวะฉุกเฉินไปในทิศทางเดียวกัน บุคลากรขาดประสบการณ์ ต้องเตรียมความรู้ ให้ แก่
บุคลากรที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้บุคลากรทราบบทบาทและหน้าที่เมื่อเกิดสถานการณ์ฉุกเฉิน
เมื่ อ เกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น อบรมหลั ก สู ต รระบบบั ญ ชาการเหตุ ก ารณ์ ภ าวะฉุ ก เฉิ น ทางสาธารณสุ ข
แก่บุ คลากรตามโครงสร้ างที่เป็ น ทั้งหั วหน้ ากล่องภารกิจหลั ก และผู้ ปฏิบัติงาน โดยอาจจะเปิดให้มีการเรียนรู้
โดยหลั ก สู ต ร E-learning หรื อ อาจเป็ น การทดสอบให้ ผ่ า นเกณฑ์ ม าตรฐาน บุ ค ลากรที่ ไ ด้ รั บ การอบรม
สามารถดาเนินการได้ตามขั้นตอนที่วางไว้อย่างรวดเร็วและทันต่อสถานการณ์
หมวดที่ 3 กรอบโครงสร้างการทางาน
3.1 การมี ร ะบบหรื อ กลไกการประสานงานของศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์ แ ละ
สาธารณสุข (PHEOC/EOC) กับหน่วยงานภายใน และหน่วยงานภายนอก

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 66
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีระบบหรือกลไกการประสานงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการ
แพทย์และสาธารณสุข ควรมีระบบการประสานงานกับหน่วยงานภายในและภายนอก ควรมีการกาหนดบทบาท
ของกลุ่มภารกิจให้ชัดเจน
เมื่อเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น ไม่มีการกาหนดกลไก หรือ Protocol/ SOPs ในการประสานงานภายในและ
ภายนอกที่ชัดเจน เช่น กลุ่มภารกิจ Liaison แสดงบทบาทในการจัดทาคาสั่ ง จัดการประชุม หรือ รับหนังสื อ
เพื่อส่งให้กลุ่มภารกิจที่เกี่ยวข้องเท่านั้น ไม่ได้แสดงบทบาทเป็นผู้ประสานงาน กับหน่วยงานภายนอกโดยตรง
เป็นต้นการประสานงานกับหน่วยงานภายนอก เป็นกลุ่มภารกิจที่เกี่ยวข้อง เช่น กลุ่มภารกิจ SAT/ Operations
ทาหน้าที่ประสานงานกับคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด กลุ่มภารกิจ Stockpile & Logistic ประสานงานโดยตรง
กับกองสาธารณสุขฉุกเฉินหรือสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา เป็นต้น
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น การด าเนิ น งานของศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารฯ ต้ อ งอาศั ย ความร่ ว มมื อ จากหน่ ว ยงาน
ที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอก จึงจาเป็นต้องมีระบบหรือกลไกการประสานาน เพื่อให้สามารถดาเนิน งาน
ได้ตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ ควรมีการสื่อสารความเสี่ยงที่เกิดขึ้นทั้งภายในและภายนอกประเทศเพื่อให้ทรัพยากร
ที่จ าเป็ น ต้องใช้ห ากเกิดภาวะฉุกเฉิน ควรมีการกาหนดโรคภัยและความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น และมีการสื่ อสาร
ให้ ท ราบทั้ ง ภายในและภายนอกหน่ ว ยงาน ท าให้ มี ค วามคล่ อ งตั ว ในการ Activate EOC เนื่ อ งจากมี ก าร
ติดต่อสื่อสารที่รวดเร็ว
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การกาหนดกลไกหรือ Protocol /SOPs ในการประสานงานภายในและภายนอก
ที่ชัดเจน ภาคีเครือข่ายมีความสาคัญในการดาเนิน งาน จึงจาเป็นต้องมีระบบบหรือกลไกการประสานงาน เพื่อให้
สามารถด าเนิ น งานได้ ต ามเป้ า หมายที่ ก าหนดไว้ ทุ ก หน่ ว ยงานต้ อ งพร้ อ มรั บ สถานการณ์ ทั้ ง ด้ า นบุ ค ลากร
และทรัพยากรอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินทุกหน่วยงานต้องปฏิบัติตามข้อมูลที่กาหนด ทาให้มีความ
คล่องตัวในการ Activate EOC เนื่องจากมีการติดต่อสื่ อสารที่รวดเร็ว และจัดเวรแต่ละหน่วยงานประจาศูนย์
เพื่อสื่อสารส่งต่อภารกิจ
หมวดที่ 4 ระบบข้อมูล
4.1 การเชื่ อ มโยงข้ อ มู ล การปฏิ บั ติ ง านระหว่ า งศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์ แ ละ
สาธารณสุข(PHEOC/EOC) กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ควรมีการวางแผนการเชื่อมโยงข้อมูล กาหนดชุดข้อมูล (Data set) การกาหนด
สิทธิการเข้าถึงข้อมูล การใช้ข้อมูลร่วมกันระหว่างหน่วยงาน

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 67
เมื่อเกิดภาวะฉุ กเฉิน ในระดับเขตสุ ขภาพและระดับจังหวัดไม่มีการวางแผนด้านการเชื่อมโยงข้ อมูล
การกาหนดชุดข้อมูล หรือไม่มีการวางแผนการใช้ข้อมูลร่วมกัน โดยเฉพาะไม่มีการเชื่อมโยงข้อมูลกับหน่วยนงาน
ภายนอกกระทรวงสาธารณสุข ที่สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ข้อมูลมีความสาคัญในการประเมินสถานการณ์และความเสี่ยง หากข้อมูลที่ได้ดี
และมีประโยชน์ ทาให้ตัดสินใจหรือแก้ไขได้อย่างถูกต้องเหมาะสม การเชื่อมโยงข้อมูลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงมี
ความสาคัญในการปฏิบัติงาน ควรมีการสื่อสารและส่งต่อข้อมูลอย่างรวดเร็ว เพื่อเตรียมบุคลากรและทรัพยากร
ที่เกี่ยวข้อง สามารถรับข้อมูล นามาวิเคราะห์รายงานและเผยแพร่ข่าวสารผลการเฝ้าระวัง ติดตามประเมินความ
เสี่ยงของโรคและภัยสุขภาพได้ ทาให้เกิดความเป็น อันหนึ่งอันเดียวกัน มีการตอบโต้ ภาวฉุกเฉิน การประสานงาน
และการสื่อสารไปในทิศทางเดียวกัน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การเชื่อมโยงข้อมูลและการแลกเปลี่ยนข้อมูลการปฏิบัติงานระกว่างหน่ว ยงาน
ที่เกี่ยวข้อง มีความสาคัญในการดาเนินงานให้บรรลุเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานที่ได้รับการสื่อสาร ที่ถูกต้อง
รวดเร็ว และสามารถดาเนินการได้ตามที่วางแผน สามารถรับข้อมูล นามาวิเคราะห์รายงานและเผยแพร่ข่าวสาร
ผลการปฏิบัติงานภาคสนามได้ ทาให้เกิดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน มีการตอบโต้ การประสานงาน การสื่อสาร
ไปในทิศทางเดียวกัน เนื่องจากมีการเชื่อมโยงข้อมูลชุดเดียวกัน และรับฟังการสั่งการจากผู้บัญชาการเหตุการณ์
คนเดียวกัน
หมวดที่ 5 Critical Information
5.1 ระบบการรายงาน ข้อมูลทรัพยากร ระบุตาแหน่งและสถานะของการปฏิบัติงานของทีมปฏิบัติการ
ทางการแพทย์และสาธารณสุข หรือทีมปฏิบัติการจากหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องผ่านอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่
จาเป็น
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ระบบการรายงาน ข้อมูลทรัพยากร ระบุตาแหน่งและสถานะของการปฏิบัติงาน
ของที ม ปฏิ บั ติ ก ารทางการแพทย์ แ ละสาธารณสุ ข หรื อ ที ม ปฏิ บั ติ ก าร ควรมี ร ะบบข้ อ มู ล ชุ ด ข้ อ มู ล ที่ จ าเป็น
มีเครื่องมือ (Tools) ที่เหมาะสม
เมื่ อ เกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น ระบบรายงานมี ห ลายระบบ ซ้ าซ้ อ น (ต่ า งกรม ต่ า งรายงาน ต่ า งโปรแกรม)
เป็นภาระผู้ปฏิบัติต้องบันทึก ข้อมูลหลายระบบ ซ้าซ้อน ปัญหาการเข้าถึงข้อมูล การใช้ข้อมูลร่วมกันของผู้ปฏิบัติ
เช่น SAT จะเข้าถึงเฉพาะข้อมูลจานวนผู้ติดเชื้อ เท่านั้น ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลทรัพยากร เช่น ข้อมูลยา PPE
Stockpile เข้าถึงได้เฉพาะข้อมูลทรัพยากรเท่านั้น ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลจานวนผู้ป่วยได้ เป็นต้น

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 68
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีระบบรายงานข้อมูลทรัพยากร ระบุตาแหน่งสถานะของการปฏิบัติงานของ
ทีมปฏิบัติการทางการแพทย์และสาธารณสุข หรือทีมปฏิบัติการจากหน่วยงานอื่นที่ เกี่ยวข้องผ่านอุปกรณ์หรือ
เครื่องมือที่จาเป็น ทาให้รู้สถานการณ์และความเสี่ยงในการปฏิบัติงาน ควรมีการเตรียมข้อมูล และทีมงานเกี่ยวข้อง
ทั้งทีมปฏิบัติการทางการแพทย์และข้อมูลทรัพยากรอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ทาให้การติดตามสถานการณ์ การประเมิน
สถานการณ์มีความชัดเจนสามารถเตรียมความพร้อม คน เงิน ของ ได้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่จะเกิดขึ้น
เมื่อเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น ระบบการรายงานแข้อ มูล ทรั พยากรผ่ านอุ ปกรณ์ ห รื อเครื่ องมื อที่จ าเป็น เป็น
ฐานข้อมูลในการวิเคราะห์ ทาให้รู้สถานการณ์และคาดการณ์สิ่งที่จะเปิดขึ้นและสามารถหาแนวทางแก้ไขปัญหาที่
เกิดขึ้นได้อย่างทันท่วงที ควรมีระบบรายงานข้อมูลทรัพยากร และที มปฏิบัติการทางการแพทย์เพื่อความพร้อม
ในการเผชิญเหตุการณ์ มีทีมปฏิบัติการทางการแพทย์พร้อมและเพียงพอในการเข้าพื้นที่ รวมถึ งข้อมูลทรัพยากร
เพื่อสามารถกระจายทรัพยากรที่มีอย่างจากัด ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด และเหมาะสมกับสถานการณ์ที่เป็นในแต่
ละพื้นที่ ทั้งนี้ ระบบรายงานมีหลายระบบ ซ้าซ้อน (ต่างกรม ต่า งรายงาน ต่างโปรแกรม) เป็นภาระผู้ ปฏิบัติงาน
ต้ อ งบั น ทึ ก ข้ อ มู ล หลายระบบ ซ้ าซ้ อ น มี ปั ญ หาการเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล การใช้ ข้ อ มู ล ร่ ว มกั น ของผุ้ ปฏิ บัติ เช่ น SAT
จะเข้าถึงเฉพาะข้อมูลจานวนผู้ติดเชื้อเท่านั้น ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลทรัพยากร เช่น ข้อมูล ยา PPE Stockpile
เข้าถึงได้เฉพาะข้อมูลทรัพยากรเท่านั้น ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลจานวนผู้ป่วยได้ เป็นต้น
หมวดที่ 6 Incident management and response
6.1 การมีแนวทางปฏิบัติของแต่ละกลุ่มภารกิจอยู่ในศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข (PHEOC) ตามระบบบัญชาการเหตุการณ์
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น ควรมี แ นวทางปฏิ บั ติ (Protocol/ SOPs/CPGs) ส าหรั บ แต่ ล ะกลุ่ ม ภารกิ จ
ที่ ส ามารถเข้ า ถึ ง ได้ ง่ า ย ไม่ แ ยกแนวทางของแต่ ล ะกรม เช่ น นิ ย ามโรค ของกรมควบคุ ม โรค แนวทางรั กษา
ของกรมการแพทย์ มาตรฐานสถานกักกัน (Quarantine) ของกรมอนามัย หรือกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เป็นต้น
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ไม่มีแนวทางปฏิบัติที่เป็นมาตรฐานระดับจังหวัดและระดับเขตสุขภาพ ใช้แนวทาง
จากส่วนกลางซึ่งอาจไม่เหมาะกับบริบทของพื้นที่
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น ทุกกลุ่ มภารกิจที่อยู่ในศูนย์ปฏิบั ติการฯ จะต้องรู้บทบาทหน้าที่และแนวทาง
ปฏิบัติงาน ขั้นตอนการดาเนินวานที่ทาให้งานประสบผลสาเร็จ มีการกาหนดหน้าที่ของแต่ละภารกิจให้ชัดเจน
และขอบข่ายการดาเนินงานที่เกี่ยวข้องทั้งนี้ ควรมีแนวทางปฏิบัติ สาหรับแต่ละกล่มภารกิจที่สามารถเข้าถึงได้ง่าย
ไม่แยกแนวทางของแต่ละกรม เช่น นิยามโรค ของกรมควบคุมโรค แนวทางรัก ษา ของกรมการแพทย์ มาตรฐาน
กักกัน ของกรมอนามัยหรือกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 69
เมื่ อ เกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น แนวทางปฏิบัติของแต่ล ะกลุ่ มภารกิจ ในศู นย์ปฏิ บัติ การภาวะฉุ กเฉิน ร่ว มกั บ
ความสามารถของระบบบัญชาการเหตุการณ์ ทาให้การดาเนินงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น รวมถึงความสามารถ
ในการปรับเปลี่ยนบทบาทหน้าที่ตามความเหมาะสมของพื้นที่ด้วย ทั้งนี้ ทุกกลุ่มภารกิจควรมีการจัดทาคู่มือการ
ปฏิบัติงาน SOP เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติงาน และขั้นตอนการดาเนินงานที่ทาให้งานประสบผลสาเร็จ สามารถทา
ให้ปฏิบัติงานตามกรอบภารกิจได้อย่างรวดเร็ว และเป็นไปตามแผนงานที่วางไว้อย่างเคร่งครัด
6.2 การแต่งตั้งหรือกาหนดตัวเจ้าหน้าที่ที่จะปฏิบัติงานตามโครงสร้างการบัญชาการเหตุการณ์ภายใต้
การดาเนินงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC./EOC) และสามารถ
นาไปใช้เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข และมีประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานอย่างไร
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น ควรมีการคุณสมบัติเฉพาะตาแหน่ง หรือภารกิจ ให้ เหมาะสมกับกลุ่ มภารกิจ
สามารถประยุกต์ความรู้ ทักษะที่จาเป็น เช่น SAT ต้องเป็นบุคลากรสายวิชาชีพ และหรือ ผ่านการอบบรมระบาด
วิทยา/ CDCU /FEMT มีประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานคือ การมีความรู้ความสามารถและทักษะ มีความเป็นมืออาชีพ
ในการปฏิบัติงาน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ในสถานการณ์จริงไม่สามารถกาหนดตาแหน่ง หรือตัวบุคคล ได้ตรงตามภารกิจ
ทุกภารกิจ เนื่องจากบางสถานการณ์บุค ลากรติดเชื้อจากการปฏิบัติงานทาให้ขาดอัตรากาลัง บางกลุ่มภารกิจ
มีอัตรากาลังหรือบุคลากรที่มีคุณลักษณะ หรือคุณสมบัติไม่ตรงตามภารกิจ เช่น กลุ่มภารกิจ SAT, CM อาจใช้
ต าแหน่ ง นั ก วิ ช าการคอมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยในการจั ด การข้ อ มู ล ผู้ ผู้ ป่ ว ย กลุ่ ม ภารกิ จ Finance อาจใช้ ต าแหน่ ง
นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ช่วยในการจัดสรรค่าตอบแทน กลุ่มภารกิจสื่อสารความเสี่ยง ส่วนใหญ่ใช้ตาแหน่ง
นักวิชาการสาธารณสุข เป็นต้น
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ควรมีการจัดทารายชื่ อผู้เชี่ยวชาญ หัวหน้ากลุ่มภารกิจ ผู้รับผิดชอบหลักในแต่ละ
กลุ่มภารกิจ เพื่อเป็นตัวหลักกรณีเกิดภาวะฉุกเฉิน ซึ่งจะทาให้ทราบบทบาทของตน ทราบภารกิจที่ได้รับมอบหมาย
เพื่อเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติงาน ควรมีการคุณสมบัติเฉพาะตาแหน่งหรือภารกิจ ให้เหมาะสมกับกลุ่ ม
ภารกิจ สามารถประยุกต์ความรู้ทักษะที่จาเป็น เช่น SAT ต้องเป็นบุคลากรสายวิชาชีพ และหรือผ่านการอบรม
ระบาดวิทยา / CDCU /FEMT
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ในสถานการณ์จริง ไม่สามารถกาหนดตาแหน่ง หรือตัวบุคคลได้ตรงตามภารกิจ
ทุกภารกิจ เนื่องจากบางสถานการณ์บุคลากรติดเชื้อจากการปฏิบัติงานทาให้ขาดอัตรากาลัง บางกลุ่มภารกิจ
มีอัต รากาลั งหรื อบุคลากรที่มีคุณลักษณะหรือคุณสมบัติไม่ตรงตามภารกิจ ทั้งนี้ ควรมีก ารจัดทาบัญชีรายชื่อ
ผู้เชี่ยวชาญ หัวหน้ากลุ่มภารกิจ ผู้รับผิดชอบหลักในแต่ละกลุ่มภารกิจ เพื่อให้สามารถติดต่อและมอบหมายภารกิจ
กรณีเกิดภาวะฉุกเฉิน และการกาหนดตัวเจาหนาที่ที่จะปฏิบัติ หนาที่ บุคลากรสารองเพื่อใหศูนย์ ปฏิบัติการภาวะ
ฉุกเฉิน (PHEOC/EOC) สามารถปฏิบัติงานต่อเนื่อง

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 70
หมวดที่ 7 การสื่อสารความเสี่ยง (Risk Communications) และการเตือนภัย
7.1 การมีแผน/แนวทางการสื่อสารความเสี่ยงตามโรคและภัยสุขภาพที่วิเคราะห์หรือประเมินความ
เสี่ยงได้หรือตามเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉิน และมีประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานอย่างไร
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ควรมีการสื่อสารความเสี่ยงหรือมีชุดความรู้จากส่วนกลางที่จังหวัดสามารถนามา
ปรั บ ใช้ ใ นการสื่ อ สารในระดั บ พื้ น ที่ ส่ ว นกลางก าหนดแนวทางสื่ อ สารที่ เ ป็ น ชุ ด สถานการณ์ หรื อ ภั ย ต่ า งๆ
(Package) ที่จังหวัดสามารถนาไปใช้สื่อสารได้เลย
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ระดับจังหวัดและระดับเขตสุขภาพ ไม่มีแนวทางสื่อสารสาหรับทุกภัย หรือความ
เสี่ยงทีมีในพื้นที่
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ควรมีการประเมินความเสี่ยงของภาวะความเสี่ยงที่อาจะเกิกขึ้นได้อย่างรวดเร็ว
หรือมีผลต่อประชาชนส่วนมาก ควรมีการสื่อสารความเสี่ยงหรือมีชุดความรู้จากส่วนกลางที่จังหวัดและอาเภอ
สามารถน ามาปรั บ ใช้ในการสื่ อสารในระดับพื้นที่และส่ ว นกลางกาหนดแนวทางสื่อสารที่เป็นชุดสถานการณ์
หรือภัยต่างๆ ที่จังหวัดและอาเภอสามารถนาไปใช้สื่อสารได้เลย พร้อมข้อมูลที่เกี่ยวข้องในการเตรียมบุคลากร
และทรัพยากรที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ แผนควรมี 3-4 องค์ประกอบ มีแผน/แนวทาง การสื่ อสารความเสี่ยงตามโรค
และภัยสุขภาพที่วิเคราะห์ได้หรือตามเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉิน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน แผนที่แต่ละจังหวัดทาไว้ ควรจะมีการแลกเปลี่ยนแบบ Real time เพื่อให้แต่ละ
ส่วนได้เกิดมุมมอง หรือได้ทราบการใช้งานแต่ละจังหวัด รวมไปถึงมุมมองใหม่ที่จะนาส่วนดีๆ ในแต่ละจังหวัดมาใช้
ในจังหวัดตนเอง มีความจาเป็นอย่างยิ่งในการปฏิบัติงาน แต่ยังไม่สมบูรณ์ในการปฏิบัติให้เป็นรูปธรรมในบาง
ประเด็น โดยระดับจังหวัด มีแนวทางการประชาสัมพันธ์เชิงรุก ทาให้ประชาชนเข้าถึง ระบบบริการได้มากขึ้น
โดยเฉพาะการให้ บ ริ การวัคซีน โควิด -19 สามารถ มีการนา social media เช่น Facebook และการใช้ Call
Center เป็นส่วนหนึ่งของสื่อประชาสัมพันธ์ สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่างทั่วถึง ทีมสุขศึกษาประชาสัมพันธ์
มีความพร้อม จัดทาเนื้อหาที่ชัดเจน น่าสนใจ สอดคล้องกับความต้องการของสื่อมวลชนและประชาชน ใช้รูปแบบ
การประชาสัมพันธ์ที่หลากหลาย เช่น infographic,VDO การแถลงข่าว ทันต่อเหตุการณ์ สร้างความมั่นใจและ
ลดความวิตกกังวลของประชาชน
หมวดที่ 8 การสื่อสารภายใน (หมายถึง การสื่อสารภายในระบบ ICS)
8.1 แนวทางการดาเนินงานสาหรับการสื่อสารในองค์กร
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ควรมีการสื่อสารระหว่างกลุ่มภารกิจ ผ่านผู้บัญชาการเหตุการณ์ (IC) และสื่อสาร
ภายในกลุ่มภารกิจ

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 71
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน มีการสื่อสารภายในทั้งระหว่างกลุ่มภารกิจและภายในกลุ่มภารกิจ แบบเป็นทางการ
และไม่เป็นทางการ ในบางครั้งมีการสื่อสารระหว่างกลุ่มภารกิจโดยไม่ผ่านผู้บัญชาการเหตุการณ์ ทาให้เกิดความ
สับสน เข้าใจไม่ตรงกัน มีการถ่ายทอดคาสั่ง ข้อสั่งการในหลายระดับทาให้มีการเข้าใจคลาดเคลื่อน หรือสั่งการ
แบบ สั่งหลายคน
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉินและเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เป็นกระบวนการที่สาคัญที่จาเป็นยิ่ง สาหรับกิจกรรมและ
การดาเนินงานที่เกิดขึ้นทั้งภายในและภายนอกแต่ละกล่อง ควรมีโครงสร้างด้านบุคลากรที่ชัดเจน มีแนวทางในการ
ปฏิบัติงานที่ครอบคลุมการดาเนินงานที่เกี่ยวข้อง ควรมีการสื่อสารระหว่างกลุ่มภารกิจผ่านผู้บั ญชาการเหตุการณ์
และสื่อสารภายในกลุ่มภารกิจ
หมวดที่ 9 Coordination and logistical support of field operations
9.1 การสนับสนุนทีมปฏิบัติการพร้อม อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็นสาหรับลงพื้นที่ภาคสนาม
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น ควรมี ก ารสนั บ สนุ น ที ม ปฏิ บั ติ ก าร หรื อ สนั บ สนุ น ทรั พ ยากรแก่ พื้ น ที่ อื่ น ๆ
หากสถานการณ์ในพื้นที่ควบคุมได้หรือไม่เป็นปัญหา
เมื่ อ เกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น มี ก ารจั ด ที ม ปฏิ บั ติ ก ารสนั บ สนุ น พื้ น ที่ อื่ น ๆ เช่ น รพ.บุ ษ ราคั ม สมุ ท รสาคร
สมุทรสงคราม เป็นต้น มีการสนับสนุนทรัพยากรภายในจังหวั ดและเขตสุขภาพ เช่น การสนับสนุนยา วัคซีน PPE
หรือการสนับสนุนบุคลากร จัดอัตรากาลัง
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน มีการเตรียมความพร้อมของทีม และอุปกรณ์ เครื่องมือที่จาเป็น มีการจัดแบ่งทีม
ภารกิจที่ชัดเจน เพื่อให้พร้อมต่อการปฏิบัติการ เช่น ทีมสอบสวน ควบคุมโรค มีคาสั่งที่ชัดเจน มีทีมสนับสนุนและ
อุปกรณ์ในการดาเนินงานที่เพียงพอ และพร้อมออกปฏิบัติงานทันทีเมื่อร้องขอ แต่ละหน่วยงานควรมีทีมปฏิบัติการ
และอุปกรณ์สาหรับการลงพื้นที่ภาคสนามให้พร้อม มีแนวทางที่จาเป็นสาหรับภารกิจการขจัดการปนเปื้อนสารเคมี
และการทาลายเชื้อจุลชีพ ทั้งนี้ ควรมีแผนการจัดเก็บการจัดหา วัสดุ อุปกรณ์ในการควบคุมโรค รวมทั้งแผนสารอง
หากคู่ค้าไม่สามารถจัดหาวัสดุอุปกรณ์ให้ทันในช่วงเกิดการระบาดได้
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน จากสถานการณ์การแพร่ระบาดอย่างรวดเร็วในทุกพื้นที่ ทาให้เกิดความขาดแคลน
แก้ไขโดยได้รับสนับสนุนจากองค์กรภายนอก สามารถส่งทีมลงช่วยเหลือทั้งด้านบุคลากรและทรัพยากรที่เกี่ยวข้อง
ได้อย่างรวดเร็ว ทันการณ์ เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข ควรมีการส่งทีมปฏิบัติการและ
อุปกรณ์เพื่อลงพื้นที่ภาคสนามอย่างรวดเร็ว มีการจัดแบ่งทีม /ภารกิจ ที่ชัดเจน เพื่อให้พร้อมต่อการปฏิบัติการ
เช่น ทีมสอบสวนควบคุมโรค การดาเนินงานแบ่งเป็นโซน มีการจัดสรรกาลัง จากหลายหน่วยงานเพื่อบูรณาการ
การทางาน เช่น ตารวจ ปกครอง ท้องถิ่น เป็นต้น ทั้งนี้ การสนบัสนุนทีมปฏิบัติการ ถือเป็นหัวใจหลักอีกห้อง
ในการปฏิบัติงาน

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 72
9.2 การสนับสนุน จัดเก็บ จัดส่งยาเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาในคลังเวชภัณฑ์ อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็น
ให้กับทีมปฏิบัติการ
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ควรมีการสนับสนุน จัดเก็บ จัดส่งยาเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาในคลังเวชภัณฑ์ อุปกรณ์/
เครื่องมือที่จาเป็นให้กับทีมปฏิบัติการ ควรมีการการจัดทาบัญชีเครื่องมือ หรือแผนบริหารจัดการเครื่องมือ มีระบบ
IT สนับสนุนการบริหารจัดการเครื่องมือ เช่น โปรแกรมครุภัณฑ์สาหรับภาวะฉุกเฉิน
เมื่อเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น มีการสนั บ สนุน จัดเก็บ จัดส่ งยาเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาในคลั งเวชภัณฑ์ อุปกรณ์ /
เครื่องมือที่จาเป็นให้กับทีมปฏิบัติการ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ควรมีการประเมินสถานการณ์และทรัพยากรที่ต้องใช้ก่อนเมื่อได้รับการสื่อสาร
ความเสี่ยง รวมถึงสารองทรัพยากรให้เพียงพอต่อความต้องการและจัดทาฐานข้อมูลทรัพยากรต่างๆ มีการวาง
แผนการสนับสนุนยาเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา ให้กับหน่วยบริการอย่างเหมาะสม เพื่อจัดสรรให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
ควรมีการทาข้อมูลระบบจัดเก็บยา เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา รวมถึงอุปกรณ์เครื่องมือที่จาเป็น เพื่อตรวจสอบสถานะความ
พร้อมใช้
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน สามารถบริหารจัดการเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาในคลังเวชภัณฑ์ อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็น
ให้ กั บ ที ม รวมถึ ง สามารถขอยื ม เวชภัณ ฑ์ ภ ายในเขตสุ ข ภาพได้ อ ย่ า งมี ประสิ ท ธิ ภ าพ สามารถใช้ ง านได้ทันที
และมีการบริหารจัดการในระดับจังหวัด หากพื้นที่อาเภอใดขาดแคลนสามารถสลับหมุนเวียนใช้ให้เ พียง ทั้งนี้
ควรมีการจั ดหาทรั พ ยากรส ารองไว้ส าหรั บสถานการณ์ฉุ ก เฉิ น ซึ่ง ได้ ถู กประเมิน ไว้ แล้ ว ว่า น่า จะมี ก ารระบาด
หรือให้เกิดความเสียหายในวงกว้าง และมีการจัดสรรทรัพยากรอย่างเป็นระบบ ที่สามารถใช้ได้อย่างหมาะสม
หมวดที่ 10 Training, Exercise and Evaluation
10.1 การจัดอบรมตามหลักสูตรกลาง (ICS100) ที่จัดตั้งขึ้นมาเป็นการเฉพาะเพื่อฝึกอบรมเจ้าหน้าที่
ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC) และเจ้าหน้าที่ตามโครงสร้าง ICS
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การจัดอบรมตามหลักสูตรกลางยังมีความจาเป็ นสาหรับเจ้าหน้าที่แกนหลัก (Core
team) ของระบบ ICS ทั้งระดับจังหวัดและระดับเขตสุขภาพ ควรมีการขยายกลุ่มเป้าหมายอบรมบุคลากรสาย
สนับสนุน และสายวิชาชีพอื่นๆ (นอกเหนือจากนักวิชาการสาธารณสุข)
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน บุคลากรส่วนใหญ่ไม่มีความรู้ความเข้าใจระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS) จังหวัด
และเขตสุขภาพไม่มีงบประมาณในการอบรมบุคลากร

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 73
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การอบรมหลักสูตรกลาง มีความจาเป็น อย่างมาก เนื่องจากการอบรมเป็นการ
พัฒนาเจ้าหน้าที่ให้สามารถมีความรู้ ความเข้าใจบทบาทหน้ที่ตามโครงการระบบบัญชาการเหตุการณ์จาเป็นต้องมี
การจั ดอบรมเจ้ าหน้าที่ที่เกี่ย วข้องทั้งหมดอย่างสม่าเสมอ ทั้งนี้ ควรมีการขยายกลุ่มเป้าหมายอบรมบุคลากร
สายสนับสนุนและสายวิชาชีพอื่น เพื่อให้มีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการป้องกันไม่ให้ภาวะฉุกเฉินเข้าสู่ขั้นสู่วิกฤติ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การอบรมหลักสูตรกลางมีความจาเป็นอย่างมาก ควรมีการอบรมฟื้นฟูอย่งต่อเนื่อง
เนื่องจากเหตุการณ์ฉุกเฉินมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินสามารถทบทวนซ้าให้กับเจ้าหน้าที่
เพื่อความมั่นใจในการปฏิบัติงาน บุคลากรที่เกี่ยวข้องสามารถปฏิบัติงานได้ตามภารกิจที่วางไว้ได้ทันที
10.2 แผน (BCP/IAP) ระบบการบริหารจัดการข้อมูล และกิจกรรม การฝึกซ้อมแผนเป็นการเฉพาะ
ให้กับเจ้าหน้าที่ตามคาสั่งศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC)
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน แผน (BCP/IAP) มีความจาเป็น เนื่องจากหากเกิดภาวะฉุกเฉินสามารถจัดการ
ได้ ทั น ท่ ว งที ควรมี ก ารจั ด ท าแผนส าหรั บ ทุ ก ภั ย (All Hazard) ควรมี ก ารซ้ อ มแผน/ สนั บ สนุ น งบประมาณ
ในการซ้อมแผน อย่างต่อเนื่อง (มากกว่าปีละ 1 ครั้ง)
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน จังหวัดและเขตสุขภาพมีการจัดทาแผน (BCP/IAP) แต่ไม่ครอบคลุมทุกภัย บุคลากร
ส่วนใหญ่ขาดการมีส่วนร่วมในการจั ดทาแผน เนื่องจากไม่เข้าใจโครงสร้างระบบ ICS ไม่เข้าใจบทบาทหน้า ที่
ภารกิจ (ให้เป็นหน้าที่ของกลุ่มงานหรือผู้รับผิดชอบงานเท่านั้น)
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิด ภาวะฉุกเฉิน แผน (BCP/IAP) มีความจาเป็นเนื่องจากหากเกิดภาวะฉุกเฉินสามารถจั ดการ
ได้ทันท่วงที ควรมีการจัดทาแผนสาหรับทุกภัย (All Hazard) ควรมีการซ้อมแผน/สนับสนุนงบประมาณในการซ้อม
แผนอย่างต่อเนื่อง มากกว่าปีละ 1 ครั้ง เป็นการเตรียมความพร้อมผู้มีส่วนเกี่ย วข้องให้ทราบบทบาทหน้าที่ในการ
ปฏิบัติงานให้สามารถปฏิบัติงานได้อยางมีประสิทธิภาพ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน มีความจาเป็นอย่างมาก ผู้รับผิดชอบกลุ่มภารกิจเข้าใจบทบาทและมีการติดตาม
กากับให้ปฏิบัติตามแผน สามารถปฏิบัติตามแผนได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งเป็นไปตามแผนการได้ฝึกซ้อมไว้ สามารถ
ทบทวนซ้าให้กับเจ้าหน้าที่ซึ่งผ่านการอบรมมาเป็นระยะเวลานานแล้ว ทั้งนี้ ระดับจังหวัดและอาเภอมีการจัดทา
แผน (BCP/IAP) แต่ยังไม่ครอบคลุมทุกภัย และบุคลากรส่วนใหญ่ขาดการมีส่วนร่วมในการจัดทาแผน เนื่องจากไม่
เข้าใจโครงสร้างะบบ ICS ไม่เข้าใจบทบาทหน้าที่ ภารกิจ (ให้เป็นหน้าที่ของกลุ่มงานหรือผู้รับผิดชอบงานเท่านั้น)

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 74
พื้นที่เขตสุขภาพที่ 9
หมวดที่ 1 บริบท
1.1 การกาหนดพันธกิจและขอบเขตการปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข (PHEOC /EOC)
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การกาหนดพันธกิจและขอบเขตการปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อเป็นศูนย์กลางในการประสานข้อมูลการปฏิบัติงานและทรัพยากรสาหรับการ
จัดการเชิงกลยุทธ์ของภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข จัดหาเครื่ องมือด้านการสื่อสารและสารสนเทศ ระบบการ
บริ ห ารจั ด การตอบโต้ เ หตุ ฉุ ก เฉิ น และการปฏิ บั ติ ง านที่ ช่ ว ยในการสนั บ สนุ น การตั ด สิ น ใจ การด าเนิ น งาน
ประสานงาน และสร้างความร่วมมือ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การกาหนดพันธกิจและขอบเขตการปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อการบริหารจัดการสิ่งสนับสนุนพื้นฐานวันต่อวัน (day-to day) ที่ช่วยในการ
สนับสนุนการตัดสินใจ การดาเนินงาน ประสานงาน และสร้างความร่วมมือ
1.2 การจั ด ท าแผนรองรั บ ภาวะฉุ ก เฉิน ระดั บ จั ง หวั ด ตามภัย และการประเมิ น ความเสี่ย งที่ มี การ
จัดลาดับความสาคัญ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น การจั ด ท าแผนรองรั บ แบบบู ร ณาการภั ย ที่ อ าจจะเกิ ด ขึ้ น ในขณะเดี ย วกั น
เช่น โรคระบาดกับน้าท่วม และแผนการขับเคลื่อนการเตรียมความพร้อมและสมรรถนะของชุมชนที่จะเผชิญเหตุ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การจัดทาแผนรองรับภาวะฉุกเฉินระดับจังหวัดตามภัยและการประเมินความเสี่ยง
ที่มีการจัดลาดับความสาคัญ นอกจากนั้นควรเพิ่มแผนบูรณาการการจัดการอพยพและสถานที่พักพิง
หมวดที่ 2 ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉิน
2.1 โครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
(PHEOC/EOC) และระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS) (คน เงิน ของ)
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน โครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการเปิดศูนย์ปฏิบั ติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์
และสาธารณสุข เป็นบุคลากรที่ทางานประจา Permanent Staff และทีม Surge Staff
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน โครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุ ข ที ม ปฏิ บั ติ ก ารแบบเบ็ ด เสร็ จ (CCRT) และโครงสร้ า ง Mobile EOC และเพิ่ ม Surge Staff
จากหน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้อง

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 75
2.2 การอบรมบุคลากรให้มีความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์
และสาธารณสุข (PHEOC /EOC) และระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS)
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การอบรมบุคลากรให้มีความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์และสาธารณสุข สมรรถนะผู้รับผิดชอบในการอบรม หลักสูตร Permanent Staff และ Surge Staff
และ Leader for On the Job Training
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การอบรมบุคลากรให้มีความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์และสาธารณสุขควรอบรมในระดับ Leader เพื่อจัดทา On the Job Training
หมวดที่ 3 กรอบโครงสร้างการทางาน
3.1 การมี ร ะบบหรื อ กลไกการประสานงานของศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์ แ ละ
สาธารณสุข (PHEOC/EOC) กับหน่วยงานภายใน และหน่วยงานภายนอก
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีระบบหรือกลไกการประสานงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการ
แพทย์และสาธารณสุข หน่วยงานภายในควรเพิ่ม ความชัดเจน Regular IMS meetingและ Section meeting
ส าหรั บ หน่ ว ยงานภายนอก ควรเพิ่ม Mapping หน่ว ยงานหลั กที่เกี่ยวข้อง ระบุช่องทางการสื่ อสาร ระบุช่ว ง
ระยะเวลาการรายงาน และกาหนดผู้รับผิดชอบรับรายงานตามสถานการณ์ฯ และระบุข้อมูลรายงานที่ต้องการ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีระบบหรือกลไกการประสานงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการ
แพทย์ แ ละสาธารณสุ ข หน่ ว ยงานภายในควรเพิ่ ม ความชั ด เจนในการรายงานหั ว หน้ า ที ม ผู้ น าที ม ประชุ ม
ระบุช่องทางข้อมูลที่ Staff เข้าถึงได้ รายงานสถานการณ์ที่ ระบุพื้นที่ ระดับความรุนแรง และวางระบบสื่อสาร
กับผู้ที่รับผิดชอบในแต่ละพื้นที่ สาหรับหน่วยงานภายนอกระบุช่วงระยะเวลาการรายงาน และกาหนดผู้รับผิดชอบ
รับรายงานตามสถานการณ์ฯ และระบุข้อมูลรายงานที่ต้องการ
หมวดที่ 4 ระบบข้อมูล
4.1 การเชื่ อ มโยงข้ อ มู ล การปฏิ บั ติ ง านระหว่ า งศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์ แ ละ
สาธารณสุข (PHEOC/EOC) กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การเชื่อมโยงข้อมูลการปฏิบัติงานระหว่างศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการ
แพทย์และสาธารณสุข การจัดตั้งทีมเพื่อทางานข้อมูลจากหน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้อง และกาหนดตัวชี้วัด Joint KPI
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การเชื่อมโยงข้อมูลการปฏิบัติงานระหว่างศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์
และสาธารณสุข ต้องกาหนด Joint KPI ตามระดับภาวะฉุกเฉิน

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 76
หมวดที่ 5 Critical Information
5.1 ระบบการรายงาน ข้อมูลทรัพยากร ระบุตาแหน่งและสถานะของการปฏิบัติงานของทีมปฏิบัติการ
ทางการแพทย์และสาธารณสุข หรือทีมปฏิบัติการจากหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องผ่านอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่
จาเป็น
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ระบบการรายงาน ข้อมูลทรัพยากร ระบุตาแหน่งและสถานะของการปฏิบัติงาน
ของทีมปฏิบั ติ การทางการแพทย์ และสาธารณสุ ข หรือทีมปฏิบัติ ก าร เพื่อให้ ความชั ดเจนของการระบุ พื้ น ที่
เป้าหมาย Mapping และคาดการณ์การเกิดภาวะฉุกเฉินต่างๆ เพื่อนามาประมาณการทรัพยากร ระบุสมรรถนะ
บุคลากร การเชื่อมโยงความช่วยเหลือจากพื้นที่ที่มีสมรรถนะสูงกว่า
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ระบบการรายงาน ข้อมูลทรัพยากร ระบุตาแหน่งและสถานะของการปฏิบัติงาน
ของที ม ปฏิ บั ติ ก ารทางการแพทย์ แ ละสาธารณสุ ข หรื อ ที ม ปฏิ บั ติ ก าร ควรช่ อ งทางสื่ อ สารและระบบขนส่ ง
ตาม Mapping
หมวดที่ 6 Incident management and response
6.1 การมีแนวทางปฏิบัติของแต่ละกลุ่มภารกิจอยู่ในศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข (PHEOC) ตามระบบบัญชาการเหตุการณ์
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น การมีแนวทางปฏิบัติของแต่ล ะกลุ่ มภารกิจอยู่ในศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์และสาธารณสุข ทาให้ภารกิจของ permanent staff และSurge staff ในแต่ละกลุ่มภารกิจ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีแนวทางปฏิบัติของแต่ละกลุ่มภารกิจอยู่ในศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการ
แพทย์และสาธารณสุข มาจากตัวแทนทุกภารกิจเป็น Surge team ที่มีสมรรถนะดาเนินการได้ทุกภารกิจ
6.2 การแต่งตั้งหรือกาหนดตัวเจ้าหน้าที่ที่จะปฏิบัติงานตามโครงสร้างการบัญชาการเหตุการณ์ภายใต้
การดาเนินงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC./EOC) และสามารถ
นาไปใช้เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข และมีประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานอย่างไร
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การแต่งตั้งหรือกาหนดตัวเจ้าหน้าที่ที่จะปฏิบัติงานตามโครงสร้างการบัญชาการ
เหตุการณ์ภ ายใต้การดาเนิ น งานของศูน ย์ ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข ภารกิจของ
permanent staff และSurge staff ในแต่ละกลุ่มภารกิจปฏิบัติการภายใต้โรคและภัยที่เกิดขึ้น มีประโยชน์ต่อการ
ปฏิบัติงานได้ดี

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 77
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การแต่งตั้งหรือกาหนดตัวเจ้าหน้าที่ที่จะปฏิบัติงานตามโครงสร้างการบัญชาการ
เหตุ ก ารณ์ ภ ายใต้ ก ารด าเนิ น งานของศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์ แ ละสาธารณสุ ข
มาจากตัวแทนทุกภารกิจเป็น surge team ปฏิบัติการฯได้ดี สะดวกต่อการประสานการทางาน
หมวดที่ 7 การสื่อสารความเสี่ยง (Risk Communications) และการเตือนภัย
7.1 การมีแผน/แนวทางการสื่อสารความเสี่ยงตามโรคและภัยสุขภาพที่วิเคราะห์หรือประเมินความ
เสี่ยงได้หรือตามเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉิน และมีประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานอย่างไร
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีแผน แนวทางการสื่อสารความเสี่ยงตามโรคและภัยสุขภาพวางแผนสื่อสาร
ความเสี่ ย ง ตาม Mapping เพื่อให้ ต ระหนั กต่ อความเสี่ ยงและการจัด การสื่ อสารการปฏิบั ติตัว เมื่ อเผชิ ญ เหตุ
ที่อาจจะเกิดขึ้น สื่อสารเพือ่ สร้างพฤติกรรมป้องกันส่วนบุคคลพร้อมพัฒนาการสื่อสารภาษาต่างๆ และภาษาสื่อสาร
ถึงผู้มีความบกพร่องหรือมีความพิการ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีแผนแนวทางการสื่อสารความเสี่ยงตามโรคและภัยสุขภาพวางแผนสื่ อสาร
ความเสี่ยง ควรเพิ่มการสื่อสารเนื่องระบบส่งต่อ การอพยพและเข้าพานัก ณ ศูนย์พักพิง และช่องทางสื่อสารผู้ช่วย
เหลือมีความบกพร่องหรือมีความพิการ
หมวดที่ 8 การสื่อสารภายใน (หมายถึง การสื่อสารภายในระบบ ICS)
8.1 แนวทางการดาเนินงานสาหรับการสื่อสารในองค์กร
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน แนวทางการดาเนินงานสาหรับการสื่อสารในหน่วยงานมอบหมาย Key person
สื่อสาร Leader ในแต่ละทีมภารกิจ และมีความจาเป็นต้องสอดคล้องกับ Call Tree ของหน่วยงาน
เมื่อเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น แนวทางการดาเนินงานส าหรับ การสื่ อสารในหน่ว ยงาน Key person สื่ อสาร
Leader ในแต่ละทีมภารกิจ เพื่อความรวดเร็วต่อการตัดสินใจ สนับสนุนการดาเนินงาน
หมวดที่ 9 Coordination and logistical support of field operations
9.1 การสนับสนุนทีมปฏิบัติการพร้อม อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็นสาหรับลงพื้นที่ภาคสนาม
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉินและเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การสนับสนุนทีมปฏิบัติการพร้อม อุปกรณ์/เครื่องมือที่
จาเป็นสาหรับลงพื้นที่ภาคสนาม มีการคาดประมาณตามสถานการณ์ทเี่ ปลี่ยนแปลง

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 78
9.2 การสนับสนุน จัดเก็บ จัดส่งยาเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาในคลังเวชภัณฑ์ อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็น
ให้กับทีมปฏิบัติการ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉินและเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การสนับสนุน จัดเก็บ จัดส่งยาเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาในคลัง
เวชภัณฑ์ อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็นให้กับทีมปฏิบัติการ ควรมีงบประมาณสนับสนุนจากส่วนกลางในการจัดทา
คลังจัดเก็บให้ได้มาตรฐานและค่าขนส่งต่างๆ
หมวดที่ 10 Training, Exercise and Evaluation
10.1 การจัดอบรมตามหลักสูตรกลาง (ICS100) ที่จัดตั้งขึ้นมาเป็นการเฉพาะเพื่อฝึกอบรมเจ้าหน้าที่
ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC) และเจ้าหน้าที่ตามโครงสร้าง ICS
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิด ภาวะฉุ กเฉิน การจัดอบรมตามหลักสูตรกลาง (ICS100) เป็นการอบรม permanent staff
และ Surge staff ในแต่ภารกิจมีความจาเป็น เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการนาไปใช้จริง แต่ตัวชี้วัดในภาพรวมให้อบรม
ฯด้วยตนเอง ไม่มีความจาเป็น เนื่องจากไม่สามารถประเมินได้ว่านาไปใช้จริงได้
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การจัดอบรมตามหลักสูตรกลาง (ICS100) on the Job training และการจัดทา
AAR after action review
10.2 แผน (BCP/IAP) ระบบการบริหารจัดการข้อมูล และกิจกรรม การฝึกซ้อมแผนเป็นการเฉพาะ
ให้กับเจ้าหน้าที่ตามคาสั่งศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC)
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน แผน (BCP/IAP) ระบบการบริหารจัดการข้อมูล และกิจกรรม การฝึกซ้อมแผน
เป็นการเฉพาะให้กับเจ้าหน้าที่ตามคาสั่งศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข ควรปรับแผน
เป็นการบูรณาการ หน่วยงานหลักและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตาม Mapping
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน แผน (BCP/IAP) ระบบการบริหารจัดการข้อมูล และกิจกรรม การฝึกซ้อมแผน
เป็นการเฉพาะให้กับเจ้าหน้าที่ตามคาสั่งศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข ดาเนินการตาม
แผนงาน และ on the Job training และการจัดทา AAR after action review

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 79
พื้นที่เขตสุขภาพที่ 10
หมวดที่ 1 บริบท
1.1 การกาหนดพันธกิจและขอบเขตการปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข (PHEOC /EOC)
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การกาหนดพันธกิจ หรือขอบเขตการปฏิบัติงาน จะทาให้ บุคลากรในทีมตามกลุ่ม
ภาระกิจ ต่างๆ ได้รั บ ทราบบทบาทหน้ าที่ความรับผิ ดชอบที่ชั ดเจน ส่ งผลให้ ส ามารถแผนการดาเนินงานตาม
มาตรการต่างๆ ได้อย่างสะดวกและถูกต้อง เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การกาหนดพันธกิจ หรือขอบเขตการปฏิบัติงาน ทาให้บุค ลากรในทีมตามกลุ่ ม
ภาระกิจต่างๆ รับทราบบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบที่จัดเจน และสามารถใช้เป็นแนวทางในการปรับบทบาท
หน้าที่และแนวทางการดาเนินงานได้อย่างเหมาสมกับสถานการณ์จริงที่เกิดขึ้นได้
1.2 การจั ด ท าแผนรองรั บ ภาวะฉุ กเฉิน ระดั บ จั ง หวั ด ตามภัย และการประเมิ น ความเสี่ย งที่ มี การ
จัดลาดับความสาคัญ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การวางแผนและการประเมินความเสี่ยงเป็นเครื่องมือช่วยให้ทีมที่ทางานแก้ไข
ปัญหาของภัยสุขภาพได้เตรียมความพร้อม ทั้งด้านบุคลากร อุปกรณ์ และวิธีการจัดการปัญหาได้อย่างเหมาะสมกับ
ภัยที่อาจจะเกิดขึ้น การจัดลาดับความสาคัญของภัยสุ ข ภาพ จะส่งผลให้ทีมสามารถจัดการปัญหาภัยที่ส าคัญ
ก่อน มีของทีมปฏิบัติงาน งบประมาณ และวัสดุอุป กรณ์ต่างๆ สามารถหยุดยั้งหรือลดผลกระทบจากภาวะฉุกเฉิน
ให้กลับสู่ภาวะปกติในระยะเวลาอันสั้นที่สุด กระบวนการและขั้นตอนต่างๆ ของการจัดการเหตุการณ์การเกิดโรค
และภัยคุกคามสุ ขภาพอย่ างรวดเร็วและเป็ นระบบ ครอบคลุมทุกระยะตั้งแต่การ ดาเนินการป้องกัน และลด
ผลกระทบ (Prevention & Mitigation) การเตรียมความพร้อมรองรับภาวะฉุกเฉิน (Preparedness) การตอบโต้
ภาวะฉุกเฉิน (Response) และการฟื้นฟูหลังเกิดภาวะฉุกเฉิน (Recovery)
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน สามารถนาแผนงานที่วางไว้มาใช้ให้เกิดประโยชน์ เพื่อใช้ในการปรับเปลี่ยนการ
ทางานให้เข้ากับสถานการณ์จริงได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม สามารถประเมินและลาดับความสาคัญของความ
รุนแรงของเหตุการณ์ ส่งผลทีมสามารถทางานได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 80
หมวดที่ 2 ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉิน
2.1 โครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
(PHEOC/EOC) และระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS) (คน เงิน ของ)
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ผู้บัญชาการเหตุการณ์ มีความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของการจัดการโรคและ
ภัยสุขภาพ ผู้ที่ปฏิบัติงานตามกลุ่มภารกิจต่าง ๆ ตามโครงสร้าง EOC มีความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของการ
จัดการโรคละภัยสุขภาพ เป็นสิ่งสาคัญที่จะใช้ในการขับเคลื่อนงานเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการ
แพทย์และสาธารณสุ ข (PHEOC/EOC) และระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS) (คน เงิน ของ) ของโรคและภัย
สุขภาพ เป็นเข็มทิศในการให้บุคลากรทั้งในทีม และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สามารถประสานการทางานร่วมกัน
ได้อย่างเหมาะสม ทันเวลา เมื่อเกิดเหตุการณ์โรคและภัยสุขภาพ ในภาวะฉุ กเฉิน มีระบบบัญชาการเหตุการณ์
มอบนโยบายและข้อสั่งการ โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในการขับเคลื่อนงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในด้านกาลังคน
เจ้าหน้าที่ งบประมาณที่ใช้ในการดาเนินงาน พร้อมทั้งวัสดุอุปกรณ์ เวชภัณฑ์ ที่มีอย่างเพียงพอ
2.2 การอบรมบุคลากรให้มีความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์
และสาธารณสุข (PHEOC /EOC) และระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS)
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน เพื่อเตรียมความพร้อมในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน เนื่องจากผู้ที่ผ่านการอบรม
จะมีความรู้ ความเข้าใจในรูป แบบการดาเนินการ และสามารถนามาประยุกต์ใช้กับประสบการณ์การทางาน
เดิมส่งผลให้การดาเนินงานเกิดผลลัพธ์ และกรทบที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เมื่อได้มีการจัดอบรมบุคลากรให้มีความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างของศูนย์ปฏิบัติการ
ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC /EOC) และระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS) ทุกกล่องภารกิจ
ทราบบทบาทหน้าที่สามารถ Activate กล่องได้ทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ เนื่องจากความรู้ ในโครงสร้างบทบาท
หน้าที่ทาให้ บุคลากรในทีมทาหน้าที่ของตนได้อย่าถูกต้องส่งผลให้งานสาเร็จตามวัตถุประสงค์
หมวดที่ 3 กรอบโครงสร้างการทางาน
3.1 การมี ร ะบบหรื อ กลไกการประสานงานของศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์ แ ละ
สาธารณสุข (PHEOC/EOC) กับหน่วยงานภายใน และหน่วยงานภายนอก

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 81
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ส่งผลให้การบังคับบัญชา การสั่งการ การควบคุม และการประสานความร่วมมือ
ระหว่างหน่วยงานเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินของโรคและภัยสุขภาพ และเกิดการระดมทรัพยากรสาหรับใช้ในภาวะเกิด
เหตุการ ส่งผลให้การบริหารจัดการเหตุการณ์ฉุกเฉินให้สามารถปกป้องชีวิต ทรัพย์สินและสิ่งแวดล้อมได้อย่างบรรลุ
เป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เมื่อมีระบบหรือกลไกการประสานงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการ
แพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC) กับหน่วยงานภายใน และหน่วยงานภายนอก ทาให้มีการประสานงานงาน
ในการดาเนินงานได้อย่างทันท่วงที ซึ่งทุกหน่วยงาน ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม ในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ การเปิดศูนย์ EOC กรณี โรค COVID-19 มีการสื่อสารทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ เช่น
การประชุม On Site, On line ชี้แจงแนวทาง มาตรการ ออกข้อสั่งการ การส่งหนังสือข้อสั่งการ การตั้ง Line
group กล่องภารกิจต่าง ๆ เป็นต้น
หมวดที่ 4 ระบบข้อมูล
4.1 การเชื่ อ มโยงข้ อ มู ล การปฏิ บั ติ ง านระหว่ า งศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์ แ ละ
สาธารณสุข(PHEOC/EOC) กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน มีความสาคัญและความจาเป็นอย่างมาก ในการนาข้อมูลที่มีมาเชื่อมกันเพื่อใช้ใน
การขับเคลื่อนงานเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ผู้บัญชาการเหตุหารณ์ได้รับทราบข้อมูลที่เป็นปัจจัยต่อการกาหนด
นโยบายและมาตรการการเฝ้าระวังแก้ไข้ปัญหาโรคและภัยสุขภาพได้อย่างรอบด้านครบถ้วน สามารถวางแผนการ
ดาเนินงานได้อย่างถูกต้องแม่ นยา แก้ไขปัญหาได้อย่างรวดเร็วทันเหตุการณ์ การประสานความร่วมมือในการ
จัดการปัญหาเป็นไปอย่างสะดวกและรวดเร็ว ทุกหน่วยสามารถจัดการปัญหาภายใต้ข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบ
ข้อเท็จจริง และภายใต้ฐานข้อมูลเดียวกันได้
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เมื่อมีการเชื่อมโยงข้อมูลการปฏิบัติงานระหว่างศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการ
แพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC) กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทาให้ข้อมูลที่มีอยู่แต่ละหน่วยงาน มาเชื่อมต่อกัน
และสามารถใช้ เ ป็ น ฐานข้ อ มู ล ในการเฝ้ า ระวั ง ควบคุ ม โรค ได้ ทั น ท่ ว งที แ ละเกิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด ได้ อ ย่ า งมี
ประสิทธิภาพ ในการขับเคลื่อนงานเป็นไปในทิศทางเดียวกัน จะทาให้ทุกคนได้ทราบข่าวสาร และวางแผนการ
ดาเนินงาน ระดมทรัพยากรกรจากทุกส่วนมาช่วยกันแก้ไขปัญหาได้
หมวดที่ 5 Critical Information
5.1 ระบบการรายงาน ข้อมูลทรัพยากร ระบุตาแหน่งและสถานะของการปฏิบัติงานของทีมปฏิบัติการ
ทางการแพทย์และสาธารณสุข หรือทีมปฏิบัติการจากหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องผ่านอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่
จาเป็น

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 82
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน โดยมีผู้รับผิดชอบงานอย่าง
ชัดเจน มีความสะดวกรวดเร็วในการติดต่อประสานงานได้ตรงกับความรับผิดชอบของแต่ละคน ส่งผลให้การ
ดาเนินงานออกมาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีระบบรายงานข้อมูลทรัพยากรระบุตาแหน่ง และสถานะของการปฏิบัติงาน
ทาให้การประสานงานในเรื่องที่เกี่ยวข้องนั้น ๆ สะดวกและรวดเร็วมากขึ้น สามารถบริหารจัดการ จัดสรรทรัพยากร
ที่ มี อ ยู่ ให้ กั บ พื้ น ที่ ได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว ทั น ท่ ว งที แ ละมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เพี ย งพอต่ อ การใช้ ง าน โดยประสาน
ผ่านผู้รับผิดชอบของพื้นที่
หมวดที่ 6 Incident management and response
6.1 การมีแนวทางปฏิบัติของแต่ละกลุ่มภารกิจอยู่ในศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข (PHEOC) ตามระบบบัญชาการเหตุการณ์
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน แนวทางการดาเนินงานของแต่ละกลุ่มภารกิจ เป็นแผนที่ที่จะบอกถึง รูปแบบ
กระบวนการ ขั้นตอนและรายละเอียดต่าง ๆ ของกระบวนการ ซึ่งเหมาะสมกับงานที่มีความซับซ้อน มีหลาย
ขั้นตอน และเกี่ยวข้องกบหลายคน ซึ่งสามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการ ปฏิบัติงาน ส่งผล
ให้ผู้ปฏิบัติงานไว้ใช้อ้างอิงไม่ให้เกิ ดความผิดพลาดในการปฏิบัติงาน งานที่ออกมาะจะประสบความสาเร็จตาม
วัตถุประสงค์ที่วางไว้
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เมื่อเกิดเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉินขึ้น แต่ละกล่องภารกิจสามารถตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน
ได้ทันท่วงที โดยดาเนินงานตามแนวทางปฏิบัติที่กาหนดไว้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และปรับเปลี่ยนกระบวนการ
ดาเนินงานตามข้อสั่งการและมาตรการที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดการดาเนินการ
6.2 การแต่งตั้งหรือกาหนดตัวเจ้าหน้าที่ที่จะปฏิบัติงานตามโครงสร้างการบัญชาการเหตุการณ์ภายใต้
การดาเนินงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC./EOC) และสามารถ
นาไปใช้เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข และมีประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานอย่างไร
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การแต่งตั้งและกาหนดเจ้าหน้าที่ที่จะปฏิบัติงานตามโครงสร้างฯสามารถนาไปใช้ได้
จริงเมื่อเกิดเหตุการณ์ฯ ซึ่งเมื่อมีการแต่งตั้งและกาหนดหน้าที่ตามกลุ่มภาระกิจจะทาให้หยุดยั้ง และลดผลกระทบ
จากภาวะฉุกเฉินหรือสถานการณ์รุนแรงจากโรคและภัยสุขภาพ และเหตุการณ์กลับสู่ภาวะปกติในระยะเวลาที่สั้น
ที่สุด ผู้ปฏิบัติงานและผู้เสี่ยงต่อภัยมีความปลอดภัยจากโรคและภัยสุขภาพ และมีการใช้ ทรัพยากร และบริหาร
จัดการทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 83
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การแต่งตั้งคณะทางาน ทาให้ผู้บัญชาการเหตุการสาธารทราบว่าจะมอบหมาย
หน้ าที่ให้ ตรงกับ บทบาทหน้ าที่ ข องกล่ องภารกิจ ที่แต่ งตั้ง ไว้ อย่า งเหมาะสม และเจ้าหน้าที่ที่รับผิ ดชอบจะได้
ดาเนินการตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายอย่างเต็มกาลังความสามารถ ผู้รับผิดชอบงานตามโครงสร้างการบัญชาการ
เหตุการณ์ฯ สามารถตอบโต้ภาวะฉุกเฉินได้ทันท่วงที มีประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานในการประสานงาน การทางาน
ร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
หมวดที่ 7 การสื่อสารความเสี่ยง (Risk Communications) และการเตือนภัย
7.1 การมีแผน/แนวทางการสื่อสารความเสี่ยงตามโรคและภัยสุขภาพที่วิเคราะห์หรือประเมินความ
เสี่ยงได้หรือตามเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉิน และมีประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานอย่างไร
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การวิเคราะห์หรือประเมินความเสี่ยงได้ตามเหตุการภาวะฉุกเฉิน ได้อย่างครบถ้วน
ถูกต้อง และทันเวลา ทาให้ผู้บริหาร สามารถวางแผนจัดการกับภาวะฉุกเฉินได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับ
สถานการณ์ ผู้บริหาร โฆษก หรือวิทยากรสามารถแถลงข่าวให้ข่าวสื่อมวลชน ให้ความรู้ประชาชน และหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้อง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีความรู้ความเข้าในในการปฏิบัติการเฝ้าระวังควบคุมโรค และภัยสุขภาพได้อย่าง
ถูกต้องและเหมาะสม ประชาชนลดความตระหนก สามารถปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับภาวะฉุกเฉิน
ของโรคและภัยสุขภาพ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ผู้บริการได้รับข้อมูลข่าวสารจากทีมตระหนักรู้ เพื่อวางแผนการดาเนินงาน และได้
มอบหมายให้ ทีมสื่ อสารความเสี ย งได้มีการประชาสั มพันธ์ทั้งภายในองค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน นักการเมือง
ในรูปแบบการประชุมวานแผน ติดตาม กากับการดาเนินงาน และการสื่อสารในวงกว้าง เช่นสื่อสารผ่านรายการ
วิทยุ “ผู้ว่าพบประชาชน” ทางหอกระจายข่างของหมู่บ้าน Facebook Fan page และการรณรงค์ต่างๆ ส่งผลให้
ประชาชน ได้รับทราบสถานการณ์และปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้อง สร้างความตระหนักลดการตระหนก และแนวทาง
การดาเนินการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างต่อเนื่อง
หมวดที่ 8 การสื่อสารภายใน (หมายถึง การสื่อสารภายในระบบ ICS)
8.1 แนวทางการดาเนินงานสาหรับการสื่อสารในองค์กร
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การสื่อสารภายในองค์กรดีมีความชัดเจนมีความจาเป็นอย่างมาก เพราะเป็นการ
สร้างความเข้าใจในนโยบายของผู้บริหาร เป็นสิ่งเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรในองค์กร บุคลาการในองค์กร
ด าเนิ น งานตามนโยบายและแผนงานเป็ น ไปในทิ ศ ทางเดี ย วกั น บุ ค ลากรในองค์ ก ารเกิ ด ความพึ ง พอใจ
และเข้าใจนโยบายอย่างชัดเจน ส่งผลให้งานบรรลุเป้าหมายที่วางไว้

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 84
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เมื่อเกิดเหตุการณ์ขึ้น บุคคลากรในองค์กรสามารถสื่อสาร ถ่ายทอดข้อมูลที่ถูกต้อง
ไปในทิศทางเดียวกันอย่างเป็นระบบ ดาเนินการสื่อสาร ทาความเข้าใจภายในองค์กร เมื่อเกิดโรคและภัยสุขภาพ
กรณีโรค COVID-19 ทั้งรูปแบบการประชุมแบบ On Site On line การลงพื้นที่ติดตามการดาเนินงานเมื่อเกิด
เหตุการณ์มีการระบาดในชุมชน
หมวดที่ 9 Coordination and logistical support of field operations
9.1 การสนับสนุนทีมปฏิบัติการพร้อม อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็นสาหรับลงพื้นที่ภาคสนาม
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน เป็นการเตรียมความพร้อมของทีมปฏิบัติการพร้อม อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็น
สาหรับลงพื้นที่ภาคสนาม เมื่อเกิดเหตุการณ์โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้น และจะสามารถประเมินความรุ นแรง
ของเหตุการณ์แยกความรุนแรง
เมื่อเกิด ภาวะฉุ กเฉิน เมื่อเกิดเหตุการณ์ขึ้น ทีมปฏิบัติการพร้อม อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็นส าหรับ
ลงพื้นที่ภาคสนาม สามารถปฏิบัติงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินได้ทันท่วงที เช่น กรณีเกิดการระบาดของโรค COVID-19
ได้มีการสนับสนุนทีมพร้อมอุปกรณ์ลงไปปฏิบัติงานในพื้นที่ภาคสนาม อย่างเต็มที่ เพราะจะส่งผลให้การดาเนินงาน
สามารถแก้ปัญหา ลดการระบาดของโรคได้อย่างทันถ่วงที่ เช่น ส่งทีมสอบสวนโรคลงพื้นที่สอบสวนโรค พร้อมทั้ง
เก็บตัวอย่างกลุ่มเสี่ยงสูงเพื่อส่งตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา 2019, ส่งทีมควบคุมโรคไปปฏิบัติหน้าที่ควบคุม ติดตาม
การดาเนินงานการกักตัวกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางกลับจากต่างพื้นที่ กลุ่มสัมผั สเสี่ยงสูง และวงแผนการปิดหมู่บ้าน
และการส่งทีมลงไปเตรียมพื้นที่โรงพยาบาลสนาม เพื่อรับผู้ป่วยกรณีมีการตรวจพบผู้ป่วยจานวนมาก
9.2 การสนับสนุน จัดเก็บ จัดส่งยาเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาในคลังเวชภัณฑ์ อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็น
ให้กับทีมปฏิบัติการ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน เป็นการเตรียมความพร้อมของทีมปฏิบัติการ ยาเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาในคลังเวชภัณฑ์
อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็น เพื่อใช้ในภาวะเหตุการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้น ได้อย่างรวดเร็ว โดยทีมปฏิบัติการทาหน้าที่
ในการดูแลผู้ ป ระสบภัยจ าเป็น ต้ องใช้ความรู้ความสามารถ และอุปกรณ์/เครื่องมือต่างๆ ส าหรับการป้องกัน
อันตรายของบุคลากรในทีม และปฏิบัติหน้าที่ดูแลผู้ประสบภัยให้ปลอดภัย
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ทีมปฏิบัติการ สามารถใช้ยาเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาในคลังเวชภัณฑ์ อุปกรณ์/เครื่องมือที่
จาเป็น ในภาวะเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ได้อย่างรวดเร็ว และเกิดประโยชน์สูงสุด เช่น เมื่อเกิดเหตุการณ์การระบาดของ
โรค COVID-19 ทีม Stockpiling and Logistics ได้มีการวางแผนการจัดหา และ Stock ยาเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาใน
คลังเวชภัณฑ์ อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็นให้กับทีมปฏิบัติการย่างเพียงพอสาหรับการใช้งาน และกาหนดเกณฑ์การ
ใช้อุปกรณ์ต่างของทีมปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ และเพียงพอ ส่งผลให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถมีอุปกรณ์และเครื่องมือ
ต่างๆ ใช้อย่างเพียงพอไม่ขาดแคน

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 85
หมวดที่ 10 Training, Exercise and Evaluation
10.1 การจัดอบรมตามหลักสูตรกลาง (ICS100) ที่จัดตั้งขึ้นมาเป็นการเฉพาะเพื่อฝึกอบรมเจ้าหน้าที่
ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC) และเจ้าหน้าที่ตามโครงสร้าง ICS
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน มีความจาเป็น เนื่องจากทีมที่ปฏิบัติงานในศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการ
แพทย์และสาธารณสุข และเจ้าหน้าที่ตามโครงสร้าง ICS จะได้มีความรู้ความเข้าใจ และสามารนามาประยุกต์ใช้ใน
งานเมื่อเกิดโรคและภัยสุขภาพ
เมื่อเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น เจ้ าหน้ าที่ตามโครงสร้าง ICS ทราบบทบาทหน้าที่ของตัว เอง แนวทางปฏิบั ติ
สามารถตอบโต้ภาวะฉุกเฉินได้อย่างทันท่วงที และมีประสิทธิภาพ กรณี มีการระบาดของโรค COVID-19 จังหวัด
อานาจเจริญ ได้มีการซ้อมแผน และมีการอบรมเพิ่มทักษะที่จาเป็นของแต่ละกลุ่มภารกิจ ให้กับบุคลากรที่ปฏิบัติ
หน้ าที่อย่ างต่ อเนื่ อง เช่น การอบรมที ม CDCU เพื่อให้ เจ้า หน้ า ที่ส ามารถ กรณีที่ต้อ งระดมทรั พยากรบุ ค คล
เพิ่มในบางจุด จะมีการ orientation ให้เจ้าหน้าที่ก่อนที่จะปฏิบัติงานจริง
10.2 แผน (BCP/IAP) ระบบการบริหารจัดการข้อมูล และกิจกรรม การฝึกซ้อมแผนเป็นการเฉพาะ
ให้กับเจ้าหน้าที่ตามคาสั่งศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC)
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น มีความจ าเป็น เพื่ อ ให้ ที มที่ ปฏิบั ติง านได้มี ก ารวางแผน/ทบทวนกระบวนการ
และเข้าใจบทบาทหน้าที่ของทีมอย่างชัดเจน เมื่อเกิดโรคและภัยสุขภาพจะได้นามาประยุกต์ใช้ได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม ทาให้ เจ้ าหน้ าที่ตามคาสั่งศูนย์ ป ฏิบัติการภาวะฉุกเฉินฯ ทราบบทบาทหน้าที่ เพื่อใช้ในการรองรับ
เหตุการณ์ภาวะฉุกเฉินที่อาจจะเกิดขึ้น
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การนาแผน BCP/IAP ที่มีอยู่เดิมมาปรับใช้ใน กรณีเปิด EOC โรค COVID-19 ทาให้
บุคลากรในแต่ละกล่องภาระกิจสามารถปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าได้อย่างเหมาะสม สามารถตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน
ได้จริง ตามแนวทางปฏิบัติ ตามแผน (BCP/IAP) ระบบการบริหารจัดการข้อมูล และกิจกรรม การฝึกซ้อมแผน

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 86
พื้นที่เขตสุขภาพที่ 11
หมวดที่ 1 บริบท
1.1 การกาหนดพันธกิจและขอบเขตการปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข (PHEOC /EOC)
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น ใช้เป็ น กรอบแนวทาง/ทิศทาง การปฏิบัติภ ารกิจหรือบริการหลั กขององค์ ก ร
ทาให้ผู้ปฏิบัติงานมีทิศทางในการทางาน ทราบภารกิจบทบาทหน้าที่ของตนเอง
เมื่ อ เกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น เป็ น กรอบแนวทาง/ทิ ศ ทาง การปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ หรื อ บริ ก ารหลั ก ขององค์ ก ร
ทาให้ผู้ปฏิบัติงานมีทิศทางในการทางาน ทราบภารกิจบทบาทหน้าที่ของตนเองทาให้การทางานไม่ซ้าซ้อน ส่งผลให้
ตอบโต้ เ หตุ ก ารณ์ ทั น เวลาและมี ก ารประชุ ม ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์ แ ละสาธารณสุ ข
(PHEOC/EOC) โดยทุกภารกิจเข้าร่วมประชุมรับทราบสถานการณ์และเสนอข้อมูลในส่วนที่เกี่ยวข้อง และมีการสั่ง
การให้ภารกิจที่เกี่ยวข้องดาเนินการและติดตามข้อสั่งการโดยผู้บัญชาการเหตุการณ์
1.2 การจั ด ท าแผนรองรั บ ภาวะฉุ กเฉิน ระดั บ จั ง หวั ด ตามภัย และการประเมิ น ความเสี่ย งที่ มี การ
จัดลาดับความสาคัญ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น ทาให้ ทราบข้อมูล พื้นที่เสี่ ยง โรคและภัยสุ ขภาพ ใช้เป็นข้อมูล ในการวางแผน
โดยกาหนดมาตรการดาเนิ น งานที่ส อดคล้ อ งกับ การวิเ คราะห์ ความเสี่ ยง และจัดทาแผนรองรับสถานการณ์
ทุกสาธารณภัย ร่วมกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกภาคส่วน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ปฏิบัติตามแผนที่กาหนดไว้และสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามสถานการณ์ สามารถนา
แผนรองรับมาใช้ได้ระหว่างเกิดภาวะฉุกเฉิน เจ้าหน้าที่สามารถปฏิบัติงานเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน
ตามที่ได้รับมอบหมาย เป็นไปตามมาตรฐานเดียวกัน ลดความซ้าซ้อนของการทางาน และลดความเสียหายที่เกิด
จากโรคและภัยสุขภาพ
หมวดที่ 2 ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉิน
2.1 โครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
(PHEOC/EOC) และระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS) (คน เงิน ของ)
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น เป็ น การเตรียมความพร้อมของระบบบัญชาการระดับจังหวัด รองรับการเกิด
เหตุการณ์ โครงสร้ างของ PHEOC. /EOC ที่ดีและมั่นคง มีอุปกรณ์เพียงพอ ช่ว ยอานวยความสะดวกในการ
ปฏิบัติงาน และมีความปลอดภัยกับเจ้าหน้าที่

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 87
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน มีความพร้อมในการ Activate PHEOC. /EOC กรณีเกิดภาวะฉุกเฉิน และมี การ
เตรียมพื้นที่สารองที่ปฏิบัติงานได้จริง ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากผู้บริหารในการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการ
ภาวะฉุกเฉินฯ และสนับสนุนด้าน คน เงิน ของ สามารถรับมือกับเกตุการณ์ได้ดีในระดับหนึ่ง อย่างไรก็ตามทุกทีม
กลุ่มภารกิจร่วมมือกันทบทวนเตรียมความพร้อม ปรับปรุงในส่วนขาดเพื่อการพัฒนาต่อไปในอนาคต
2.2 การอบรมบุคลากรให้มีความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์
และสาธารณสุข (PHEOC /EOC) และระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS)
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ควรมีการอบรมบุคลากรให้มีความรู้รอบด้านเกี่ยวกับศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินเพื่อ
สามารถนามาใช้ได้ มีความจาเป็น เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมการปฏิบัติงานของบุคลากรกรณีเกิดภาวะฉุกเฉิน
อบรมหลักสูตร ICS100 และอบรมเพิ่มเติม เจ้าหน้าที่ SAT, JIT ในการรับแจ้งเหตุ) และควรมี การอบรมต่ อ ไป
ในกลุ่มผู้ที่อยู่ในคาสั่งใหม่และฟื้นฟูผู้ที่เคยผ่านการอบรมแล้ว
เมื่อเกิด ภาวะฉุกเฉิ น บุคลากรสามารถปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่กรณีเกิดภาวะฉุกเฉินได้ถู ก ต้ อง
สามารถนาองค์ความรู้มาปรับใช้ให้เข้ากับเหตุการณ์จริง และเรียนรู้ ทบทวนนาสิ่งที่เป็นปัญหามาปรับแก้ไขใน
อนาคต
หมวดที่ 3 กรอบโครงสร้างการทางาน
3.1 การมี ร ะบบหรื อ กลไกการประสานงานของศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์ แ ละ
สาธารณสุข (PHEOC/EOC) กับหน่วยงานภายใน และหน่วยงานภายนอก
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ควรจัดตั้งระบบหรือกลไกการประสานงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการ
แพทย์ และสาธารณสุขเพื่อให้ง่ายต่อการติอต่อสื่อสาร สามารถเชื่อมโยงข้อมูล ข้อสั่งการ ผลการดาเนินงาน ปัญหา
อุปสรรค ในแนวทางเดียวกันไปยังหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรวดเร็วและถูกต้อง
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน มีการจัดตั้งทาเนียบภายในสานักงานสาธารณสุขจังหวัด และของแต่ละอาเภอในการ
ประสานงานต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนงาน, ติดต่อประสานงานเรื่องการจัดประชุม จัดทา
ปฏิทินการปฏิบัติงานของระบบบัญชาการ และสรุปจัดประชุมตามที่ SAT ได้เสนอสถานการณ์ นาเรียนต่อ IC
และดาเนินการจัดการประชุม จัดทาข้อสั่งการผลการดาเนินงาน รวมไปถึงปัญหาอุปสรรค รวมไปถึงการสื่อสาร
ข้อสั่งการไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ตลอดถึงวางแผนและติดตามข้อสั่งการจากผู้บัญชาการเหตุการณ์
ให้ได้รับทราบเพื่อปฏิบัติอย่างรวดเร็ วและมีประสิทธิภาพ อีกทั้งในส่วนของเขต และกระทรวงที่จัดประชุมขึ้ น
ซึ่งทางกลุ่มภารกิจดาเนินการ สรุปย่อยรายละเอียด เพื่อเป็นจุดเน้นให้แก่หน่วยงานต่าง ๆ รับทราบ ปฏิบัติอย่าง
รวดเร็วและทันต่อสถานการณ์

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 88
หมวดที่ 4 ระบบข้อมูล
4.1 การเชื่ อ มโยงข้ อ มู ล การปฏิ บั ติ ง านระหว่ า งศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์ แ ละ
สาธารณสุข(PHEOC/EOC) กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การเตรียมความพร้อมรับสาธารณภัยมีความจาเป็นอย่างยิ่งในการบูรณาการข้อมูล
ของทุกภาคส่วน สามารถประสานด้านข้อมูล ด้านการรักษา การกักกันตัว การป้องกันและควบคุมโรคตลอดจนการ
จัดสรรทรัพยากรให้เพียงพอกับหน่วยบริการในพื้นที่
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การเชื่อมโยงข้อมูลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถทาได้ดี แต่ช่วงที่เกิดการระบาด
มากขึ้นมีหลายองค์กรเข้ามาเกี่ยวข้องทาให้บางครั้งเกิดความล่าช้าของการส่งต่อข้อมูล ต้องมีการปรับรูปแบบ
ระบบข้อมูล ได้แ ก่ รายละเอีย ดข้ อมูล ช่องทางการส่ ง ข้ อ มูล หน่ว ยงานที่เกี่ยวข้ อง แต่ส ามารถทาให้ บริ ห าร
ใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว ให้การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
หมวดที่ 5 Critical Information
5.1 ระบบการรายงาน ข้อมูลทรัพยากร ระบุตาแหน่งและสถานะของการปฏิบัติงานของทีมปฏิบัติการ
ทางการแพทย์และสาธารณสุข หรือทีมปฏิบัติการจากหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องผ่านอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่
จาเป็น
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น ระบบการรายงานจะช่วยให้ ข้อมูล เป็นปัจจุบัน สามารถนาข้อมูล ไปใช้ในการ
วิเคราะห์ วางแผน เตรียมความพร้อมของหน่วยงาน ทั้งยัง ช่วยในการนาเสนอข้อมูลสิ่งแวดล้อม ประเมินความ
เสี่ยงของพื้นที่ ตลอดจนทรัพยากรด้านต่าง ๆ และมีระบบการติดตามตาแหน่งและสถานะของทีมปฏิบัติการ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีระบบรายงานข้อมูลทรัพยากร ระบุตาแหน่งและสถานะของการปฏิบัติงาน
ของทีมปฏิบัติการทางการแพทย์และสาธารณสุข หรือทีมปฏิบัติการจากหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องผ่านอุปกรณ์
หรือเครื่องมือจาเป็น มีการนาเทคโนโลยีทันสมัยมาใช้ เช่น ไลน์ ทาให้ภารกิจที่เกี่ยวข้องทราบรายละเอียดข้อมูล
ที่เป็นปัจจุบัน สามารถนามาวางแผนการปฏิบัติงานตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้น บริหารจัดการแก้ปัญหาโดยใช้ทรัพยากร
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากเกินความสามารถของหน่วยงาน ขอสนับสนุนความช่วยเหลือจากหน่วยงานอื่น
หมวดที่ 6 Incident management and response
6.1 การมีแนวทางปฏิบัติของแต่ละกลุ่มภารกิจอยู่ในศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข (PHEOC) ตามระบบบัญชาการเหตุการณ์

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 89
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น การมีแนวทางปฏิบัติของแต่ล ะกลุ่ มภารกิจอยู่ในศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC) ตามระบบบัญชาการเหตุการณ์ส่งผลให้แต่ละกลุ่มภารกิจมีการเตรียม
ความพร้อมตามบทบาทหน้าที่ในการเตรียมรับสถานการณ์สาธารณสุขภัยที่จะเกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เมื่ อ เกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น ผู้ บั ญ ชาการเหตุ ก ารณ์ เ ปิ ด ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์ แ ละ
สาธารณสุข (PHEOC) และขับเคลื่อนโดยคณะทางานตามระบบบัญชาการเหตุการณ์ในภาวะฉุกเฉินทางด้าน
การแพทย์และสาธารณสุข (ICS) เพื่อการบริหาร สั่งการ ประสานงาน และดาเนิ นงานที่เป็นมาตรฐาน ลดช่องว่าง
และจุดอ่อนของการทางานตามโครงสร้างองค์กรในภาวะปกติ สนับสนุนกาลังคนและทรัพยากรในการจัดการภาวะ
ฉุกเฉินให้มีประสิทธิภาพ โดยมีนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดชุมพร เป็นผู้บัญชาการเหตุการณ์ และมีกลุ่มภารกิจ
ต่างๆ ขับเคลื่อนในการปฏิบัติงาน การมีแนวทางปฏิบัติของแต่ละกลุ่มภารกิจอยู่ในศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC) ตามระบบบัญชาการเหตุการณ์ ส่งผลให้จังหวัดสามารถปฏิบัติ งาน
ในภาวะฉุกเฉินได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 การแต่งตั้งหรือกาหนดตัวเจ้าหน้าที่ที่จะปฏิบัติงานตามโครงสร้างการบัญชาการเหตุการณ์ภายใต้
การดาเนินงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC./EOC) และสามารถ
นาไปใช้เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข และมีประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานอย่างไร
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ทาให้ผู้ปฏิบัติงานจากหลายหน่วยงานสามารถทางานร่วมกันได้อย่างเป็นระบบและ
รวดเร็วสร้างความชัดเจน ลดความสับสน ซึ่งเกิดจากความขัดแย้งกันในการสั่งการ สามารถกาหนดตัวบุคคล
ให้ชัดเจน เพื่อให้สามารถปฎิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ทุกกลุ่มภารกิจได้มีการประชุมทบทวนบทบาทหน้าที่ของตนเอง โดยหัวหน้าทีม
สามารถปฏิบั ติตามข้อสั่ งการได้อย่ างครบถ้ว นและหลังปฏิบัติงานสรุปผลการดาเนินการตามข้อสั่ งการเสนอ
ผู้ บั ญ ชาการเหตุก ารณ์ ท ราบความก้ า วหน้ า อย่ างสม่ าเสมอ ในบางภารกิ จอาจมี ปั ญหาขาดบุ ค ลากรในการ
ปฏิบัติงานหรือต้องการบุคลากรที่มีความชานาญเฉพาะ จึงต้องมีการขอความร่วมมือจากทีมภารกิจอื่นมาเสริม
ซึ่งได้รับความร่วมมือจากทุกทีมภารกิจ
หมวดที่ 7 การสื่อสารความเสี่ยง (Risk Communications) และการเตือนภัย
7.1 การมีแผน/แนวทางการสื่อสารความเสี่ยงตามโรคและภัยสุขภาพที่วิเคราะห์หรือประเมินความ
เสี่ยงได้หรือตามเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉิน และมีประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานอย่างไร

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 90
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน เพื่อวางระบบกลไก แบบแผนแนวทาง รูปแบบการดาเนินงานสื่อสาร ความเสี่ยง
โรคติดต่อหรือโรคระบาดโดยการจัดตั้งคาสั่ งคณะทางานสื่ อสารความเสี่ยง เพื่ อพัฒนาระบบกลไก แบบแผน
แนวทาง รู ป แบบด้ า น การสื่ อ สารความเสี่ ยงโรคติ ด ต่อ และภัย สุ ข ภาพ ช่ ว ยให้ ก ารสื่ อ สารความเสี่ ยงเข้ าถึง
กลุ่มเป้าหมายโดยตรง ผ่านสื่อต่าง ๆ เช่น websites, social media
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน มีการกาหนดแนวทางขณะเกิดเหตุ เป็นประโยชน์กับทีมภารกิจอย่างมาก ทาให้มี
การดาเนินงานไปในทิศทางเดียวกัน และได้รับความร่วมมือจากองค์กรที่เกี่ยวข้อง ช่วยให้การสื่อสารความเสี่ยง
เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายโดยตรง ผ่านสื่อต่าง ๆ เช่น websites, social media สามารถเฝ้าระวังและตอบโต้ข่าวลือ
โดยศู น ย์ Anti-Fake News ที่ มี ห น่ ว ยงานประชาสั ม พั น ธ์ ข องจั ง หวั ด เป็ น แกนหลั ก โดยให้ ข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น จริ ง
และทันท่วงที โดยกลุ่มภารกิจสื่อสารความเสี่ยงได้ปฏิบัติตามแนวทางที่กาหนดไว้ ในช่วงแรกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
สามารถควบคุมได้มีการระบาดน้อย ทีมภารกิจจะใช้วิธีเชิงรุกลงพื้นที่ในการสื่อสารให้ข้อมูลกับประชาชนทุกกลุ่ม
และทาข่าวเสนอข้อมูลทุกวัน แต่ช่วงหลังที่มีการระบาดมากขึ้นได้ปรับวิธีการโดยมีการจั ดตั้งศูนย์ call center
ที่ ส านั ก งานสาธารณสุ ข จั ง หวั ด และสาธารณสุ ข ทุ ก อ าเภอ และในระดั บ จั ง หวั ด มี ก ารจั ด ตั้ ง call center
ในหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งเพื่ อ อ านวยความสะดวกให้ กั บ ประชาชนในพื้ น ที่ นอกจา กนี้ ยั ง ปรั บ ระบบข้ อ มู ล
การนาเสนอเสนอข้อมูลในรู แบบต่างๆที่ประชาชนสามารถเข้าถึงได้รวดเร็วเช่น ทาข่าวแจก อินโฟรกราฟฟิก
เพจ เฟสบุ๊ค การแถลงข่าวโดยผู้บัญชาการเหตุการณ์
หมวดที่ 8 การสื่อสารภายใน (หมายถึง การสื่อสารภายในระบบ ICS)
8.1 แนวทางการดาเนินงานสาหรับการสื่อสารในองค์กร
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ช่วยให้การสื่อสารภายในองค์กรตามระบบบัญชาการเหตุการณ์เป็นไปในทิศทาง
เดียวกัน มีความทันเวลา สามารถนาไปวางแผนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในภาวะปกติทีมภารกิจสื่อสารความเสี่ยง
ได้มีการกาหนดแนวทางการดาเนินงานสาหรับการสื่อสารในองค์กร
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เพื่อเฝ้าระวังข้อมูลข่าวสาร ข่าวลือ จากสื่อต่างๆ ทุกช่องทาง และประเมินการรับรู้
ของสาธารณะ (Public perceptions) วิเคราะห์ความเสี่ยงและจัดทาแผนการสื่อสารความ เสี่ยงที่เหมาะสมและ
รวดเร็ว จัดทาข้อมูลข่าวสาร ประเด็นข่าว (Press release) ประเด็นสาร (Talking point) และสื่อที่ถูกต้องแม่นยา
ครบถ้ ว น เหมาะกั บ สถานการณ์ แ ละกลุ่ ม เป้ า หมายพร้ อ ม ทั้ ง เผยแพร่ ผ่ า นช่ อ งทางที่ ห ลากหลาย ก าหนด
ผู้ รั บ ผิ ดชอบหลั ก เพื่ อ ประสานงานกั บ กลุ่ มภารกิจ อื่ น ออกแบบกลยุ ทธ์ ในการสื่ อ สาร แผนสื่ อสารความเสี่ ย ง
และกิจกรรม ให้ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย และประเมินผลการรับรู้และผลกระทบของเหตุการณ์

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 91
หมวดที่ 9 Coordination and logistical support of field operations
9.1 การสนับสนุนทีมปฏิบัติการพร้อม อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็นสาหรับลงพื้นที่ภาคสนาม
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การสนับสนุนทีมปฏิบัติการมีความสาคัญมาก เพื่อให้เกิดประโยชน์ในด้านความ
ปลอดภัยในการปฏิบัติงานและความสาเร็จของงานให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด รวมทั้งทีมสามารถ
แก้ไขปัญหาที่ไม่คาดคิดที่เกิดขึ้นในพื้นที่ และปรับการปฏิบัติตามขนาดของปัญหาที่เกิดขึ้นแต่ละเหุตุก ารณ์ได้อย่าง
เหมาะสม
เมื่อเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น ทาให้ เพิ่มหรือลด จัดหาจานวนวัส ดุอุปกรณ์ให้ เ พียงพอตามขนาดของปั ญ หา
ที่เกิดขึ้นแต่ละเหตุการณ์ได้อย่างเหมาะสม การพัฒนาศักยภาพของทีม ต่อยอด การปฏิบัติงานให้สาเร็จเป็นไปตาม
เกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด รวมทั้งทีมสามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าที่เกิดขึ้นในพื้นที่ ได้อย่างมีประสิทธิภ าพ
การรายงานเหตุการณ์และข้อมูลการเกิดภาวะฉุกเฉินรวมทั้งปัญหาในพื้นที่เพื่อร้องขอการสนับสนุนเพิ่มเติม
9.2 การสนับสนุน จัดเก็บ จัดส่งยาเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาในคลังเวชภัณฑ์ อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็น
ให้กับทีมปฏิบัติการ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน สร้างระบบรายงานข้อมูลที่แสดงข้อมูลเวชภัณฑ์คงคลังที่เป็นปัจจุบัน สามารถ
monitor โดยเป็นฐานข้อมูลที่ เชื่อมต่อกับระบบฐานข้อมูลของโรงพยาบาลไม่ต้องบันทึกข้อมูลรายงานผู้ปฏิบัติงาน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน มีการวางแผนในภาพรวมระดับจังหวัดโดยผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน ในการ
วางแผนระดับการจัดหา และระบบสารองเวชภัณฑ์ได้รับงบประมาณสนับสนุนหลักจากองค์กรปกครองบริหารส่วน
จังหวัด มีการกาหนดการรายงานคงคลัง และข้อบ่งใช้ในทรัพยากรที่ขาดแคลนนอกจากนี้มีระบบบริหารทรัพยากร
ในเขตสุขภาพ
หมวดที่ 10 Training, Exercise and Evaluation
10.1 การจัดอบรมตามหลักสูตรกลาง (ICS100) ที่จัดตั้งขึ้นมาเป็นการเฉพาะเพื่อฝึกอบรมเจ้าหน้าที่
ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC) และเจ้าหน้าที่ตามโครงสร้าง ICS
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน มีความจาเป็น เนื่องจากทาให้เจ้าหน้าที่ใน PHEOC/EOC มีความรู้ระบบบัญชาการ
เหตุการณ์และการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินที่ถูกต้อง (กรณีที่ไม่สามารถอบรม ICS100 สามารถอบรมหลักสูตรออนไลน์
จากส่ ว นกลางได้) โดยผู้ รั บ ผิ ดชอบได้มีการรวบรวมรายชื่อผู้ ผ่ านการอบรม โดยระดับผู้ บริห ารรับการอบรม
จากส่วนกลาง ส่วนระดับผู้ปฏิบัติได้มีการจัดอบรมให้ความรู้

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 92
เมื่ อ เกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น บุ ค ลากรตามค าสั่ ง ICS ของจั ง หวั ด ที่ ผ่ า นการอบรม ส่ ว นใหญ่ เ ข้ า ใจบริ บ ท
และสถานการณ์ที่เกิดขึ้น สามารถดาเนินการตามภารกิจที่ได้รับมอบหมายได้ ซึ่งในช่วงแรกการดาเนินงานอาจ
ติดขัดบ้าง แต่พอได้ดาเนินการไปสักระยะ จะพบปัญหาและสามารถปรับแก้ไขตามสถานการณ์ได้
10.2 แผน (BCP/IAP) ระบบการบริหารจัดการข้อมูล และกิจกรรม การฝึกซ้อมแผนเป็นการเฉพาะ
ให้กับเจ้าหน้าที่ตามคาสั่งศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC)
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน แผน (BCP/IAP) ระบบการบริหารจัดการข้อมูล และกิจกรรม การฝึกซ้อมแผน
เป็นการเฉพาะให้กับเจ้าหน้าที่ตามคาสั่งศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC)
มีความจาเป็นในการเตรียมความพร้อมด้านการบริหารจัดการทรัพยากรต่างๆ บริหารจัดการข้อมูล และการบริหาร
จัดการกาลังคนด้านสุขภาพ ของหน่วยงาน สสจ. รพท. รพช. สสอ. และ รพ.สต เพื่อเตรียมรองรับสาธารณภัย
ที่จะเกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพและเพื่อให้ “หน่วยงาน”ได้เตรียมความพร้อมองค์กร และสามารถนาไปใช้ใน
การตอบสนองและปฏิบัติงานในสภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ฉุกเฉินต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีแผน (BCP/IAP) ระบบการบริหารจัดการข้อมูล และกิจกรรม การฝึกซ้อมแผน
เป็นการเฉพาะให้กับเจ้าหน้าที่ตามคาสั่งศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC)
ส่งผลให้ หน่วยงานสามารถตอบสนองและปฏิบัติงานในสภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ฉุกเฉินต่าง ๆ ทั้งที่เกิดจากภัย
ธรรมชาติ อุบัติเหตุ อุบัติการณ์โรคระบาด หรือการมุ่งร้ายต่อองค์กร โดยไม่ให้สภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ฉุกเฉิน
ดังกล่าวส่งผลให้หน่วยงานต้องหยุดการดาเนินงานหรือไม่สามารถให้บริการได้อย่างต่อเนื่อง
พื้นที่เขตสุขภาพที่ 12
หมวดที่ 1 บริบท
1.1 การกาหนดพันธกิจและขอบเขตการปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข (PHEOC /EOC)
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ใช้เป็นกรอบแนวทาง/ทิศทาง การปฏิบัติภารกิจหรือบริการหลักขององค์กรภายใต้
ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน พันธกิจและขอบเขตปฏิบัติงานนั้นถูกประชาสัมพันธ์เผยแพร่ไปสู่กลุ่มภารกิจและ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1.2 การจั ด ท าแผนรองรั บ ภาวะฉุ กเฉิน ระดั บ จั ง หวั ด ตามภัย และการประเมิ น ความเสี่ย งที่ มี การ
จัดลาดับความสาคัญ

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 93
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น มี แผนที่เตรียมพร้อมล่ วงหน้ ารองรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข มีแนวทางการ
ดาเนินงาน ในแต่ละโรค ภัยสุขภาพตามความเสี่ยง /ทรัพยากรที่จาเป็น และเมื่อเกิดเหตุสามารถเรียกใช้แผนได้ทันที
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน แผนจัดการภาวะฉุกเฉินระดับจังหวัดตามภัยและความเสี่ยงที่มีความสาคัญสาหรับ
จังหวัดแผนปฏิบัติการสาหรับทุกภัยอันตราย(AHP) แผนประคองกิจการ (BCP) (อย่างน้อย 1 โรค และ 1 ภัย
สุขภาพ) ที่ได้รับความเห็นชอบรวมทั้งมีการเผยแพร่ให้ทุกกลุ่มในหน่วยงานรับทราบและสามารถปฏิบัติได้
หมวดที่ 2 ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉิน
2.1 โครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
(PHEOC/EOC) และระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS) (คน เงิน ของ)
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน มีการกาหนดโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์และสาธารณสุขและระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS)(คน เงิน ของ) ทุกโรค/ภัยที่มีความเสี่ยงจาก
การประเมินความเสี่ยง และได้รับการอนุมัติและมีการเผยแพร่
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน โครงสร้างพื้นฐานสามารถรองรับการเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์
และสาธารณสุข และระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS) (คนเงิน ของ) ทุกโรค/ภัยที่เกิดขึ้นได้
2.2 การอบรมบุคลากรให้มีความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์
และสาธารณสุข (PHEOC /EOC) และระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS)
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน ทางการแพทย์และสาธารณสุข มีเจ้าหน้าที่บุคลากร
ที่ผ่านการอบรมเพื่อการรับแจ้งเหตุ ตรวจสอบเหตุการณ์เพื่อค้นหาภาวะฉุกเฉินและปัญหาที่อาจมีขึ้น
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เจ้าหน้าที่บุคลากรที่ผ่านการอบรมสามารถรับเหตุ ตรวจสอบเหตุการณ์เพื่อค้นหา
ภาวะฉุกเฉินและปัญหาที่เกิดขึ้นได้ตามแนวทาง
หมวดที่ 3 กรอบโครงสร้างการทางาน
3.1 การมี ร ะบบหรื อ กลไกการประสานงานของศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์ แ ละ
สาธารณสุข (PHEOC/EOC) กับหน่วยงานภายใน และหน่วยงานภายนอก

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 94
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีระบบหรือกลไกการประสานงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการ
แพทย์และสาธารณสุข มีเอกสารแผนระบุบทบาทและความรับผิดชอบโดยได้รับความเห็น ชอบจากผู้บังคับบัญชา
ของหน่วยงานและแจ้งหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องทราบ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีระบบหรือกลไกการประสานงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการ
แพทย์และสาธารณสุข สามารถที่จะดาเนินการตามแนวทางการประสานแผนกับหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องทั้ง
ภาครัฐ เอกชนและ NGOs ได้
หมวดที่ 4 ระบบข้อมูล
4.1 การเชื่ อ มโยงข้ อ มู ล การปฏิ บั ติ ง านระหว่ า งศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์ แ ละ
สาธารณสุข (PHEOC/EOC) กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉินและเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การเชื่อมโยงข้อมูลการปฏิบัติงานระหว่างศูนย์ปฏิบัติการ
ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (PHEOC./EOC) สามารถเข้าถึงและจัดให้
มีชุดข้อมูลเพื่อการปฏิบัติการทั่วไปที่เป็นปัจจุบัน
หมวดที่ 5 Critical Information
5.1 ระบบการรายงาน ข้อมูลทรัพยากร ระบุตาแหน่งและสถานะของการปฏิบัติงานของทีมปฏิบัติการ
ทางการแพทย์และสาธารณสุข หรือทีมปฏิบัติการจากหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องผ่านอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่
จาเป็น
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ระบบการรายงาน ข้อมูลทรัพยากร ระบุตาแหน่งและสถานะของการปฏิบัติงาน
ของที ม ปฏิ บั ติ ก ารทางการแพทย์ แ ละสาธารณสุ ข หรื อ ที ม ปฏิ บั ติ ก าร มี ก ารก าหนด ระบบการรายงาน
ข้อมูลทรัพยากรไว้ล่วงหน้า สาหรับโรค/ภัยสุขภาพ และความเสี่ยง และระบุเครือข่าย หรือหน่วยงานผู้ให้ข้อมูล
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ระบบการรายงาน ข้อมูลทรัพยากร ระบุตาแหน่งและสถานะของการปฏิบัติงานของ
ทีมปฏิบัติการทางการแพทย์และสาธารณสุข หรือทีมปฏิบัติการ ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน ทางการแพทย์และ
สาธารณสุข (PHEOC./EOC) สามารถเข้าถึงและจัดให้มีชุดข้อมูลเพื่อการปฏิบัติการทั่วไปที่เป็นปัจจุบันได้
หมวดที่ 6 Incident management and response
6.1 การมีแนวทางปฏิบัติของแต่ละกลุ่มภารกิจอยู่ในศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข (PHEOC) ตามระบบบัญชาการเหตุการณ์

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 95
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น การมีแนวทางปฏิบัติของแต่ล ะกลุ่ มภารกิจอยู่ในศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์และสาธารณสุข ควรมีเอกสาร/แนวทางปฏิบัติของแต่ละกลุ่มภารกิจอยู่ในศูนย์ปฏิบัติการภาวะ
ฉุกเฉินครบทุกองค์ประกอบ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีแนวทางปฏิบัติของแต่ละกลุ่มภารกิจอยู่ในศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการ
แพทย์และสาธารณสุข มีคาสั่งแต่งตั้งที่กาหนดบทบาทหน้าที่เอกสาร แนวทางที่บ่งบอกถึงโครงสร้างของระบบ
บัญชาการเหตุการณ์ของหน่วยงาน
6.2 การแต่งตั้งหรือกาหนดตัวเจ้าหน้าที่ที่จะปฏิบัติงานตามโครงสร้างการบัญชาการเหตุการณ์ภายใต้
การดาเนินงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC./EOC) และสามารถ
นาไปใช้เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข และมีประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานอย่างไร
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การแต่งตั้งหรือกาหนดตัวเจ้าหน้าที่ที่จะปฏิบัติงานตามโครงสร้างการบัญชาการ
เหตุการณ์ภายใต้การดาเนินงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุ ข และสามารถ
นาไปใช้เมื่อเกิดภาวะเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุขจริงได้
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การแต่งตั้งหรือกาหนดตัวเจ้าหน้าที่ที่จะปฏิบัติงานตามโครงสร้างการบัญชาการ
เหตุการณ์ภายใต้การดาเนินงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข มีคาสั่งแต่งตั้ง
ที่กาหนดบทบาทหน้าที่หรือ เอกสารแนวทางที่บ่งบอกถึงโครงสร้างของระบบบัญชาการเหตุการณ์ของหน่วยงาน
หมวดที่ 7 การสื่อสารความเสี่ยง (Risk Communications) และการเตือนภัย
7.1 การมีแผน/แนวทางการสื่อสารความเสี่ยงตามโรคและภัยสุขภาพที่วิเคราะห์หรือประเมินความ
เสี่ยงได้หรือตามเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉิน และมีประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานอย่างไร
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น การมี แ ผน แนวทางการสื่ อ สารความเสี่ ย งตามโรคและภั ย สุ ข ภาพครบทุ ก
องค์ประกอบ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน มีแผน แนวทาง โครงการที่เกี่ยวกับการสื่อสารความเสี่ยงครบในทุกองค์ประกอบ
หมวดที่ 8 การสื่อสารภายใน (หมายถึง การสื่อสารภายในระบบ ICS)
8.1 แนวทางการดาเนินงานสาหรับการสื่อสารในองค์กร
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ควรมีแผนการสื่อสารที่องค์ประกอบตามตัวชี้วัด
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน มีแผน หรือ โครงการ หรือแนวทางพัฒนาที่ประกอบด้วยข้อมูลครบ และได้ผ่าน
ความเห็นชอบจากผู้บริหารหน่วยงาน และมีการทดสอบระบบหรือการซ้อมแผนอย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 96
หมวดที่ 9 Coordination and logistical support of field operations
9.1 การสนับสนุนทีมปฏิบัติการพร้อม อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็นสาหรับลงพื้นที่ภาคสนาม
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิด ภาวะฉุ กเฉิน การสนับสนุนทีมปฏิบัติการพร้อม อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็นสาหรับลงพื้ นที่
ภาคสนาม เจ้าหน้าที่ควรผ่านการอบรม ICS
เมื่อเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น ศูน ย์ ป ฏิบั ติการภาวะฉุกเฉิน มีห รือสามารถหามีเจ้าหน้าที่ที่ผ่ านการฝึ กอบรม
ICS100 มีSOPs การส่งทีมภาคสนามลงพื้นที่ อย่างน้อย 1 SOP มีอุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็นเพื่อ สาหรับลงพื้นที่
ภาคสนาม
9.2 การสนับสนุน จัดเก็บ จัดส่งยาเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาในคลังเวชภัณฑ์ อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็น
ให้กับทีมปฏิบัติการ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ควรมีการเตรียมความพร้อมในการสนับสนุน จัดเก็บ จัดส่งยาเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา
ในคลังเวชภัณฑ์ อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็นให้กับทีมปฏิบัติการ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน มีหรือสามารถหาเจ้าหน้าที่ที่ผ่านการฝึกอบรม ICS
มี SOPs 1) การสนั บ สนุ น ด้ า น Logistics 2) การจั ด เก็ บ ยา เวชภั ณ ฑ์ ที่ มิ ใ ช่ ย าสารเคมี ใ นคลั ง เวชภั ณ ฑ์
3) การจัดส่งยา เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาสารเคมี ตามมาตรฐานไปยังพื้นที่ 4) การให้คาแนะนาในการใช้ยาเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา
สารเคมี Resource mapping ตามโรคและภั ย อย่ า งน้ อ ย 1 SOP และ 5) มี อุ ป กรณ์ / เครื่ อ งมื อ ที่ จ าเป็ น เพื่ อ
ให้การสนับสนุน จัดเก็บ จัดส่ง ให้คาแนะนาในการใช้ PPE
หมวดที่ 10 Training, Exercise and Evaluation
10.1 การจัดอบรมตามหลักสูตรกลาง (ICS100) ที่จัดตั้งขึ้นมาเป็นการเฉพาะเพื่อฝึกอบรมเจ้าหน้าที่
ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC) และเจ้าหน้าที่ตามโครงสร้าง ICS
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
เมื่อเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น มีการฝึ กอบรมเจ้าหน้าที่ห ลั กของ ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน ทางการแพทย์
และสาธารณสุข และ ICS ระดับจังหวัด อย่างน้อยร้อยละ 80 (ตามคาสั่ง ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินฯ )
10.2 แผน (BCP/IAP) ระบบการบริหารจัดการข้อมูล และกิจกรรม การฝึกซ้อมแผนเป็นการเฉพาะ
ให้กับเจ้าหน้าที่ตามคาสั่งศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC)
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน มีแผนที่แสดงรายละเอียดการดาเนินงาน (Gantt chart) และมีการเขียนแผนการ
ซ้อมแผนที่เป็นเอกสารและได้ผ่านความเห็นชอบจากผู้บริหารของหน่วยงาน พร้อมได้รับการเผยแพร่หรือแจ้งเวียน
ให้กับเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานรับทราบ

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 97
ส่วนที่ 3
สรุปภาพรวมสาหรับการพัฒนาศูนย์ปฏิบตั ิการ
ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 98
ส่วนที่ 3
สรุปภาพรวมสาหรับการ พัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC)
พื้นที่เขตสุขภาพที่ 1
1.เป้าหมายของการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC) และ
ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น การกาหนดเป้าหมายในการพัฒ นาศูนย์ปฏิบัติการฯ เพื่อ ติดตามสถานการณ์
ปัจจุบันอย่างใกล้ชิดให้สามารถดาเนินการควบคุมป้องกันโรคได้อย่างรวดเร็วและทันเหตุการณ์
เมื่ อ เกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น เป้ า หมายของการพั ฒ นาศู น ย์ ปฏิ บัติ ก ารฯ สามารถบริ ห ารจั ดการทรัพ ยากร
ในการจัดการสถานการณ์ฉุกเฉิน รวมถึงประสานระดับนโยบายกับหน่วยงานที่เกี่ ยวข้องทั้งภายในและภายนอก
กระทรวงสาธารณสุขได้ทันต่อเหตุการณ์
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การกาหนดเป้าหมายในการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการฯ เพื่อการเตรียมความพร้อม
รับมือทั้งบุคลากร แผนรองรับภาวะฉุกเฉิน และระบบขนส่ง (logistic) รวมทั้งการฝึกซ้อมแผน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การกาหนดเป้าหมายในการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการฯ เพื่อให้มีศูนย์ปฏิบัติการภาวะ
ฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุขที่สามารถบริหารจัดการได้อย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพภายใต้ ระบบ
บัญชาการเหตุการณ์ (ICS)
2.การกากับดูแลให้การปฏิบัติของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC)
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การกากับดูแลให้การปฏิบัติของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข โดยผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขมีการกากับ ติดตามสถานการณ์ในแต่ละจังหวัด และผลการ
ดาเนินงานของแต่ละกล่องภารกิจ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การกากับดูแลให้การปฏิบัติของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข โดยผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขมีการกากับติดตามอย่างต่อเนื่อง รวมถึงมีการบริหารจัดการ
แก้ไขปัญหาได้เป็นอย่างดี
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การกากับติดตามผลการดาเนินงาน จากการสั่งการของผู้บัญชาการเหตุการณ์
โดยนายแพทย์สานักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงรายอย่างใกล้ชิด
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การกากับติดตามผลการดาเนินงาน จากการสั่งการของผู้บัญชาการเหตุการณ์โดย
นายแพทย์สานักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงรายอย่างใกล้ชิด ซึ่งมีการกากับติดตามโดยการประชุมศูนย์ปฏิบัติการ
อย่างสม่าเสมอ

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 99
3.สิ่งที่ได้เรียนรู้หรือบทเรียนจากการปฏิบัติงานฯ
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น การเตรี ย มความพร้อมรองรับสถานการณ์ ฉุกเฉิน ในทุ กด้าน ทั้งด้านบุคลากร
ทรัพยากร งบประมาณ สถานที่ จะทาให้สามารถรับมือต่อสถานการณ์ฉุกเฉินที่เกิดขึ้น
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การบริหารจัดการสถานการณ์ที่ดี และปฏิบัติการตามแผนการเตรียมความพร้อมที่
ได้วางแผนร่วมกันจัดทาส่งผลต่อการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน และเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน หน่วยงานเครือข่ายที่เข้มแข็งเป็นปัจจัยที่ส่งผลการ
ปฏิบัติงานสาเร็จลุล่วงได้ดี
4.การนาสิ่งที่เรียนรู้ได้ไปใช้ในการปฏิบัติงานจริง
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน สามารถนาบทเรียนที่ได้รับจากการปฏิบัติงานมาประยุกต์ใช้กับสถานการณ์อื่นๆได้
ตามบริบทของพื้นที่
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน สามารถนาบทเรียนที่ได้รับจากการปฏิบัติงาน โดยเฉพาะในการสถานการณ์การ
แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 มาประยุกต์ใช้กับสถานการณ์อื่นๆได้ ตามบริบทของพื้นที่
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุ กเฉิน และเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน สิ่งที่ได้เรียนรู้คือการสร้างความร่วมมือที่ดีด้านการ
ประสานงานและขอความร่วมมือในการบูรณาการร่วมกันกับเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกกระทรวงสาธารณสุข
ที่เกี่ยวข้อง
ปัจจัย/ตัวแปร ที่ทาให้ผลการ ปัญหา/อุปสรรคที่ทาให้ผลการ แนวทางการแก้ไขปัญหา/
ปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการ ปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการ อุปสรรค
ภาวะฉุกเฉินฯ ภาวะฉุกเฉินฯ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
สานักงานเขต ผู้บริหาร บุคลากรทางแพทย์ และผู้ 1.ความร่วมมือขององค์กรปกครอง 1.มีการคาดการณ์สถานการณ์ และ
สุขภาพที่ 1 มีส่วนเกี่ยวข้องในทุกภาพส่วน ท้องถิ่น ยังไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้ เตรียมความพร้อมรับมือต่อ
รวมถึงประชาชน ในการเตรียม 2.การสนับสนุนจากส่วนกลางทั้ง สถานการณ์ รวมถึงวางแผนบริหาร
ความพร้อมรับมือสถานการณ์ที่จะ เรื่องยาและเวชภัณฑ์บางครั้งยังไม่ จัดการด้านทรัพยากรร่วมกัน
เกิดขึ้น ทันต่อสถานการณ์ 2.มีการบริหารจัดการและแบ่งปัน
3.ด้านระบบข้อมูลที่ยังไม่มีระบบ ทรัพยากรร่วมกันจากทุกหน่วยงาน
รองรับที่ชัดเจน ทั้งการลงข้อมูล ภายในเขตสุขภาพ
การวิเคราะห์และการนาไปใช้
สานักงาน บุคลากรที่มีความรู้ความเข้าใจ การ ความร่วมมือ และความเข้าใจของ สื่อสารทาความเข้าใจให้ประชาชน
สาธารณสุขจังหวัด บริหารจัดการที่เป็นระบบตาม ประชาชน ตระหนัก และให้ความร่วมมือใน
บัญชาการเหตุการณ์ (ICS) การ การปฏิบัติ
สื่อสารความเสี่ยงทั้งในภาวะฉุกเฉิน
/ ขณะเกิดเหตุ ความร่วมมือจาก
หน่วยงานเครือข่ายทั้งภายใน
ภายนอกกระทรวงสาธารณสุข

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 100
พื้นที่เขตสุขภาพที่ 2
1.เป้าหมายของการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC) และ
ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
สานักงานเขตสุขภาพ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เพื่อให้ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทาหน้าที่เป็นศูนย์ประสานงาน เพื่อให้ข้อสั่งการ
ต่างๆ ของผู้บัญชาการเหตุการณ์ได้รับการปฏิบัติอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ และให้งานต่างๆ ที่อยู่ในความ
รับผิดชอบของหน่วยงานต่างๆ ยังคงอยู่ที่หน่วยงานที่รับผิดชอบในเรื่องนั้นๆ โดยจะไม่ดึงงานที่มีอยู่แล้ ว จาก
สานักต่างๆ มาไว้ที่เดียวกัน และจะไม่สร้างงานที่ซ้าซ้อนกับที่สานักอื่นๆ ทาอยู่แล้วขึ้นมาใหม่
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น เพื่ อ การเตรี ย มความพร้ อ มของศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์
และสาธารณสุข (PHEOC/EOC) และระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุขเพื่อตอบโต้ภาวะ
ฉุกเฉินได้อย่างทันเหตุการณ์ ทั้งด้านกาลังคน งบประมาณ และทรัพยากรที่จาเป็น
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เพื่อเป็นกรอบทาให้สามารถดาเนินการศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์
และสาธารณสุ ข (PHEOC/EOC) และระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุ ขได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ เพื่อลดผลกระทบและความรุนแรงต่อสุขภาพของประชาชน
2.การกากับดูแลให้การปฏิบัติของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC)
สานักงานเขตสุขภาพ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การกากับดูแลให้การปฏิบัติของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุขมีประสิทธิภาพ สามารถดาเนินการตามข้อสั่งการได้อย่างเหมาะสม ครบถ้วน และถูกต้อง
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉินและเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เพื่อให้มีการดาเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจาก มี
การสั่งการจากผู้บัญชาการเหตุการณ์ที่เป็นข้อสั่งการที่ชัดเจน นาไปสู่การปฏิบัติของผู้ปฏิบัติงาน และมีการติดตาม
ประเมินผลจากทีมที่เกี่ยวข้อง

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 101
3.สิ่งที่ได้เรียนรู้หรือบทเรียนจากการปฏิบัติงานฯ
สานักงานเขตสุขภาพ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ในสถานการณ์ฉุกเฉินต่างๆ การดาเนินงานต้องมีความรวดเร็วในการสื่อสาร รวมถึง
ความถูกต้อง แม่นยา
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข ใช้ระบบบัญชาการ
เหตุการณ์ (ICS) และสั่ งการแบบบนลงล่ าง ดังนั้น ผู้ ปฏิบัติงานต้องเข้าใจในระบบการสั่ ง การจึงจะสามารถ
ปฏิบัติงานได้ และไม่เกิดความสับสนในการปฏิบัติงาน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การประชุมพัฒนางานอย่างต่อเนื่องทาให้เกิดการแก้ปัญหาในระดับองค์กรได้ดียิ่งขึ้น
เพื่อเป็นเวทีให้แต่ละกลุ่มภารกิจส่งต่องานและมีการประสานการทางานร่วมกันการพัฒนาช่ องทางการสื่อสาร
เช่น กลุ่มไลน์ทาให้สามารถแก้ปัญหาได้อย่างรวดเร็ว
4.การนาสิ่งที่เรียนรู้ได้ไปใช้ในการปฏิบัติงานจริง
สานักงานเขตสุขภาพ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข ภายใต้ระบบบัญชาการ
เหตุการณ์ (ICS) ทาให้สามารถเข้าใจบทบาทหน้าที่ และการปฏิบัติงานของแต่ละกลุ่มภารกิจได้อย่างชัดเจน
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น จากการทางานในศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
ทาให้เจ้าหน้าที่ในสานักงานสาธารณสุขจังหวัด รับรู้บทบาทหน้าที่ของตนเองตามโครงสร้างมากขึ้น รวมถึงมีการ
ประสานงานกันมากขึ้น ทาให้ในการปฏิบัติงานจริงมีการประสานงานได้อย่างราบรื่นยิ่งขึ้น
เมื่อเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น จากการทางานในศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุ ข
ทาให้เจ้าหน้าที่ในสานักงานสาธารณสุขจังหวัด รับรู้บทบาทหน้าที่ของตนเองตามโครงสร้างมากขึ้น รวมถึงมีการ
ประสานงานกันมากขึ้น ทาให้ในการปฏิบัติงานจริงมีการประสานงานได้อย่างราบรื่นยิ่งขึ้น

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 102
ปัจจัย/ตัวแปร ที่ทาให้ผลการ ปัญหา/อุปสรรคที่ทาให้ผลการ แนวทางการแก้ไขปัญหา/
ปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการ ปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการ อุปสรรค
ภาวะฉฉุกเฉินฯ ภาวะฉุกเฉินฯ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
สานักงานเขต ความร่วมมือและความเข้าใจในการ บริบทแต่ละพื้นที่ ที่ต้องมีการ การสร้างความเข้าใจให้แก่ผู้ปฏิบัติ
สุขภาพที่ 2 ปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติทุกระดับ ปรับเปลี่ยนแนวทาง มาตรการ ทุกระดับ ปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่
แผนการดาเนินงานตาม
สถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริง
สานักงาน 1.ผู้บัญชาการเหตุการณ์ ความแตกตื่นของประชาชน ทาให้ ก า ร สื่ อ ส า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง ที่ มี
สาธารณสุขจังหวัด 2.ความเข้าใจระบบงานของ มีประชาชนต้องการการแก้ปัญหา ประสิทธิภาพ เช่น การสื่อสารผ่าน
ผู้ปฏิบัติงาน เร่งด่วน ทาให้เป็นอุปสรรคในการ ช่องทางออนไลน์ จัดทีมในการตอบ
3.โครงสร้างการดาเนินงานที่ ด าเนิ น งานของศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก าร คาถามให้กับประชาชน หรือ ช่วย
ชัดเจน ภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์ แ ละ แก้ปัญหาให้กับประชาชน
4.งบประมาณ/อุปกรณ์การ สาธารณสุข ข่าวปลอม ทาให้เป็น
สนับสนุน อุปสรรคในการแก้ปัญหาที่ควรจะ
5.กลไกการประสานงาน สามารถดาเนินการได้อย่างเร่งด่วน

พื้นที่เขตสุขภาพที่ 3
1.เป้าหมายของการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC) และ
ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น มี ก ารเตรี ย มความพร้ อ มส าหรั บ การด าเนิ น การตอบโต้ ภ าวะฉุ ก เฉิ น ทาง
ด้านการแพทย์และสาธารณสุขได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เมื่ อ เกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น สามารถเผชิ ญ เหตุ จั ด การภาวะฉุ ก เฉิ น โรคและภั ย สุ ข ภาพ ได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว
ทันต่อสถานากรณ์และมีประสิทธิภาพ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน เพื่อให้เกิดความพร้อม ทั้งการวางแผน การจัดระบบการทางาน การเตรียมวัสดุ
อุปกรณ์ เพื่อให้การดาเนินงานในการโต้ตอบภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุขมีประสิทธิภาพสาหรับ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข สามารถปฏิบัติงาน
ได้จริง รวมไปถึงระบบจัดการสามารถดาเนินการไปได้ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ สามารถเผชิญเหตุ จัดการภาวะฉุกเฉิน
โรคและภัยสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพตามเงื่อนไขกรอบเวลาที่กาหนด

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 103
2.การกากับดูแลให้การปฏิบัติของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC)
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน และเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การกากับดูแลให้ การปฏิบัติของศูนย์ปฏิบัติการภาวะ
ฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข ดาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น การก ากั บ ดู แ ลให้ ก ารปฏิ บัติ ข องศู น ย์ ป ฏิบั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ นทางการแพทย์
และสาธารณสุ ข ดาเนิ น การได้มีป ระสิ ทธิภ าพตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของหน่ว ยงาน โดยการใช้กลไก
ของคณะกรรมการศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุขกากับการดาเนินงาน
เมื่ อ เกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น การก ากั บ ดู แ ลให้ ก ารปฏิ บั ติ ข องศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์
และสาธารณสุ ข ดาเนิ น การได้มีป ระสิ ทธิภ าพตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของหน่ว ยงาน โดยการใช้กลไก
ของคณะกรรมการศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุขและการประชุมศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินฯ
ในการกากับการดาเนินงาน
3.สิ่งที่ได้เรียนรู้หรือบทเรียนจากการปฏิบัติงานฯ
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การเตรียมความพร้อมระบบการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ทั้งด้านแผนรองรับภาวะ
ฉุกเฉินและแผนเผชิญเหตุ รวมไปถึงคาสั่งการแบ่งงานตามโครงสร้างระบบบัญชาการเหตุการณ์ตามแต่ล ะกลุ่ ม
ภารกิ จ ที่ ชั ด เจน การประชุ ม ชี้ แ จง ท าให้ ผู้ ป ฏิ บั ติ งานเข้ า ใจบทบาทหน้ า ที่ ข องตนเองจะท าให้ ก ารด าเนิ นงาน
เป็นไปอย่างเป็นระบบ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ผู้บัญชาการเหตุการณ์ (IC) มีการสั่งการที่ชัดเจนและมีการติดตามอย่างต่อเนื่อง
รวมทั้งผู้ปฏิบัติงานรับทราบบทบาทหน้าที่ของตนเอง เป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้การดาเนินงานของศูนย์ปฏิบัติการ
ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุขบรรลุเป้าหมายและประสบผลสาเร็จ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การเตรียมความพร้อมระบบการจัดการภาวะฉุกเฉิน ทั้งด้าน บุคลากร งบประมาณ
ทรัพยากร การแบ่งงานตามโครงสร้างกลุ่มภารกิจที่ชัดเจน มีการวางแผนการทางานร่วมกันระหว่างกลุ่มภารกิจทาให้
ผู้ปฏิบัติงานเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเองจะทาให้การดาเนินงานเป็นไปอย่างเป็นระบบ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การดาเนินงานจะบรรลุเป้าหมายได้นั้น ต้องเกิดจากความร่วมมือกันในแต่ละกลุ่ม
ภารกิจ ผู้บัญชาการเหตุการณ์และหัวหน้ากล่องภารกิจมีความสาคัญมากต้องมีทั้งความรู้และประสบการณ์ เพื่อช่วย
ในการตัดสินใจและการเผชิญเหตุ จะช่วยให้การ Activate ศูนย์ปฏิบัติการฯ ได้มีประสิทธิภาพ

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 104
4.การนาสิ่งที่เรียนรู้ได้ไปใช้ในการปฏิบัติงานจริง
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน นาสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้มาวางแผนปรับปรุง การปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการ
ภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์ แ ละสาธารณสุ ข ทั้ ง ด้ านการเตรีย มที ม ปฏิบั ติก าร งบประมาณ และวั ส ดุ เ ครื่ องมือ
ในการรองรับการแพร่ระบาดของโรคและภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาของเขตสุขภาพ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ผู้บัญชาการเหตุการณ์ (IC) และแต่ละกลุ่มภารกิจ สามารถปฏิบัติงานตามบทบาท
หน้าที่ และสามารถ Activate ศูนย์ปฏิบัติการฯ ได้มีประสิทธิภาพ

สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การกาหนดเป็นนโยบายสาคัญของจังวหัดและหน่วยงานในการเตรียมความพร้อม
ทั้งด้านทีมปฏิบัติการ งบประมาณ และวัสดุ เครื่องมือ ในการรองรับการแพร่ระบาดของโรคและภัยที่เป็นปัญหา
ของจั ง หวั ด ที่ ส าคั ญ และสามารถน าความรู้ จ ากการปฏิ บั ติ ง านศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์
และสาธารณสุขไปประยุกต์ใช้ในการทางานด้านอื่นๆ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การประยุกต์ใช้องค์ความรู้จากการปฏิบัติงานศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน ทางการ
แพทย์ และสาธารณสุ ขไปใช้ในการวางแผนการดาเนินงานด้านอื่นๆ รวมทั้ง ผู้ บัญชาการเหตุการณ์ที่มีความรู้
และประสบการณ์สามารถสั่งการและดูแลให้มีการปฏิบัติงานภายใต้ศูนย์ปฏิบัติการฯ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 105
ปัจจัย/ตัวแปร ที่ทาให้ผลการ ปัญหา/อุปสรรคที่ทาให้ผลการ แนวทางการแก้ไขปัญหา/
ปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการ ปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการ อุปสรรค
ภาวะฉุกเฉินฯ ภาวะฉุกเฉินฯ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
สานักงานเขต ผู้บัญชาการเหตุการณ์ (IC) สั่งการ ข้อจากัดในส่วนกาลังคน ในช่วง 1.การพัฒนาศักยภาพบุคลากร
สุขภาพที่ 3 ได้ชัดเจนในทุกภารกิจ และมีการ Activate EOC เพื่อตอบโต้การ เพื่อเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะ
ติดตามผลการดาเนินงาน แก้ไข แพร่ระบาด เจ้าหน้าที่ตามกล่อง ฉุกเฉินทั้งโรคและภัยสุขภาพ
ปัญหาอุปสรรคอย่างต่อเนื่อง ภารกิจ ยังมีงานประจาที่ต้อง 2.การพัฒนาแผนรองรับภาวะ
รวมทั้งผู้ปฏิบัติงานมีความเข้าใจใน ปฏิบัติตามเป้าหมาย ทั้งด้าน ฉุกเฉินทั้งโรคและภัยสุขภาพ จัดทา
บทบาทหน้าที่ของตนเอง ตัวชี้วัด ของส่วนราชการระดับกรม All Hazard Plan: (AHP)
กอง ด้วยเงื่อนไขกรอบเวลา และ เตรียมการทบทวนแผนเดิมที่มีอยู่
งบประมาณ เป็นต้น จึงไม่สามารถ และจัดทาให้ครอบคลุมทุกโรคและ
ปฏิบัติงานได้เต็มเวลาตามภารกิจ ภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาของเขต
มอบหมายตามแต่ละกลุ่มภารกิจ สุขภาพที่ 3 และจังหวัดในเขต
สุขภาพที่ 3
สานักงาน 1.การมีส่วนร่วมของผู้ที่เกี่ยวข้อง 1.บุคลากรสาหรับการปฏิบัติงาน 1.การจัดการอบรมเพิ่มศักยภาพ
สาธารณสุขจังหวัด ทั้งภายในและภายนอกกระทรวง ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน และพัฒนาสมรรถนะบุคลากรใน
สาธารณสุข ทางการแพทย์และสาธารณสุข ทุกกลุ่มภารกิจ เช่น Training
2.การดาเนินการซ้อมแผนก่อนเกิด ขาดความรู้และประสบการณ์ใน Basic, IC, SAT, JIT, Risk
เหตุการณ์ การดาเนินงานในบางส่วน จึงส่งผล Communication เพื่อสามารถ
3.การเตรียมความพร้อมของทีม ต่อการปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตามคาสั่ง EOC หน่วยงานของ 2.การเปลี่ยนแปลงระบบการ 2.ควรจัดทาเป็นนโยบาย
หน่วยงานกาหนด บทบาทหน้าที่ ปฏิบัติงาน อีกทั้งยังขาดการบูรณา ระดับประเทศให้ชัดเจน กาหนด
ความรับผิดชอบชัดเจน การ และการมีส่วนร่วมของภาคี แผนการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัด พร้อม
4.การวางแผนและจัดทาแผนการ เครือข่ายนอกองค์กรที่เกี่ยวข้อง สนับสนุนทรัพยากร งบประมาณ
ดาเนินงานได้ครอบคลุมและมี เนื่องจากเหตุการณ์ที่ผ่านมาเป็น ในการดาเนินงานที่เพียงพอและ
ความชัดเจน ทั้งแผนการเผชิญเหตุ เหตุการณ์เกิดรวดเร็ว และเป็น เหมาะสม
และแผนประคองกิจการของ ปัญหาระดับนานาชาติ การจัดการ 3.การบูรณาการ การบริหารจัดการ
หน่วยงาน ต้องอาศัยภาคีเครือข่ายนอกองค์กร แก้ไขปัญหาของศูนย์ปฏิบัติการ
5.การปฏิบัติหน้าที่ตามกลุ่มภารกิจ ทุกระดับ การบริหารจัดการภายใน ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
ทุกกลุ่ม ดาเนินการตามแผนการ หน่วยงานไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ สาธารณสุข ภายใต้คณะกรรมการ
ดาเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.ภาระงานของเจ้าหน้าที่ โรคติดต่อจังหวัด
6.ผู้บัญชาการเหตุการณ์ (IC) สั่ง ค่อนข้างมาก ทั้งงานประจาและ
การได้ชัดเจนในทุกภารกิจ และมี งานตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน
การติดตามผลการดาเนินงาน
แก้ไขปัญหาอุปสรรคอย่างต่อเนื่อง

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 106
พื้นที่เขตสุขภาพที่ 4
1.เป้าหมายของการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC) และ
ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน เพื่อเตรียมความพร้อมในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
ที่เกิดขึ้นได้ทันท่วงที และเพิ่มศักยภาพการเตรียมความพร้อมทุกด้านในการเผชิญเหตุ และการฟื้นฟูให้กลับคืนมา
ได้อย่างรวดเร็ว ทันต่อสถานการณ์เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข ด้วยการปรับโครงสร้าง
การบัญชาการให้สอดคล้องกับบริบทของสา นักงานสาธารณสุขจังหวัด และการปฏิบัติงานสามารถปฏิบัติได้จริง
ในพื้นที่ โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัด และนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด เป็นผู้บัญชาการเหตุการณ์ เพื่อลดความ
เสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินของผู้เผชิญเหตุและเจ้าหน้าที่ที่ให้การช่วยเหลือให้ไม่ได้รับผลกระทบจากภาวะฉุกเฉิน
หรื อได้รั บ ผลกระทบอย่ างน้ อ ยที่สุ ดรวมถึง เตรี ยมความพร้อ ม ด้านกาลั งคนที่มีส มรรถนะ, ห้ องและอุ ป กรณ์
คอมพิวเตอร์ เครื่องมือระบบสื่อสาร ฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และระบบงาน (3S : Staffs, Stuffs, and Systems)
2.การกากับดูแลให้การปฏิบัติของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC)
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การปฏิบัติการของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุ ข
(PHEOC/EOC) สามารถดาเนินการได้อย่างประสิทธิภาพ จากความร่วมมือของหน่วยงานทุกภาคส่วน ที่พร้อม
ขั บ เคลื่ อ นและปฏิ บั ติ ต ามภารกิ จ ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายอย่ า งเคร่ ง ครั ด รวมถึ ง การให้ ข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น ข้ อ เท็ จ จริ ง
ต่อผู้บัญชาการเหตุการณ์
เมื่อเกิด ภาวะฉุ กเฉิน การปฏิบัติการของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุ ข
(PHEOC/EOC) ได้รับการกากับดูแลให้สามารถดาเนินการได้อย่างประสิทธิภาพจากหน่วยงานระดับจังหวัดทุกภาค
ส่วนที่มีส่วนร่วม เนื่องจากการแบ่ งบทบาทหน้าที่กันอย่างชัดเจน และมีผู้บัญชาการเหตุการณ์เป็ นผู้ ตัดสิ นใจ
ในเหตุการณ์สาคัญ

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 107
3.สิ่งที่ได้เรียนรู้หรือบทเรียนจากการปฏิบัติงานจริง
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การคาดการณ์เหตุการณ์ในภาวะฉุกเฉินที่เกิดขึ้น จะช่วยให้สามารถการวางแผน
รับมือมีประสิทธิภาพมากขึ้น
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การฝึกซ้อม และการเตรียมความพร้อม การวางแผนการดาเนินงาน รวมทั้งการ
สั่งการมีความสาคัญต่อการดาเนินงานให้บรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้ ควรเตรียมความพร้อมและคิดอย่างรอบด้าน
รวมถึงพร้อมปรับและรับมือต่อความเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ (Resilience) การสร้างและรักษาสัมพันธภาพอันดี
ระหว่างหน่ ว ยงานทั้งภายในและภายนอกทั้ง ในสถานการณ์ป กติ และสถานการณ์วิก ฤต การตอบแทนอย่ า ง
เท่าเทีย มและเป็ น ธรรมต่ อทุ กฝ่ าย เพื่อให้ ทุกฝ่ ายยังยินดีและเต็ มใจร่ว มงานกันต่ อ ไปในอนาคต การบริห าร
สถานการณ์ควบคู่กับการบริหารความรู้สึกของผู้ปฏิบัติงาน การพิจารณาใช้งบประมาณเพื่อการวางแผนให้ผู้คนมี
สุขภาวะที่ดีลดโอกาส ลดความเสี่ยง ต่อภัยที่อาจเกิดต่อชีวิตและทรัพย์สิน (นโยบายสาธารณะ และรัฐสวัสดิการ)
การนาเสนอข้อมูลที่เป็นจริงและแนวทางการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ (ไม่ปกปิดความผิดหรือนาเสนอข้อมูล
ที่สวยงามเกินจริง /ไม่ตาหนิโดยใช้อารมณ์และขาดเหตุผล) และการพัฒนาทักษะที่นอกเหนือจากการปฏิบัติงาน
ในสภาวะปกติ
4.การนาสิ่งที่เรียนรู้ได้ไปใช้ในการปฏิบัติงานจริง
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิด ภาวะฉุกเฉิ น การเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติงานทุกด้าน ให้สามารถรับมือ ตอบโต้กับ
สถานการณ์ฉุกเฉินที่เกิดขึ้นตลอดเวลา
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น และปัญหาที่พบ จะทาให้การดาเนินงาน
เกิดความคล่องตัว นาไปสู่การวางแผนการปฏิบัติงานในอนาคต และทาให้การดาเนินงานเกิดประสิทธิภาพ บรรลุ
วัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 108
ปัจจัย/ตัวแปร ที่ทาให้ผลการ ปัญหา/อุปสรรคที่ทาให้ผลการ แนวทางการแก้ไขปัญหา/
ปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการ ปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการ อุปสรรค
ภาวะฉุกเฉินฯ ภาวะฉุกเฉินฯ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
สานักงาน 1.ข้อสั่งการที่เด็ดขาดของผู้ 1. ความสับสน / ขัดแย้งกันของข้อ 1.ข้อสั่งการที่เด็ดขาดของผู้
สาธารณสุขจังหวัด บัญชาการเหตุการณ์ สั่งการจากผู้บริหารในแต่ละระดับ บัญชาการเหตุการณ์
2.การปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพเต็ม 2.ผู้ปฏิบัติขาดความรู้ / ความ 2.การปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพเต็ม
ความสามารถตามภารกิจที่ได้รับ เข้าใจในการปฏิบัติงาน ความสามารถตามภารกิจที่ได้รับ
มอบหมาย ภายใต้กรอบการ 3. ผู้ปฏิบัติขาดทักษะ ความ มอบหมาย ภายใต้กรอบการ
ดาเนินงานเดียวกันทั้งจังหวัด ชานาญในการปฏิบัติงาน ดาเนินงานเดียวกันทั้งจังหวัด
3.การสนับสนุน วัสดุ/อุปกรณ์ ที่มี 4.แนวทางการดาเนินงานที่ 3.การสนับสนุน วัสดุ/อุปกรณ์ ที่มี
ความจาเป็น อย่างเพียงพอ หลากหลายซ้าซ้อน แบะไม่สามารถ ความจาเป็น อย่างเพียงพอ
4.ระบบรายงานข้อมูลและระบบ นาไปปฏิบัติได้จริง 4.ระบบรายงานข้อมูลและระบบ
รวบรวม/ วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อการ 5.วัสดุ/อุปกรณ์ ที่มีความจาเป็น ไม่ รวบรวม/ วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อการ
พยากรณ์และบริหารจัดการ อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน / ไม่ พยากรณ์และบริหารจัดการ
สถานการณ์ ณ ปัจจุบันและเตรียม เพียงพอ / ไม่ทันต่อสมัย / สถานการณ์ ณ ปัจจุบันและเตรียม
แผนรับมอสถานการณ์ในอนาคต สถานการณ์ แผนรับมือสถานการณ์ในอนาคต
6.ไม่มีระบบรายงานข้อมูลและ
ระบบรวบรวม / วิเคราะห์ข้อมูล
7.การรายงานข้อมูลที่เป็นเท็จ หรือ
เลือกรายงานเฉพาะสถานการณ์
ด้านดีเพราะเกรงกลัวความรับ ที่
ส่งผลให้ปัญหารุกลาม บานปลาย

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 109
พื้นที่เขตสุขภาพที่ 5
1.เป้าหมายของการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC) และ
ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน เพื่อเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์ภาวะฉุกเฉินที่เกิดเหตุสาธารณภัยด้านต่าง ๆ
ทั้ ง การแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการตามผั ง โครงสร้ า งระบบ ICS เตรี ย มสถานที่ / วั ส ดุ อุ ป กรณ์ ส าหรั บ ใช้ เ ป็ น ห้ อ ง
ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินฯ (EOC) การกาหนดหลักเกณฑ์สาหรับการเปิดศูนย์ปฏิบัติการฯ การพัฒนาศักยภาพ
บุคลากรสร้างความรู้ ความเข้าใจในระบบบัญชาการเหตุการณ์และการปฏิบัติงานศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์ และสาธารณสุ ข การจั ดทาแผนรองรับภาวะฉุกเฉินทุกโรคและภัยสุ ขภาพ พร้อมทั้งซ้อมแผน
การจัดทาฐานข้อมูลด้านทรัพยากรเวชภัณฑ์ยาและไม่ใช่ยา และระบบการขนส่งต่าง ๆ (Logistic) ที่เกี่ยวข้องกับ
การตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน เตรียมพร้อมระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ และการเตรียมพร้อมระบบการประสานงานและ
ช่องทางการติดต่อ เช่น โทรศัพท์ วิทยุ Line Zoom เพื่อให้สามารถรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉินที่เกิดขึ้น ได้อย่าง
รวดเร็ว ทันต่อสถานการณ์
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เพื่อบริหารจัดการสถานการณ์ภายใต้โครงสร้างระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS)
ตอบโต้ภาวะฉุกเฉินจากสาธารณภัย โดยการเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินฯ และเจ้าหน้าที่ในแต่ละกล่องภารกิจ
ปฏิบัติการตามที่ผู้บัญชาการสั่งการ ซึ่งใช้มาตรการฐานการปฏิบติงาน (SOP) ประกอบการปฏิบัติงาน มีระบบ
ติดตาม เฝ้าระวังเหตุการณ์ และประเมินสถานการณ์อย่างต่อเนื่อง จัดส่งทีมปฏิบัติการฉุกเฉินเข้าไปในพื้นที่ เพื่อให้
การช่วยเหลือได้ทันต่อสถานการณ์ และสรุปผลการปฏิบัติงาน พร้อมรายงานให้ผู้บัญชาการเหตุการณ์รับทราบ
เพื่อสั่งการต่อไป
2.การกากับดูแลให้การปฏิบัติของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC)
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ดาเนินการการประชุมและกากับติดตามอย่างต่อเนื่องโดยการสั่งการโดยลายลักษณ์
อักษร และการกากับติดตาม โดยผู้รับผิดชอบของแต่ละกล่องภารกิจ
เมื่ อ เกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น ผู้ บ ริ ห ารมีการก ากับ ติด ตามสถานการณ์ อย่ า งใกล้ ชิด และมี ข้ อสั่ ง การ เพื่อ ให้
ปฏิบัติงานได้ทันต่อเหตุการณ์ และดาเนินการประชุมตามกาหนดและติดตามความก้าวหน้าการดาเนินงานพร้อม
ส่งสรุปผลการปฏิบัติงานให้ผู้บังคับบัญชา

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 110
3.สิ่งที่ได้เรียนรู้หรือบทเรียนจากการปฏิบัติงานฯ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การมีแผนรองรับภาวะฉุกเฉินที่ดี และครอบคลุมทุกโรคและภัยสุขภาพ นาไปสู่การ
ปฏิบัติงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน แผนรองรับภาวะฉุกเฉินที่ดาเนินการจัดทาอาจไม่สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น
ต้องมีการปรับแผนเป็นระยะให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์ฉุกเฉินที่เกิดขึ้น และการปฏิบัติงานภายใต้
ระบบบัญชาการเหตุการณ์ ส่งผลให้มีการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินอย่างมีประสิทธิภาพ
4.การนาสิ่งที่เรียนรู้ได้ไปใช้ในการปฏิบัติงานจริง
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การเตรียมความพร้อมสาหรับการปฏิบัติงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินในทุกโรคและภัย
สุขภาพให้สามารถรับ มือกับสถานการณ์ทุกเฉินในทุกด้าน โดยเฉพาะความสาคัญของการจัดทาแผนเผชิญเหตุ
แผนประคงอกิจ การ และการบริ ห ารจั ดการทรัพยากร ที่มีประสิ ทธิภ าพ และสามารถนาไปใช้ได้จริงเมื่อเกิด
สถานการณ์ฉุกเฉิน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน สามารถใช้แผนรองรับกับภาวะฉุกเฉินในโรคและภัยสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และการทางานภายใต้ระบบบัญชาการเหตุการณ์ สามารถนามาใช้ในการบริหารจัดการสถานการณ์ได้อย่างทันต่อ
สถานการณ์

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 111
ปัจจัย/ตัวแปร ที่ทาให้ผลการ ปัญหา/อุปสรรคที่ทาให้ผลการ แนวทางการแก้ไขปัญหา/
ปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการ ปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการ อุปสรรค
ภาวะฉฉุกเฉินฯ ภาวะฉุกเฉินฯ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
สานักงาน 1. ผู้บริหารให้ความสาคัญกับระบบ 1. การเตรียมความพร้อมหรือการ 1.จัดประชุมอย่างต่อเนื่อง และ
สาธารณสุขจังหวัด บัญชาการเหตุการณ์ จัดทาแผนรองรับภัย อาจไม่ นาเสนอข้อมูลให้ผู้บัญชากร
2. นโยบายและบทบาทของผู้ สามารถทาได้ตามแผนในกรณีที่ เหตุการณ์ทราบและออกข้อสั่ง
บัญชาการเหตุการณ์ที่ชัดเจน เป็นโรคอุบัติใหม่ที่ไม่เคยเกิดขึ้น การ
3. บุคลากรในผังบัญชาการ ในจังหวัด 2.ผู้บัญชาการเหตุการณ์ต้อง
เหตุการณ์ต้องรู้และเข้าใจใน 2. นโยบายประเทศที่มาจากหลาย ประสานความร่วมมือกับ
บทบาทหน้าที่ของตนเอง ภาคส่วนที่ไม่ตรงกัน ส่งผลต่อ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและ
4. บุคลากรทางานตรงตามความรู้ การปฏิบัติงาน สามารถแก้ไขปัญหาในทุกด้าน
ความสามารถที่มี 3. จานวนทรัพยากรยาและ 3.การเตรียมสมรรถนะบุคลากรให้
5. ระบบการวางแผนงานที่ดี การ เวชภัณฑ์ที่มีจากัด มีความพร้อมรับสถานการณ์
ประสานงานที่ดี 4. การสื่อสารประชาสัมพันธ์ความ 4.นโยบายประเทศที่มาจากหลาย
6. การประเมิน กากับติดตามการ เสี่ยงของโรคและภัยสุขภาพที่ยัง ภาคส่วน ควรทบทวนก่อนการ
ปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง ไม่ครอบคลุมส่งผลต่อความ ถ่ายระดับนโยบาย
7. ความร่วมมือตามบทบาทหน้าที่ เชื่อมั่นของประชาชน 5.การจัดสรรทรัพยากรอย่าง
ของทุกกล่องภารกิจ เพียงพอสอดคล้องกับความ
ต้องการของแต่ละพื้นที่

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 112
พื้นที่เขตสุขภาพที่ 6
1. เป้าหมายของการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC) และ
ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน มีการจัดทาคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการระบบบัญชาการเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์และสาธารณสุขและกาหนดบทบาทหน้าที่ของผู้ปฏิบัติงาน จัดทาแผนรองรับภัยสุขภาพในพื้นที่
เขตสุขภาพที่ 6 มีการซักซ้อมแผนระดับเขตและจังหวัด
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เพื่อให้ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุขสามารถเป็นศูนย์
สั่งการ ประสานงาน จัดการภาวะฉุกเฉินทุกโรคและภัยสุขภาพได้อย่างรวดเร็ว เป็นระบบ มีความเป็นเอกภาพ
และมีประสิทธิภาพ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน เพื่อเตรียมความพร้อมของบุคลากร งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ และแผนการบริหาร
จัดการ ในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เพื่อควบคุมภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุขในสงบโดยเร็ว และไม่เกิดผล
กระทบต่อสุขสภาวะของประชาชนหรือมีผลกระทบน้อยที่สุดและ recovery ได้อย่างรวดเร็ว
2. การกากับดูแลให้การปฏิบัติของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC)
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน มีการจัดทาแผน ฝึกซ้อมแผน ประชุมคณะกรรมการศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์และสาธารณสุขระดับเขตและระดับจังหวัด
เมื่ อ เกิ ด ภาวะฉุ กเฉิ น การกากับ ดูแลให้ การปฏิบั ติข องศู นย์ปฏิ บัติ การฯ สามารถดาเนินงานได้ ต าม
โครงสร้างและระบบของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ดาเนินการประชุมคณะทางาน PHEOC และจังหวัดมีการกาหนดตัวชี้วัดการจัดการ
ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุขลงสู่ระดับอาเภอ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน มีการประชุมสรุปผลการดาเนินงานตามกลุ่มภารกิจ เพื่อหาแนวทางการแก้ปัญหา
ที่เกิดขึ้น ในขณะจัดการภาวะฉุกเฉิน เช่น กรณี โรคโควิด-19

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 113
3. สิ่งที่ได้เรียนรู้หรือบทเรียนจากการปฏิบัติงานฯ
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน โครงสร้างระบบการบัญชาการเหตุการณ์ต้องจัดทาและทบทวนให้เป็นปัจจุบัน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินมี การสนับสนุนงบประมาณเรื่องระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในระดับจังหวัดเพื่อช่วย
ให้การทางานมีประสิทธิภาพ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉินและเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ผู้บัญชาการเหตุการณ์ และผู้ปฏิบัติงานทุกคนควรมีความ
เข้าใจในระบบบัญชาการเหตุการณ์ ICS ไปในทิศทางเดียวกัน และเต็มใจที่จะปฏิบัติงาน
4. การนาสิ่งที่เรียนรู้ได้ไปใช้ในการปฏิบัติงานจริง
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน นาสิ่งที่ได้เรียนรู้มาปรับบทบาทหน้าที่ ปรับแผนรองรับให้มีความเหมาะสมมากขึ้น
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน จัดทาคลังความรู้ บทเรียนต่างๆ เพื่อสามารถนามาใช้ในการปฏิบัติการได้ทันที
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น การดาเนินงานในภาวะฉุก เฉิ น ควรมี ก ารเตีย มความพร้ อมทุ กด้ านก่ อ นเกิ ด
สถานการณ์ฉุกเฉิน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ควรมีการประชุมสรุปงานในแต่ละวัน เพื่อให้ทราบปัญหาของแต่ละกลุ่มภารกิจ
และหาแนวทางการแก้ปัญหาร่วมกัน และไม่ควรใช้การประชุมในรูปแบบ online

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 114
ปัจจัย/ตัวแปร ที่ทาให้ผลการ ปัญหา/อุปสรรคที่ทาให้ผลการ แนวทางการแก้ไขปัญหา/
ปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการ ปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการ อุปสรรค
ภาวะฉุกเฉินฯ ภาวะฉุกเฉินฯ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
สานักงานเขต 1.ผู้บัญชาการเหตุการณ์ (Incident 1. การปรับเปลี่ยนบุคลากรใหม่ ที่ 1.การเตรียมความพร้อมเรื่อง แผน
สุขภาพที่ 6 Commander) ยังไม่ได้รับการอบรมหรือผ่านการ โครงสร้าง ระบบ รวมถึงจัดทาแผน
2.ระบบการบัญชาการเหตุการณ์ ทางานด้านนี้มาก่อน อาจยังขาด ฝึกซ้อมแผนประจาปี
(Incident Command System : ทักษะในการปฏิบัติงาน 2.ปฏิบัติตามข้อสั่งการของผู้
ICS) 2.ปัญหาภัยสุขภาพใหม่ที่ยังไม่เคย บัญชาการอย่างเคร่งครัด
3.หัวหน้าทีมในแต่ละกล่องภารกิจ เกิดขึ้นหรือโรคอุบัติใหม่ที่ยังไม่มี
(Operation/Planning/ Logistic/ องค์ความรู้ และประสบการณ์ใน
Finance &Admin) การจัดการภัยสุขภาพ
4.ผู้ปฏิบัติได้มีการฝึกซ้อมแผนและ 3.บุคลากรใหม่ขาดความรู้และ
จัดทาแผนการปฏิบัติงาน ประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน
สานักงาน 1.ผู้บัญชาเหตุการณ์ที่สามารสั่งการ 1.ผู้บัญชาการเหตุการณ์ไม่ชัดเจน 1.ผู้บัญชาการเหตุการณ์ควรมีความ
สาธารณสุขจังหวัด ต่างๆได้จัดเชน ในคาสั่ง เด็ดขาดในการสั่งการ และนาผัง
2.ความพร้อมของผู้ปฏิบัติงาน 2.ขาดการเตรียมความพร้อมใน ICS มาใช้ได้จริง
3.ความพร้อมของวัสดุอุปกรณ์ ด้าน คน เงิน สิ่งของ งบประมาณ 2.ควรมีการสารวจความพร้อมใน
4.ความพร้อมของแผนปฏิบัติการ และแผนการจัดการภาวะฉุกเฉิน ด้าน คน เงิน สิ่งของ งบประมาณ
คู่มือและแนวทางต่างๆที่จาเป็น และแผนการจัดการภาวะฉุกเฉิน
5.ช่องทางทาเนียบการติดต่อ อย่างสม่าเสมอ เพื่อแก้ปัญหาได้
ประสานงานหน่วยงานภายใน และ ทันท่วงที
ภายนอก

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 115
พื้นที่เขตสุขภาพที่ 7
1.เป้าหมายของการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC) และ
ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ได้จัดทาให้สอดคล้องกับคาสั่งศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข
(PHEOC) ส านั กงานปลั ดกระทรวงสาธารณสุ ข โดยการนาบทบาทของกลุ่มภารกิจกรมวิชาการและกลุ่มงาน
ในส านั กงานปลั ดกระทรวงสาธารณสุ ข มาพิจารณาร่ว มกับบทบาทกลุ่ มงานในส านักงานสาธารณสุ ขจังหวัด
(ภารกิจบุคลากร) สอดคล้องกับโครงสร้างคณะกรรมการบริหารเขตสุขภาพ เพื่อง่ายต่อการปฏิบัติตามศักยภาพ
ที่มีอยู่ ทาให้กรรมการ มีความเข้าใจบทบาทตนเองที่ได้รับ อีกทั้งการประชุมคณะกรรมการศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉิน
ด้านการแพทย์และสาธารณสุข (EOC) ของเขตสุขภาพที่ 7 เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (Public Health
Emergency) ในเขตสุขภาพที่ 7 ที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิต สร้างความเสียหายแก่ทรัพย์สินและเกิดผลกระทบกับ
สิ่งแวดล้อมเกิดโรคและภัยคุกคามสุขภาพมีลักษณะเข้าได้กับเกณฑ์อย่างน้อย 2 ใน 4 ประการ 1. ทาให้เกิดผล
กระทบทางสุขภาพอย่างรุนแรง 2. เป็นเหตุการณ์ที่ผิดปกติหรือไม่เคยพบมาก่อน3. มีโอกาสที่จะแพร่ไปสู่พื้นที่อื่น
4. ต้องจากัดการเคลื่อนที่ของผู้ คนหรือสินค้าและสามารถมีการประชุมเพื่อจัดการภาวะฉุกเฉินตามความเร่งด่วน
ของสถานการณ์
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ช่วงการระบาดระลอกแรก กระทรวงสาธารณสุขได้เปิดศูนย์ปฏิบัติการฉุ กเฉิน
ด้านการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC) กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ระดับกระทรวง
ตั้งแต่วันที่ 22 มกราคม 2563 ในส่วนเขตสุขภาพที่ 7 หลังจากมีการระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา เมื่อวันที่
19 มีนาคม 2564 เขตสุขภาพที่ 7 ได้ทบทวนบทบาทและภารกิจในการจัดการโรคติดเชื้ออุบัติใหม่ และจัดทา
คาสั่ง EOC ระดับเขตสุขภาพ เพื่อบริหารจัดการทุกโรคและภัย ในสถานการณ์ฉุกเฉิน เป็นคาสั่งเดียวกัน เพื่อความ
คล่องตัวในการตอบโต้สถานการณ์เร่งด่วน โดยมีผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เป็นประธาน สาธารณสุข
นิ เทศก์ เขตสุ ขภาพ เป็ น รองประธาน คณะกรรมการประกอบด้ว ย ผู้ บริห าร และผู้ เกี่ยวข้องจากส านั ก งาน
สาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป ศูนย์วิชาการทุกแห่ง ในเขตสุขภาพที่ 7 เข้ามามีส่วนร่วมการปฏิบัติการ
และมีการประชุมอย่างต่อเนื่อง ตามความเร่งด่วนของสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และมีการ
ปรับเพิ่มบุคคล ในบางกล่องภารกิจ เพื่อให้ตรงกับบทบาทที่ทางานของจังหวัดที่ดาเนินการ

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 116
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินให้มีความพร้อมในการเผชิญเหตุ
รองรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข สามารถจัดการภาวะฉุกเฉินทุกโรคและภัยสุขภาพได้อย่างรวดเร็ว เป็นระบบ
มีประสิทธิภาพ และปลอดภัย มีโครงสร้างระบบบัญชาการเหตุการณ์ด้านการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC)
ตามระบบโครงสร้างบัญชาการเหตุการณ์ (ICS) เป้าหมายหลักคือ อานวยการ สั่งการ ควบคุม กากับ ติดตาม
ประเมินสถานการณ์
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เพื่อบริหารจัดการเหตุฉุกเฉินให้สามารถปกป้องชีวิต ทรัพย์สิน และสิ่งแวดล้ อม
ได้อย่างบรรลุเป้าหมาย ระดมทรัพยากร และบริหารจัดการอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ สามารถระดมกาลังคน
มาดาเนินการในภาวะฉุกเฉินได้ทันท่วงที
2.การกากับดูแลให้การปฏิบัติของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC)
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน และเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ดาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการจัดทาเนียบ
เครือข่าย เพื่อการประสานงานทั้งภายในและภายนอกกระทรวงสาธารณสุข ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ
ที่เกี่ย วข้องทั้งภายในและภายนอกกระทรวงสาธารณสุ ข มี การจัด ท าปฏิ ทิน การปฏิบั ติง านกลุ่ มภารกิจ ต่ า งๆ
ในระบบบั ญชาการเหตุการณ์ โดยเฉพาะการประสานเพื่อให้ เกิด การประชุม คณะกรรมการ EOC ระดับเขต
ซึ่งเกิดขึ้นทั้งหมด 43 ครั้ง (12 เมษายน 64 - 12 เมษายน 65) ช่วงการระบาดฯ ก่อนหน้านี้ ผลักดันให้ข้อสั่งการ
ของผู้ บั ญ ชาการเหตุ ก ารณ์ ไ ด้ รั บ การปฏิ บั ติ อ ย่ า งรวดเร็ ว และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และติ ด ตามการปฏิ บั ติ ง าน
ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อรายงานผู้บังคับบัญชาการเหตุการณ์
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การกากับดูแลให้การปฏิบัติของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข สามารถตอบสนองต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างเหมาะสม ทันท่วงที และมีประสิทธิภาพ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน มีประสิทธิภาพ สามารถตอบสนองต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างเหมาะสม ทันท่วงที
และมีประสิทธิภาพ และเพื่อให้บุคลากรหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องและพื้นที่ มีความเข้าใจต่อบทบาทหน้าที่ เกิด
การบูรณาการของหน่วยงานทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นระบบ และนาจุดอ่อนที่พบไปปรับปรุงแผนรองรับ
สถานการณ์ให้เหมาะสมกับเหตุการณ์ต่อไป

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 117
3.สิ่งที่ได้เรียนรู้หรือบทเรียนจากการปฏิบัติงานฯ
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น ใช้คาสั่ งคณะกรรมการตามระบบบัญชาการเหตุการณ์ฉุกเฉินทางสาธารณสุข
(Incident Command System : ICS) ส าหรั บ ทุ ก โรคและภั ย สุ ข ภาพ และศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น
(Emergency Operation Center : EOC) เขตสุ ข ภาพที่ 7 ในการจั ด ประชุ ม เพื่ อ จั ด การภาวะฉุ ก เฉิ น ทาง
สาธารณสุข
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน จากการดาเนินงานโต้ตอบการแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของเขตสุขภาพที่ 7
ระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2563 - 1 กรกฎาคม 2565 มีดังนี้
ด้านการแพทย์และสาธารณสุข 1. มีเครือข่ายทีม SAT ของเขตสุขภาพที่ 7 ที่เข้มแข็ง ตั้งแต่ระดับเขต
สุขภาพ (สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดขอนแก่น) เชื่อมประสานถึงจังหวัด ระดับอาเภอ และระดับ
ต าบล 2. มี ร ะบบบริ ห ารจั ด การข้ อ มู ล การรายงานผู้ ป่ ว ย ในรู ป แบบ Online 3. มี ก ารโต้ ต อบสถานการณ์
ทันเหตุการณ์ 4. บุคลากรในเขตสุขภาพ มีความรู้ความสามารถ เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน 5. มีการอัพเดทแผน BCP
โต้ตอบตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
ด้ านสื่ อสารความเสี่ ยงและประชาสั มพั นธ์ 1. มี กลุ่ มงานสื่ อสารความเสี่ ยงและความรอบรู้ ด้านสุ ขภาพ
ที่เข้มแข็ง (จังหวัดขอนแก่น) 2. มีสุขสารคามบัญญัติ Key message (จังหวัดมหาสารคาม) 3. มีภาคีเครือข่ายการ
ท างานประชาสั มพั น ธ์ /ตอบโต้ ข่ าวหลากหลาย ทั้ งภาครั ฐ และเอกชน 4. การเสริ มสร้ างวั คซี นใจในชุ มชน
(จังหวัดร้อยเอ็ด)
ด้านการบริหารจัดการกาลังคนด้านสุขภาพ 1. การจัดสายวิชาชีพหลักแบบ 12/8 เพื่อความปลอดภัย
ด้านกาลังคน 2. มีการจัดทีมปฏิบัติงานโรงพยาบาลสนาม โดยใช้เครือข่าย กรณีที่คนไม่เพียงพอใช้สหวิชาชีพ
3. ใช้กระบวนการพัฒนาคุณภาพชีวิต พชอ. 4. มหาสารคามใช้วิธีการผลิตหลักสูตร Mini CDCU ให้กับทีม อสม.
ด้านการบริหารจัดการทรัพยากร 1. เขตสุขภาพที่ 7 มีห้อง EOC และอุปกรณ์ สามารถประชุม สื่อสาร
ได้รวดเร็ว 2. การบริหารจัดการด้วยโปรแกรม PPE Management 3. การบริหารจัดการยารักษาโควิด โดยใช้
การบริหารในรูปแบบเครือข่าย 4. การบริหารอัตรากาลังในการขนย้าย/จ่ายของ (จัดทีม A/B และการขอกาลัง
เสริมจากทหาร/ตารวจ)
ด้านกฎหมาย 1. การออกประกาศ มีการบูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ปกครอง ทหาร
สาธารณสุข เพื่อบูรณาการร่ว มกัน ในการบังคับใช้กฎหมาย 2. มีการทาความเข้าใจในเงื่อนไขก่อนบังคั บใช้
มาตรการ เช่น การประสานกับผู้มีส่วนได้เสีย โดยเฉพาะสถานประกอบการ ให้สอดคล้องกับบริบทของกฎหมาย
จึงทาให้ไม่มีใครฝ่าฝืน ประกาศดังกล่าว

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 118
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การมอบหมายหน้าที่ต้องมีความชัดเจนทั้งผู้รับผิดชอบที่ปฏิบัติงานได้จริงและ
สามารถตัดสิ น ใจตามระดับ บทบาทหน้ าที่ที่ ได้รับมอบหมายได้ บทบาทหน้าที่ต้องไม่ซ้าซ้อนกัน แต่ส ามารถ
เชื่อมโยง ประสานงานกันได้
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน 1) ข้อมูลที่ถูกต้อง แม่นยา เป็นปัจจุบันมีความสาคัญมากต่อการบริหารจัดการและ
การสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์แก่ทีมปฏิบัติการ จึงต้องมีระบบรายงานที่แม่นยา มีประสิทธิภาพ 2) ผู้บริหารที่มีอานาจ
ตัดสินใจต้องสามารถเข้าถึงข้อมูลด้านเวชภัณฑ์ที่เป็นปัจจุบันและสามารถออกข้อสั่งการตรงกับสถานการณ์ได้
3) ระบบการสนับสนุนของหน่วยงานส่วนกลาง อ้างอิงข้อมูลจากการบันทึกข้อมูลด้านเวชภัณฑ์ของหน่วยบริการ
ดังนั้นจึงต้องมีการควบคุมกากับให้มีการรายงานผ่านระบบของส่วนกลางที่ถูกต้องเป็นปัจจุบัน
4.การนาสิ่งที่เรียนรู้ได้ไปใช้ในการปฏิบัติงานจริง
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น เมื่ อ เกิ ด สาธารณภั ย หรื อ ภาวะฉุ ก เฉิ น ให้ ใ ช้ ค าสั่ ง คณะกรรมการตามระบบ
บัญชาการเหตุการณ์ฉุกเฉินทางสาธารณสุข (Incident Command System : ICS) สาหรับทุกโรคและภัยสุขภาพ
และศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (Emergency Operation Center : EOC) เขตสุขภาพที่ 7 ในการจัดประชุม
เพื่อจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน สามารถดาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อเกิดสาธารณภัย หรือภาวะฉุกเฉิน
โดยนาสิ่งที่ได้เรียนรู้ภายใต้คาสั่งคณะกรรมการตามระบบบัญชาการเหตุการณ์ฉุกเฉินทางสาธารณสุข (Incident
Command System : ICS) ส าหรั บ ทุ ก โรคและภั ย สุ ข ภาพ และศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น (Emergency
Operation Center : EOC) เขตสุขภาพที่ 7 นาไปเป็นแนวทางการปฏิบัติได้
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน นาโครงสร้างการประสานงานไปปรับใช้ในงานประจาที่เกี่ยวข้อง เช่น การบริหาร
เวชภัณฑ์ การติดตามความปลอดภัย ด้านยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยาของหน่วยบริการ ระบบติดตามผู้ ป่ว ยทั้งใน
และนอกสถานบริการ เป็นต้น
เมื่อเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น น าข้อมูล การส ารองเวชภัณฑ์และการบริหารคลังเวชภัณฑ์ไปใช้ในการจัดสรร
สนับสนุน หรือหมุนเวียนกระจายเวชภัณฑ์ ให้กับหน่วยบริการทุกแห่ งไม่ให้เกิดภาวะขาดแคลนภายในจังหวัด
ให้ทีมปฏิบัติการสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ปลอดภัย

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 119
ปัจจัย/ตัวแปร ที่ทาให้ผลการ ปัญหา/อุปสรรคที่ทาให้ผลการ แนวทางการแก้ไขปัญหา/
ปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการ ปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการ อุปสรรค
ภาวะฉฉุกเฉินฯ ภาวะฉุกเฉินฯ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
สานักงานเขต จากการดาเนินงานโต้ตอบการแพร่ 1.สามารถดาเนินการได้อย่างมี 1. ส่วนกลาง ประกาศนโยบาย /
สุขภาพที่ 7 ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของ ประสิทธิภาพ เมื่อเกิดสาธารณภัย มาตรการ ให้เป็นแนวทางเดียวกัน
เขตสุขภาพที่ 7 มีปัจจัยดังนี้ หรือภาวะฉุกเฉิน ภายใต้คาสั่ง การชี้แจงนโยบายจากส่วนกลาง/
1. มีเครือข่ายทุกกล่องภารกิจของ คณะกรรมการตามระบบบัญชาการ เขต และกาหนดขอบเขตการ
เขตสุขภาพที่ 7 ที่เข้มแข็ง เหตุการณ์ฉุกเฉินทางสาธารณสุข ดาเนินงานให้ชัดเจน
2. มีระบบบริหารจัดการข้อมูล (Incident Command System : 2. การบริหารจัดการสั่งการ การบูร
3. มีการโต้ตอบสถานการณ์ / ทัน ICS) สาหรับทุกโรคและภัยสุขภาพ ณาการในพื้นที่ ในด้านงบประมาณ
เหตุการณ์ และศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน บุคลากร วัสดุ อุปกรณ์ป้องกันโรค
4. บุคลากรในเขตสุขภาพ มีความรู้ (Emergency Operation Center 3. ผู้บริหารพบปะสื่อสาร ให้
ความสามารถ เชี่ยวชาญเฉพาะ : EOC) เขตสุขภาพที่ 7 กาลังใจรับ/ฟังปัญหา
ด้าน 2. การสั่งการ นโยบาย/ข้อสั่งการ 4. สนับสนุนการพัฒนาทักษะความ
5. มีการอัพเดทแผน BCP โต้ตอบ มีการเปลี่ยนแปลงบ่อย เชี่ยวชาญของบุคลากร อบรมทีม
ตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป 3. บุคลากรขาดความรู้ ทักษะ ของ CDCU ใหม่ และฟื้นฟูทีมเดิม
6. มีกลุ่มงานสื่อสารความเสี่ยงและ หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ 5. เพิ่มเครือข่ายกับหน่วยงาน
ความรอบรู้ด้านสุขภาพที่เข้มแข็งมี (CDCU) รวมถึงความเข้าใจใน ภาครัฐ และเอกชน มีส่วนร่วมใน
ภาคีเครือข่ายการทางาน ระบบบัญชาการเหตุการณ์ และ ใน การดาเนินงาน เช่น ผู้นาหมู่บ้าน
ประชาสัมพันธ์/ตอบโต้ข่าว สานักงานเขตสุขภาพที่ 7 ขาด กานัน ฯลฯ
หลากหลาย ทั้งภาครัฐ และเอกชน บุคลากรเชี่ยวชาญ 6. มีทีมปกครอง/กฎหมาย ร่วม
7. การบริหารจัดการกาลังคนด้าน 4. คาสั่ง EOC บุคลากรปฏิบัติ การตอบข้อร้องเรียนของจังหวัด
สุขภาพมีการจัดทีมปฏิบัติงาน หน้าที่หลายกลุ่มภารกิจไม่เพียงพอ เมื่อเกิดเหตุในจังหวัด
โรงพยาบาลสนาม โดยใช้เครือข่าย ต่อการปฏิบัติงาน 7. พัฒนาระบบฐานข้อมูลกลางใน
กรณีที่คนไม่เพียงพอใช้สหวิชาชีพ 5. ปัญหาการร้องเรียนจากการ ระดับเขตใช้ระบบที่มีอยู่แล้วเช่น
8.ด้านการบริหารจัดการทรัพยากร ปฏิบัติหน้าที่/เปิดเผยข้อมูล ระบบรายงาน API/506 และบูรณา
เขตสุขภาพที่ 7 มีห้อง EOC และ 6. ระบบปฏิบัติการ ไม่รองรับการ การ การใช้ระบบข้อมูลร่วมกัน
อุปกรณ์ สามารถประชุม สื่อสารได้ บันทึกข้อมูลจานวนมากมีหลาย ระหว่างหน่วยงานในสังกัด สป.
รวดเร็ว การบริหารจัดการยารักษา ระบบ ซ้าซ้อน นอกสังกัด และ สปสช.
โควิด โดยใช้การบริหารในรูปแบบ

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 120
ปัจจัย/ตัวแปร ที่ทาให้ผลการ ปัญหา/อุปสรรคที่ทาให้ผลการ แนวทางการแก้ไขปัญหา/
ปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการ ปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการ อุปสรรค
ภาวะฉฉุกเฉินฯ ภาวะฉุกเฉินฯ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
เครือข่าย การบริหารอัตรากาลังใน 7. วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับฉีด 8. กระทรวง และเขตสุขภาพ
การขนย้าย/จ่ายของ (จัดทีมA/B วัคซีนมาไม่พร้อมกับวัคซีน จัดตั้งศูนย์ RRHL (Risk Response
และการขอกาลังเสริมจากทหาร/ 8. การบังคับใช้กฎหมายตาม for Health literacy Center)
ตารวจ) มาตรา 35 แห่ง พรบ.โรคติดต่อ เพื่อคัดกรองและตอบสนองต่อ
9. ด้านกฎหมาย มีการออก พ.ศ. 2558 ในการสั่งปิดสถาน Fake news อย่างรวดเร็วและ
ประกาศ การทาความเข้าใจใน ประกอบการ ซึ่งผู้ประกอบการ ถูกต้อง มีเครือข่ายตรวจสอบสื่อ
เงื่อนไข ก่อนบังคับใช้มาตรการ มี ได้รับผลกระทบ เดือนร้อน จึงเกิด สร้างความเชื่อมั่น (Sure ก่อน
การบูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่ การโต้แย้ง คุกคาม ข่มขู่ เจ้า Share) เน้นการสื่อสารและ
เกี่ยวข้อง เช่น ปกครอง ทหาร พนักงาน และเกิดการร้องเรียน ประชาสัมพันธ์ ไม่ให้ประชาชนตื่น
สาธารณสุข เพื่อบูรณาการร่วมกัน ตระหนก หากเกิดการระบาดซ้า
ในการบังคับใช้กฎหมาย
10.ผู้บริหารเป็นหัวหน้ากล่อง
ภารกิจ และให้ความสนใจในการ
จัดการภาวะฉุกเฉิน มีอานาจหน้าที่
ในกล่องภารกิจที่ชัดเจน และมีการ
มอบหมายงานตามข้อสั่งการของผู้
บัญชาการเหตุการณ์ในทุกครั้งที่มี
การจัดประชุม
สานักงาน 1.ด้านกาลังคนที่มีสมรรถนะ ไม่พบปัญหา 1.ประสานงานตามแนวทางปฏิบัติ
สาธารณสุขจังหวัด (Staff) คือ มีคณะทางานและ และติดต่อโดยตรงกับผู้รับผิดชอบที่
กาหนดบทบาทหน้าที่ตามผัง ICS ได้กาหนดรายชื่อไว้ในแนวทาง
อย่างเหมาะสม ชัดเจน และเป็น ปฏิบัติและผ่านกลุ่มไลน์เฉพาะ
รูปธรรมรวมทั้งมีการฝึกอบรม ผู้รับผิดชอบในทุกกล่องภารกิจ
ความรู้และทักษะเพื่อให้สามารถ ของแต่ละอาเภอ
ปฏิบัติงานได้จริงเมื่อมีภาวะฉุกเฉิน 2.จัดทาระบบรายงานการสารอง
เกิดขึ้น เวชภัณฑ์ของหน่วยบริการทั้ง รพ.

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 121
ปัจจัย/ตัวแปร ที่ทาให้ผลการ ปัญหา/อุปสรรคที่ทาให้ผลการ แนวทางการแก้ไขปัญหา/
ปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการ ปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการ อุปสรรค
ภาวะฉฉุกเฉินฯ ภาวะฉุกเฉินฯ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
2.ด้านวัสดุอุปกรณ์ (Stuff) ทีม และ รพ.สต. ติดตามและรายงาน
ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินมีห้อง ต่อผู้บริหารเป็นประจาทุกวัน
สาหรับให้ทางาน มีโครงสร้าง 3.สื่อสาร อัพเดทแนวทาง ข้อสั่ง
พื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การที่เป็นปัจจุบันต่อผู้รับผิดชอบ
ระบบข้อมูลที่มีความรวดเร็ว ผ่านกลุ่มไลน์และหนังสือราชการ
ถูกต้อง ทันสถานการณ์สามารถ 4.วิเคราะห์ข้อมูลและนาเสนอต่อ
เชื่อมโยงได้ระบบแสดงผลการ คณะกรรมการ EOC
ประมวลข้อมูลข่าวสาร และ 5.ใช้กลไก KM จากหน่วยงานที่
ระบบสื่อสาร เกี่ยวข้องมาปรับใช้
3.ด้านระบบงาน (System)มี
แผนการปฏิบัติงาน งบประมาณ
และมาตรฐานการปฏิบัติการ
(SOP)

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 122
พื้นที่เขตสุขภาพที่ 8
1.เป้าหมายของการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC) และ
ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน เตรียมความพร้อมในการจัดการสถานการณ์ฉุกเฉินและสาธารณภัย ด้านการแพทย์
และสาธารณสุขระดับเขตสุขภาพ และสอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เพื่อให้สถานการณ์กลับเข้าสู่ภาวะปกติให้เร็วที่สุดและส่งผลกระทบต่อประชาชน
ให้น้อยที่สุด ส่งเสริมให้ผู้ป่วยเข้าถึงการรักษา ได้รับยา วัคซีน ได้มากที่สุด เพื่อลดการสูญเสียระดับเขตและจังหวัด
สามารถบริหารจัดการภายใต้สภาวะวิกฤตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น เป็ น การเตรี ย มความพร้ อ มในการจั ด การภาวะฉุ ก เฉิ น และสาธารณภั ย ด้ า น
การแพทย์และสาธารณสุขรับจังหวัด และสอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงสาธารณสุ ข มีการวางแผนการ
ปฏิบัติงานไว้อย่างเป็นระบบ บุคลากรสามารถดาเนินการได้ทันทีมีแนวทางในการปฏิบติงานอย่างเป็น ระบบ
จังหวัดมีระบบจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขที่สามารถตอบโต้ทุกภัย อย่างรวดเร็ว เป็นระบบ มีความเป็น
เอกภาพ มีประสทธิภาพ และปลอดภัย
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เพื่อให้สถานการณ์กลับเข้าสู่ภาวะปกติให้เร็วที่สุดและส่งผลกระทบต่อประชาชน
ให้น้อยที่สุด ส่งเสริมให้ผู้ป่วยเข้าถึงการรักษา ได้รับยา วัคซีนได้มากที่สุด เพื่อลดการสูญเสียในระดับจังหวัดและ
อาเภอให้ ส ามารถบริ หารจัดการภายในสภาวะวิกฤตได้อย่างมีประสิ ท ธิภาพ มีระบบจัดการภาวะฉุกเฉินทาง
สาธารณสุขที่สามารถตอบโต้โรคและภัยสุขภาพได้อย่างรวดเร็ว สามารถจัดการภาวะฉุกเฉินทุกโรคและภัยสุขภาพ
ได้อย่างรวดเร็ว เป็นระบบ มีความเป็นเอกภาพ มีประสิทธิภาพ และปลอดภัยโดยมีการพัฒนาด้าน System Stuff
Staff ด าเนิ น การตามเป้ า หมายที่ ว างไว้ มี ก ารปรั บ เปลี่ ย นตามความเหมาะสม และบุ ค ลากรทราบบทบาท
และหน้าที่ของตนเอง และสามารถดาเนินงานตามที่วางแผนไว้

2.การกากับดูแลให้การปฏิบัติของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC)

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 123
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน และเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ผู้บริหารมีการติดตามกากับการดาเนินงานของศูนย์
ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข ระดับจังหวัดและระดับเขตสุขภาพอย่างสม่าเสมอ และ
สามารถจัดการภาวะฉุกเฉินได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน ผู้บัญชาการเหตุการณ์ให้ความสาคัญ ให้สนับสนุนการดาเนินงานศูนย์ปฏิบัติการฯ
สนั บ สนุ น งบประมาณในการบู ร ณาการจั ด อบรมเจ้ า หน้ า ที่ ใ นการพั ฒ นางาน EOC สามารถด าเนิ น การได้ มี
ประสิทธิภาพ
เมื่อเกิดภาวะฉุ กเฉิน ผู้บัญชาการเหตุการณ์ให้ ความส าคัญ กากับติดตามดูแลให้ การปฏิบัติของศูนย์
ปฏิบัติการฯ ดาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถดาเนินการได้มีประสิทธิภาพ ซึ่งเป็นไปตามแผนที่วางไว้
รวมทั้ง มีการบูรณาการร่วมกันทุกหน่วยงานในจังหวัดอุโดยใช้ พรบ.โรคติดต่อ 2558 ขับเคลื่อนทาให้จังหวัด
อุดรธานีสามารถบริหารจัดการ เตียงผู้ป่วย ยา บุคลากร และงบประมาณได้อย่ างมีประสิทธิภาพ สามารถรับมือ
ผู้ป่วยภายในจังหวัดและสามารถช่วยเหลือจังหวัดอื่นๆที่เกิดภาวะวิกฤตได้
3.สิ่งที่ได้เรียนรู้หรือบทเรียนจากการปฏิบัติงานฯ
สานักงานเขตสุขภาพ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เกิดการทางานร่วมกันระหว่างหน่วยงานต่างๆ ภายในจังหวัดผู้บริหารระดับเขต
และจั งหวัดสามารถบริ ห ารจั ดการภายใต้ส ภาวะวิกฤตได้อย่างมีประสิ ทธิภ าพ มีการบรูณาการความร่ว มมือ
จากที ม งานที่ มี ค วามแตกต่ า งกั น ทั้ ง ในด้ า นองค์ ค วามรู้ ลั ก ษณะการท างาน สภาพปั ญ หาและความรุ น แรง
ของสถานการณ์ การแก้ไขปั ญหาไม่ได้มีสูตรสาเร็จตายตัว ขึ้นกับศาสตร์และศิลปะในการบริหารจัดการของ
ผู้บริหารระดับเขตและจังหวัด ที่จะนามาใช้ร่วมกับภาคีเครือข่ายทุกกระทรวง ทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชน
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น ภาคี เ ครื อ ข่ า ยมี ส่ ว นส าคั ญ ในการด าเนิ น งานขั บ เคลื่ อ นศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารฯ
การดาเนินงานภาวะฉุกเฉินให้เกิดประสิทธิภาพต้องมีความพร้อมของทีม และความสามารถของผู้ บัญชาการ
เหตุการณ์
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การทางานเป็น ทีม ภาคีเครือข่ายมีส่วนสาคัญในการดาเนินงานขับเคลื่อนศูนย์
ปฏิบัติการฯ ต้องสื่อสารให้รวดเร็ว และข้อมูลที่มีต้องชัดเจน เพื่อการประเมินสถานการณ์และใช้ทรัพยากรอย่างมี
ประสิทธิภาพ การทางานร่วมกันต้องมีความยืดหยุ่น ประเมินผลการเก็บข้อมูลจากผู้ใช้และพัฒนอาย่างต่อเนื่อง
ใช้กการทางานเป็ฯทีม ใช้สัมพันธภาพเดิ มที่มีอยู่ติดตามข้อสั่งการผ่าน Dashboard ควรมีการเตรียมความพร้อม
และพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรในทุกภารกิจโดยวิธีการสอนงานจากการปฏิบัติจริง หรือวิธีการถอดบทเรียน
AAR ในมิติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรคู่ขนานไปกับการปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ เพราะถือเป็นโอกาสที่จะ
ได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงโดยเฉพาะ กลุ่มภารกิจสอบสวนโรค การทา work life balance ในกลุ่มบุคลากร
ที่ต้องปฏิบัติงานต่อเนื่องและยาวนานในการปฏิบัติการหรือสนับสนุนการตอบโต้ในพื้นที่เพื่อไม่ให้มีภาระที่หนัก
จนเกินไปจากทั้งงานประจาที่ทาอยู่เดิมและงานใหม่ที่ต้องออกปฏิบัติการตอบโต้ ด้วยการทาแผนประคองกิจการ
ที่ชัดเจนเป็นณูปธรรม สามารถปฏิบัติได้จริง จัดทามาตรฐานการปฏิบัติงาน SOP โดยใช้แบบฟอร์มที่เป็นมาตรฐาน
เดียวกัน มีความครบถ้วนทุกกลุ่มภารกิจและสอดคล้องทุกกลุ่มภารกิจและการปฏิบัติงานจริง

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 124
4.การนาสิ่งที่เรียนรู้ได้ไปใช้ในการปฏิบัติงานจริง
สานักงานเขตสุขภาพ
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน กระทรวงสาธารณสุขมีการประชาสัมพันธ์ สถานการณ์ การปฏิบัติตัวให้เข้าถึง
ประชาชนทุกระดับ ไม่ให้เป็นภาระของพื้นที่ในการประชาสัมพันธ์ พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ประชาชน
เข้าถึงได้และใช้ได้จริง กาหนดระเบียบเฉพาะเรื่องงบประมาณ การจัดซื้อจัดหา การรับบริจาค เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน
เพื่ อ ให้ เ กิ ด สภาพคล่ อ งในการจั ด การและทั น ต่ อ เหตุ ก ารณ์ ก าหนดนิ ย าม หลั ก เกณฑ์ ใ นการจั ด สรร
การเบิกจ่าย ให้ชัดเจน กาหนดนโยบายสนับสนุนงบประมาณค่าตอบแทน ของทุกทีมให้ชัดเจน ทั่วถึงและเท่าเทียม
สื่ อ สารบุ ค ลากรทุ ก หน่ ว ยบริ ก ารเข้ า ใจ และปฏิ บั ติ เ ป็ น ทิ ศ ทางเดี ย วกั น การบั ง คั บ ใช้ ก ฎหมาย
ตาม พรบ.โรคติดต่อ 2558 อย่างจริงจัง ในการประชุม EOC ระดับเขตสุขภาพ ควรมีการติดตามผลการดาเนินงาน
ของทุกกลุ่มภารกิจ และกาหนดวาระการประชุมให้ครอบคลุมตามโครงสร้างของ ICS ระดับเขตสุขภาพ
เมื่ อ เกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น ด้ า นโครงสร้ า งพื้ น ฐาน เครื่ อ งมื อ และทรั พ ยากร มี ก ารส ารวจความต้ อ งการ
และสนับสนุนเครื่องมือที่ได้มาตรฐาน รวดเร็ว ครอบคลุม จัดระบบขนส่ง (Logistic) และระบบติดตามที่สามารถ
ดาเนินการได้ตลอด 24 ชั่วโมง ด้านกาลังคน จัดการระบบการสร้างขวัญและกาลังใจ แรงจูงใจ ที่ทัดเทียม ทั่วถึง
เสมอภาค ทันท่วงที มีระบบให้คาปรึกษา (consult) โดยผู้เชี่ยวชาญจากหน่วยงานส่วนกลาง ด้านระบบ ข้อสั่งการ
จากกระทรวงไม่ควรเปลี่ยนแปลงบ่อย ซ้าซ้อน มีศูนย์ข้อมูลข่าวสาร ข้อสั่งการ แนวทางดาเนินงานแบบ One stop
ไม่กระจายตามกรม/กอง/สานักต่างๆ ระบบสารสนเทศเป็นแบบรวมศูนย์ระบบเดียวใช้ร่วมกัน (One Ministry
One Data set) และไม่ เ ป็ น อุ ป สรรคส าหรั บ ผู้ ใ ช้ ง าน สามารถใช้ ข้ อ มู ล ร่ ว มกั น ได้ ลดขั้ น ตอนระบบเบิ ก จ่ า ย
งบประมาณในภาวะฉุกเฉิน (Lean Process) การบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องอย่างจริงจัง
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น ระบบบั ญ ชาการเหตุ ก ารณ์ ภายใต้ ศู น์ ป ฏิ บั ติ ก ารฯ สามารถจั ด การ
กับเหตุการณ์ฉุกเฉินได้ ผู้ปฏิบัติงานจากหลายกลุ่มงานสามารถทางานร่วมกันได้อย่างเป็นระบบ มีการบูรณาการ
กัน ระหว่างหน่ ว ยงานต่างๆ ทั้ งภายในและภายนอกกระทรวงสาธารณสุ ข สามารถหยุดยั้งและลดผลกระทบ
จากภาวะฉุกเฉินหรือสถานการณ์รุนแรงจากโรคและภัยสุขภาพได้ และให้เหตุการณ์กลับสู่สภาวะปกติในระยะเวลา
ที่สั้นที่สุด

เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ระบบบัญชาการเหตุการณ์ เป็นเครื่องมือในการจัดการภาวะฉุกเฉินภายใต้


ศูน์ปฏิบัติการฯ ผู้ปฏิบัติงานทุกทีมมีความสาคัญในการจัดการภาวะฉุกเฉินร่วมกัน ระบบสั่งการ การประสานงาน
ความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถนามาใช้ในการปฏิบัติงานได้จริง การระดมกาลังคนและทรัพยากร
ในการดาเนินงาน การสื่อสารกับผู้ปฏิบัติงานที่ชัดเจน สามารถบรรลุเป้าหมายได้อย่างรวดเร็วปรับการทางาน
ให้เหมาะสมกับสถานการณ์

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 125
ปัจจัย/ตัวแปร ที่ทาให้ผลการ ปัญหา/อุปสรรคที่ทาให้ผลการ แนวทางการแก้ไขปัญหา/
ปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการ ปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการ อุปสรรค
ภาวะฉุกเฉินฯ ภาวะฉุกเฉินฯ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
สานักงานเขต 1.ภาวะผู้นาของผู้บัญชาการ 1.ภัยสุขภาพ/ภาวะฉุกเฉิน ที่ไม่เคย 1.ส่วนกลางมีแนวทางดาเนินงาน
สุขภาพที่ 8 เหตุการณ์ระดับเขตสุขภาพ/ เกิดในพื้นที่ เช่น โรคอุบัติใหม่ ขาด สาหรับทุกภัยสุขภาพ (All
จังหวัด องค์ความรู้ ทักษะประสบการณ์ใน Hazard) ที่เป็นมาตรฐาน ที่
2.มีการบริหารจัดการที่ดีภายใต้ การจัดการ สามารถปรับหรือประยุกต์ใช้ให้
ข้อจากัด 2.ระบบการบริหารราชการแผ่นดิน เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่
3.มีภาคีเครือข่าย/ ความร่วมมือ (โครงสร้างหน่วยงานในราชการ 2.กาหนดขอบเขตบทบาทภารกิจ
จากหน่วยงานภายในและภายนอก บริหารส่วนภูมิภาค) การไม่บูรณา ของระหว่างกระทรวง ให้ชัดเจน
กระทรวงสาธารณสุข การระหว่างกระทรวง เพื่อให้ให้เกิดปัญหาการจัดการ
4.มีเครื่องมือที่ดี ระบบเทคโนโลยี 3.ไม่มีแนวทางดาเนินงาน / ภาวะฉุกเฉิน ไม่สั่งการภารกิจ
สารสนเทศทันสมัย Protocol/ SOPs/ CPGs เดียวกันหลายกระทรวง เช่น การ
4.ในการดาเนินงาน ใช้ข้อสั่งการ/ บริหารจัดการวัคซีนภายในเขต
แนวทางจากส่วนกลางเท่านั้น สุขภาพ ให้ผู้ตรวจราชการ
5.บริหารจัดการระดับจังหวัด กระทรวงสาธารณสุขมีอานาจใน
ภายใต้อานาจของผู้ว่าราชการ การบริหารจัดการภายในเขต
จังหวัด บูรณาการหน่วยงานต่าง สุขภาพ โดยความเห็นชอบของผู้ว่า
กระทรวง ทั้งภาครัฐ เอกชน ทาให้ ราชการจังหวัด เป็นต้น
เกิดปัญหา การประสานงาน 3.มีการทบทวนแนวทางดาเนินงาน
ระหว่างหน่วยงานต่างกระทรวง ที่ ตามบริบทและความจาเป็นของ
มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน มี พื้นที่ โดยระดับจังหวัดหรือระดับ
ทักษะและประสบการณ์ต่างกัน เขตสุขภาพจัดทาแนวทาง
เช่นกรณีโรคระบาด จะบริหาร ดาเนินงานโดยใช้ต้นแบบ
จัดการภายใต้คณะกรรมการ (Prototype)
โรคติดต่อจังหวัด โดย มี สธ. เป็น จากส่วนกลาง เป็นแนวทาง
เลขาคณะทางาน ภารกิจส่วนใหญ่ 4. มีการประสานงานกับหน่วยงาน
จะเป็น สธ.มีบทบาทหลัก กรณีภัย ภายนอกอย่างสม่าเสมอ เช่น
พิบัติอื่นๆ จะมีการแต่งตั้ง นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเป็น
เลขานุการคณะกรรมการโรคติดต่อ

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 126
ปัจจัย/ตัวแปร ที่ทาให้ผลการ ปัญหา/อุปสรรคที่ทาให้ผลการ แนวทางการแก้ไขปัญหา/
ปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการ ปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการ อุปสรรค
ภาวะฉุกเฉินฯ ภาวะฉุกเฉินฯ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
คณะทางานเฉพาะกิจตามภาวะ จังหวัดและร่วมประชุมอย่าง
ฉุกเฉินนั้นๆ สม่าเสมอ ผู้ตรวจราชการกระทรวง
6.การบริหารจัดการระดับเขต สาธารณสุข ประสานงานผู้ว่า
สุขภาพ โดยผู้ตรวจราชการ ราชการจังหวัด ผู้บริหารท้องถิ่น
กระทรวงเป็นผู้บัญชาการ เพื่อหารือแนวทางดาเนินงาน
เหตุการณ์ จะสั่งการได้เฉพาะใน เป็นต้น
บทบาทภารกิจของ สธ.ภายในเขต
สุขภาพเท่านั้น (ไม่ใช่ Single
commander ที่แท้จริง) บทบาท
ภารกิจอื่นเป็นเพียงการ
ประสานงาน และขอความร่วมมือ
เท่านั้น
สานักงาน 1.โครงสร้างการดาเนินงานชัดเจน 1.โปรแกรมที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล 1.การจัดการภาวะฉุกเฉินทาง
สาธารณสุขจังหวัด ผู้บัญชาการเหตุการ์ เจ้าหน้าที่ มีความยุ่งยาก ซับซ้อนและมีการ สาธารณสุขศูนย์ปฏิบัติการฯ และ
แต่ละกลุ่มภารกิจ ภาคีเครือข่ายที่ เปลี่ยนแปลงบ่อย ระบบบัญชาการเหตุการณ์เป็น
เกี่ยวข้องวัสดุ อุปกรณ์และ 2. เกณฑ์การประเมินค่อนข้างเยอะ เครื่องมือที่จาเป็นในการรับมือกับ
เทคโนโลยีต่างๆ ทาให้ใช้ระยะเวลาในการประเมิน ภาวะฉุกเฉินที่เกิดขึ้น และจะ
2.มี IC ที่มีความรู้ วิสัยทัศน์มีการ ค่อนข้างนานก่อให้เกิดความล่าช้า ดาเนินการได้อย่างมีประสทิธิภาพ
ติดตามการสั่งการอย่างใกล้ชิด 3. การใช้แอพพลิเคชั่นที่มีความ จาเป็นต้องพัฒนาทั้งโครงสร้าง
3.มีการทางานโดยสหวิชาชีพทั้ง ยุ่งยาก อสม.และผู้นาชุมชนบาง พื้นฐานระบบงาน และกาลังคน
ภายในและภายนอกหน่วยงาน ท่านไม่สามารถใช้งานได้ทาให้เป็น อย่างต่อเนื่อง
4.มีแผน อุปกรณ์ บุคลากร ภาระของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ทา 2.ดาเนินการตามแผนที่วางไว้
เครื่องมือที่จาเป็น ให้การเข้าถึงข้อมูลมีปัญหา 3.ปรับการปฏิบัติงานให้เหมาะสม
5.คณะกรรมการแต่ละกลุ่มภารกิจ 4. ประชาชนในพื้นที่ได้รับวัคซีนไม่ กับสถานการณ์และเครื่องมือที่มีอยู่
ให้ความร่วมมือในการดาเนินงาน ครอบคลุมตามเกณฑ์ที่กาหนดแนว 4.การทบทวนแนวทางการ
เป็นอย่างดี ทางการแก้ไข ประชาสัมพันธ์ ให้ ดาเนินงานตามบริบทและความ
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่อง จาเป็นของพื้นที่

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 127
ปัจจัย/ตัวแปร ที่ทาให้ผลการ ปัญหา/อุปสรรคที่ทาให้ผลการ แนวทางการแก้ไขปัญหา/
ปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการ ปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการ อุปสรรค
ภาวะฉุกเฉินฯ ภาวะฉุกเฉินฯ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
6. สื่อ ช่องทางการประชาสัมพันธ์ วัคซีน สร้างความมั่นใจในวัคซีน
ภายในองค์กร มีความสะดวก และกระตุ้นการตระหนักรับรู้ถึง
รวดเร็วผ่าน เว็บไซต์ไลน์กลุ่ม สถานการณ์ความรุนแรงของโรค
7. ใช้ความเข้มแข็งของที่หมอ 5.เมื่อมีการ Activate EOC ในช่วง
ครอบครัวซึ่งมีอสม.ร่วมทีมอยู่ด้วย แรกยังมีความเข้าใจคลาดเคลื่อนใน
ในการเฝ้าระวังสังเกตอาการรวมทั้ง การปฏิบัติหน้าที่ โดยเข้าใจว่าเป็น
ให้กาลังใจผู้ถูกแยกตัว บทบาทหน้าที่ของกลุ่มงานที่
8. มีงบประมาณสนับสนุน รับผิดชอบโรค/ภัยนั้นๆ เป็น
ค่าตอบแทนสาหรับทีมงานเพียงพอ ผู้ปฏิบัติงาน แต่ในปัจจุบันทุกกลุ่ม
9. ความร่วมมือของคณะกรรมการ ภารกิจมีความเข้าใจบทบาทหน้าที่
แต่ละกลุ่มภารกิจ และดาเนินการตามบทบาทที่ได้
10. มีการสร้างการรับรู้ การใช้ชีวิต รับผิดชอบ
วิถีใหม่ในการป้องกันโรคใน 6.เจ้าหน้าที่ขาดประสบการณ์ การ
ประชาชน ประสานล่าช้า ทั้งจากหน่วยงาน
11. ความร่วมมือจากส่วนราชการ ภายในและภายนอก ทรัพยากรไม่
ต่าง ๆ ในจังหวัด และภายนอก เพียงพอโดยเฉพาะเครื่องมือที่
กลุ่มภารกิจ และภายนอกองค์กร จาเป็น ยาและเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา
เช่น ปกครอง ตารวจ ทหาร เป็น 7.บุคลากรส่วนใหญ่ขาดทักษะการ
ต้น เก็บตัวอย่าง การเขียนรายงาน
สอบสวนโรคฉบับ final report
ขาดประสบการณ์
8.การใช้สื่อที่ยังเข้าไม่ถึง
กลุ่มเป้าหมาย/กลุ่มเสี่ยงบางส่วน

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 128
พื้นที่เขตสุขภาพที่ 9
1.เป้าหมายของการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC) และ
ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน เป้าหมายของการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
มีเป้าหมายด้านผลลัพธ์ ความปลอดภัย ลดความเสียหายและลดความเสี่ยงต่างๆ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เป้าหมายของการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
มีเป้าหมาย เพื่อป้องกันการขยายวงกว้าง และลดความรุนแรงต่อกลุ่มเปราะบาง
2.การกากับดูแลให้การปฏิบัติของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC)
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน และเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน การกากับดูแลให้การปฏิบัติของศูนย์ปฏิ บัติการภาวะ
ฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์ แ ละสาธารณสุ ข 1 ) ICS briefing 2) Leader report 3) After Action review
ประกอบการตัดสินใจ ปรับปรุงกิจกรรมและสนับสนุนทรัพยากร
3.สิ่งที่ได้เรียนรู้หรือบทเรียนจากการปฏิบัติงานฯ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉินและเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน สิ่งที่ได้เรียนรู้หรือบทเรียนจากการปฏิบัติงานฯ การจัดทา
Mapping IAP เชื่อมโยงทุกภารกิจและ Key person 1 ) ICS briefing 2) Leader report ที่เกี่ยวข้อง 3) After
Action review
4.การนาสิ่งที่เรียนรู้ได้ไปใช้ในการปฏิบัติงานจริง
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น การบริ ห ารจั ด การควบคุ ม การแพร่ ร ะบาดในเรื อ นจ า Key person เป็ น ผู้
ประสานงานหลัก โครงการราชทัณฑ์ปันสุขฯ เพื่อเข้าถึงในส่วนราชทัณฑ์และแม่ข่าย และระบบเครือข่ายดูแลรักษา
ระดั บ จั ง หวั ด การจั ด การเขตเมื อ ง ต้ น โพธิ์ โ มเดล ใช้ รู ป แบบ Mobile Call center team เพื่ อ ปฏิ บั ติ ก ารฯ
Comprehensive COVID Response Team เนื่องจากมีจุดแข็ งในการประสานรับเรื่องจากประชาชนและส่ งต่อ
ระบบช่วยเหลือเป็นทุนเดิม
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน สามารถนาไปปฏิบัติจริงได้ในตัวอย่างที่มีการระบาดใหญ่ เรือนจาและเขตเมือง

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 129
ปัจจัย/ตัวแปร ที่ทาให้ผลการ ปัญหา/อุปสรรคที่ทาให้ผลการ แนวทางการแก้ไขปัญหา/
ปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการ ปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการ อุปสรรค
ภาวะฉฉุกเฉินฯ ภาวะฉุกเฉินฯ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
สานักงาน 1.Key person ในแต่ละภัยเพื่อ EOC Assessment tool มีจานวน กระบวนการตามสถานการณ์และ
สาธารณสุขจังหวัด เข้าถึง 1) ICS briefing 2) มาก ระบุพื้นที่เป้าหมายดาเนินการ
Leader report 3) After Action 74 ตัวชี้วัด และส่วนใหญ่มีเอกสาร
review ประกอบการตัดสินใจ ทาให้เสียเวลา และเนื่องจาก
ปรับปรุงกิจกรรมและสนับสนุน สถานการณ์แพร่ระบาดโควิด ทา
ทรัพยากร ให้เอกสารไม่สมบูรณ์
2.การดึงศักยภาพและทรัพยากร
จากหน่วยงานหลัก สถาน
ประกอบการ อปท.ที่เกี่ยวข้อง
ภายใต้ EOC ระดับจังหวัด โดย
คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด
3.บุคลากรมีความเชี่ยวชาญ ต่อ
การจัดการภาวะฉุกเฉินในแต่ละภัย

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 130
พื้นที่เขตสุขภาพที่ 10
1.เป้าหมายของการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC) และ
ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่ อ นเกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น ลดผลกระทบและการสู ญ เสี ย ด้ า นสุ ข ภาพและทรั พ ย์ สิ น และลดผลกระทบ
ด้านสิ่งแวดล้อม โดยมีการทบทวนคาสั่ง และกาหนดผังโครงสร้างระบบบัญชาการ ICS การปฏิบัติงานร่วมกันให้มี
ความชัดเจน กาหนดผัง / Flow การทางานเป็นทีม การเชื่อมประสานการทางานเป็นทีมในแต่ละกล่องภารกิจ
ต่างๆ ให้ต่อเนื่อง
เมื่ อ เกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น ลดผลกระทบและการสู ญ เสี ย ด้ า นสุ ข ภาพและทรั พ ย์ สิ น และลดผลกระทบ
ด้านสิ่งแวดล้อม ในช่วงที่มีการระบาดของโรคโควิด -19 ในระยะแรก แต่ละกล่องภารกิจใน EOC ยังขาดความ
เข้าใจ ภารกิจและบทบาทหน้าที่ ที่จะต้อง Activate ทุกกล่องภารกิจเมื่อมีการแพร่ระบาดของโรค จึงได้มีการ
ประชุมคณะกรรมการการ EOC ทั้งในระดับจังหวัดและอาเภอ อย่างต่อเนื่อง ทุกกล่องภารกิจสามารถ Activate
กล่องได้ทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ
2.การกากับดูแลให้การปฏิบัติของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC)
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การกากับดูแลส่งผลให้การปฏิบัติของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์
และสาธารณสุ ข ดาเนิ น การได้อย่ างมีป ระสิ ทธิภาพ เพราะการกากับ การติดตาม การควบคุม และการดูแล
ผู้ ที่ได้รั บ มอบหมายอ านาจหน้ าที่ ข องทีม ได้ อ ย่างถู กต้ อ งและเหมาะสม และสามารถเห็ นปัญ หาระหว่า งการ
ด าเนิ น งาน และสามารถน ามาปรั บ แผนการด าเนิ น งานได้ อ ย่ า งเหมาะสม ส่ ง ผลให้ ง านประสบผลส าเร็ จ
อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน กรณีการเกิดการระบาดของโรค COVID-19 จังหวัดอานาจเจริญ ได้ดาเนินการจัด
ประชุมคณะกรรมการควบคุมโรคติดต่อ และเปิดศูนย์ EOC กรณี โรค COVID-19 ทั้งระดับจังหวัด และอาเภอ
อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้มีการกากับดูแลการปฏิบัติงานของแต่ละทีมอย่างต่อเนื่อง ผู้บัญชาการเหตุการณ์ทราบถึงผล
การดาเนินงาน ข้อจากัดของการดาเนิน และสามารวางแผนแก้ไขปัญหาการดาเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้
การดาเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 131
3.สิ่งที่ได้เรียนรู้หรือบทเรียนจากการปฏิบัติงานฯ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น การใช้ร ะบบบัญชาการณ์เหตุการณ์ ใช้ระบบการ สั่ งการ ภายใต้ ผู้ บัญชาการ
เหตุการณ์ ผู้ปฏิบัติงานจะรับคาสั่งจากหัวหน้าโดยตรงคนเดียว ผู้ปฏิบัติงานจากหลายหน่วยงานสามารถทางาน
ร่วมกันได้อย่างเป็นระบบ และรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้สามารถจัดการเหตุการณ์ฉุกเฉินได้ทุกโรคและภัย
เมื่อเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น การใช้ร ะบบบัญชาการณ์เหตุการณ์ ใช้ระบบการ สั่ งการ ภายใต้ ผู้ บัญชาการ
เหตุการณ์ผู้ปฏิบัติงานจะรับคาสั่งจากหัวหน้าโดยตรงคนเดียว ผู้ปฏิบัติงานจากหลายหน่วยงานสามารถทางาน
ร่วมกันได้อย่างเป็นระบบ และรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ สามารถจัดการเหตุการณ์ฉุกเฉินได้ทุกโรคและภัยได้
อย่างเป็นระบบ วางแผนแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสมกับสถานกรณ์ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทาให้ การปฏิบัติงาน
สาเร็จตามวัตถุประสงค์ อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล
4.การนาสิ่งที่เรียนรู้ได้ไปใช้ในการปฏิบัติงานจริง
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน เมื่อมีการจัดทาคาสั่ง และผังโครงสร้าง ICS ระบบบัญชาการเหตุการณ์ กาหนด
เจ้าหน้าที่ตามกล่องภารกิจ บทบาทที่ชัดเจน เรียบร้อยแล้ว ได้มีการจัดประชุมตามสถานการณ์ ทั้งในระดับจังหวัด
และอาเภอ ร่วมกับภาคีเครือข่าย ในการทางานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมทั้งในด้าน เจ้าหน้าที่บุคลากร
ทีมปฏิบัติงานในการสอบสวนและควบคุมโรคในพื้นที่ (CDCU) งบประมาณ และอุปกรณ์เวชภัณฑ์ต่างๆ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากภาคีเครือข่าย ทั้งในและนอกองค์กร ได้มีการ
ปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ ตามระบบบัญชาการเหตุการณ์ ได้รับการสนับสนุน อบรม เพิ่มความรู้ทักษะให้กับ
เจ้าหน้าที่ ได้รับจัดสรรงบประมาณ เพื่อเป็นขวัญและกาลังใจ พร้อมทั้งการได้รับสนับสนุนอุปกรณ์เวชภัณฑ์ต่างๆ
จากส่วนกลางและหน่วยงานเอกชน ทาให้การปฏิบัติงานประสบความสาเร็จ บรรลุเป้าหมายไปได้ด้วยดี

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 132
ปัจจัย/ตัวแปร ที่ทาให้ผลการ ปัญหา/อุปสรรคที่ทาให้ผลการ แนวทางการแก้ไขปัญหา/
ปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการ ปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการ อุปสรรค
ภาวะฉุกเฉินฯ ภาวะฉุกเฉินฯ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
สานักงาน 1.บุคลากรในทีมกลุ่มภารกิจ 1.บุคลากรยังต้องมีทักษะเฉพาะใน 1.พัฒนาศักยภาพของทีมบุคลากร
สาธารณสุขจังหวัด ดาเนินงาน (ความรู้และทักษะการ การดาเนินงานในบางกลุ่มภาระกิจ โดยมีการจัดอบรม จนท.ทีม
ดาเนินที่เกี่ยวข้องกับโรคและภัย 2.มาตรการต่าง ๆ มีการ CDCU ทีม EMS มีการ
สุขภาพที่เกิดขึ้น) เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว Orientation ที่จุดปฏิบัติงาน
2.วัสดุอุปกรณ์ที่จาเป็นในการ 3.วัสดุ/อุปกรณ์ในการดาเนินงาน 2.จัดหาวัสดุ/อุปกรณ์ในการ
ดาเนินงานเมื่อเกิดภัย จาจากัด ดาเนินงานของแต่ละอาเภอ มีการ
3.ระบบงาน แผนปฏิบัติการที่ 4.งบประมาณในการดาเนินงานจา วางแผนการบริหารจัดการวัสดุ/
เหมาะสมกับโรคและภัยสุขภาพ จากัด อุปกรณ์ในภาพรวมของจังหวัด มี
4.งบประมาณในการดาเนินงาน 5.เจ้าหน้าที่บุคลากรทีมปฏิบัติงาน การเปิดรับบริจาคจากหน่วยงาน
ในการสอบสวนและควบคุมโรคใน หรือบุคลที่สนใจให้ความช่วยเหลือ
พื้นที่ (CDCU) มีน้อย ทาให้ 3.ระดมงบประมาณจากหลาย
เจ้าหน้าที่เหนื่อยล้า พร้อมทั้ง หน่วยงานเพื่อลดความซ้าซ้อนของ
งบประมาณในการบริหารจัดการ การใช้จ่าย เช่น จากหน่วยงาน
ค่าตอบแทน เจ้าหน้าที่ และ สาธารณสุข งบป้องกันหรือยับยั้ง
อุปกรณ์เวชภัณฑ์ต่างๆ ขาดแคลน ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน งบในส่วนของ
และมีไม่เพียงพอ ส่งผลต่อการ ปกครอง งบส่วนของท้องถิ่น และ
ปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการ อื่นๆ เป็นต้น
ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข (PHEOC./ EOC)

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 133
พืน้ ที่เขตสุขภาพที่ 11
1.เป้าหมายของการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC) และ
ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น เพื่อเตรี ย มความพร้อมในการตอบโต้ภ าวะฉุกเฉิน ให้ ได้มาตรฐาน เพื่อสั่ งการ
ควบคุม และประสานงานความร่วมมือของแต่ละหน่วยงาน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน สั่งการ ควบคุม และประสานงานความร่วมมือของแต่ละ
หน่วยงาน ระดมทรัพยากรไปยังที่เกิดเหตุ บริหารจัดการเหตุฉุกเฉินให้สามารถปกป้องชีวิตและทรัพย์สินได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ ปฏิบัติตามเป้าหมายที่กาหนดไว้
2.การกากับดูแลให้การปฏิบัติของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC)
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น ดาเนิ น การได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ เนื่องจากมีโ ครงสร้างการดาเนินงาน และ
บทบาทหน้าที่ชัดเจน ขณะเดียวกันมีความยืดหยุ่นสามารถปรับเปลี่ยนตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม ได้รับการ
สนับสนุนจากผู้บริหารหน่วยงาน และจากสานักงานเขตสุขภาพ
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ระบบการกากับดูแลให้การปฏิบัติของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์
และสาธารณสุข (PHEOC/EOC) เป็นไปตามระบบโดยกากับติดตามทุกภารกิจ และมีการติดตามอย่างใกล้ชิดจาก
ผู้บัญชาการเหตุการณ์
3.สิ่งที่ได้เรียนรู้หรือบทเรียนจากการปฏิบัติงานฯ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การอบรมหลักสูตร ICS และการชี้แจงทาความเข้าใจแก่บุคลากรในแต่ละกล่ อง
ภารกิจมีความจาเป็น การจัดทาแผน ตลอดจนการซ้อมแผนฉุกเฉิน เป็นการเตรียมความพร้อมก่อนเกิดเหตุการณ์จริง
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน มีการประชุม EOC อย่างต่อเนื่อง เรียนรู้จากประสบการณ์การทางานของแต่ล ะ
ภารกิจ เพื่อ พั ฒ นาต่ อ การวางแผนในการจั ด ก าลั ง คนให้ เหมาะกั บ งาน ควรมีการปรั บบทบาทหน้ าที่ (SOP)
ให้ เ หมาะสมกั บ สถานการณ์ ความส าเร็ จ ของการใช้ ร ะบบบั ญ ชาการเหตุ ก ารณ์ ภ ายใต้ ส ถานการณ์ ฉุ ก เฉิ น
การทางานเป็นเครือข่ายทั้งภาครัฐและเอกชน รวมทั้งการประสานงานทั้งภายใน ภายนอกองค์กร ทาให้การทางาน
ประสบผลสาเร็จ
4.การนาสิ่งที่เรียนรู้ได้ไปใช้ในการปฏิบัติงานจริง
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน การทางานเป็นทีม และการประสานงานเครือข่าย ทั้งภายในภายนอกองค์การ
การสื่อสารทาความเข้าใจบทบาทภาระหน้าที่ภายใต้กรอบโครงสร้างการทางาน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน สามารถนาสิ่งที่เรียนรู้ใหม่ไปวางแผนงานการทางานแต่ละภารกิจได้อย่างเป็นระบบ
สามารถจัดคนลงตามโครงสร้างการบัญชาการเหตุการณ์ภายใต้การดาเนินงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC) ได้ตามความสามารถของบุคคล

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 134
ปัจจัย/ตัวแปร ที่ทาให้ผลการ ปัญหา/อุปสรรคที่ทาให้ผลการ แนวทางการแก้ไขปัญหา/
ปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการ ปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการ อุปสรรค
ภาวะฉฉุกเฉินฯ ภาวะฉุกเฉินฯ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
สานักงาน 1. ข้อสั่งการได้รับการตอบสนอง 1.บางภารกิจบุคลากรไม่เพียงพอ 1.รายงานการประเมินสถานการณ์
สาธารณสุขจังหวัด ตามเวลา ต้องการข้อมูลที่แน่นอน ทาให้ภาระงานมาก ผลการดาเนินงานทีมที่เกี่ยวข้อง
2. มีการสร้างความเข้มแข็งและ 2.ระยะแรกเจ้าหน้าที่ในกลุ่ม เพื่อวิเคราะห์ปัญหา อุปสรรค และ
การมีส่วนร่วมในการจัดการระดับ ภารกิจยังไม่เข้าใจบทบาทหน้าที่ ให้ ข้อเสนอแนะ เพื่อนาสู่การ
จังหวัด โดยใช้กลไก คณะกรรมการ ของตนเอง และบางส่วนยังไม่เคย ปฏิบัติและประกอบการตัดสินใจ
โรคติดต่อจังหวัด ดาเนินงานโดย ผ่านการอบรมหลักสูตร ICS มา ของผู้บริหาร / รวบรวมและจัดทา
บูรณาการทุกภาคส่วน ก่อน รายงาน/ติดตามผลการดาเนินงาน
3. มีการจัดการชุมชนเข้มแข็ง ใช้ 3.บางภารกิจถูกมอบหมายงานไม่ตรง ในส่วนที่เกี่ยวข้อง
นโยบาย 3 หมอ ร่วมกับองค์กร ตามบทบาทหน้าที่ที่ได้กาหนดไว้ 2.สนับสนุนเจ้าหน้าที่ให้ผ่านการ
ส่วนท้องถิ่น และผู้นาชุมชน การตั้ง 4.ขาดการเสริมแรงให้กับผู้ปฏิบัติ ฝึกอบรมหลักสูตร ICS
ด่าน สถานที่กักกันโรค และ 5.ความยุ่งยากในการเบิกจ่าย 3.หัวหน้าแต่ละกล่องภารกิจชี้แจง
โรงพยาบาลสนาม งบประมาณมาสนับสนุนในการ ทาความเข้าใจแก่บุคลากรในทีมถึง
4.มีระบบโครงสร้างชัดเจน มี ปฏิบัติงาน บทบาทหน้าที่
แผนปฏิบัติการ มีการซ้อมแผน 6.เจ้าหน้าที่มีภาวะเหนื่อยล้าจากการ 4.มีการเพิ่มอัตราสารองของ
และจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ให้ ทางานในช่วงการระบาดของโควิด-19 เจ้าหน้าที่ กาหนดสมรรถนะ
พร้อม 7.ในช่วงแรกอุปกรณ์และเวชภัณฑ์ บุคลากร พัฒนาทักษะโดยการฝึก
ทางการแพทย์ ชุดตรวจ ATK ไม่ ปฏิบัติก่อนลงพื้นที่
เพียงพอ 5.นอกจากได้รับการสนับสนุน
8.ในช่วงแรกมีข้อสั่งการจากหลาย เวชภัณฑ์/วัสดุทางการแพทย์จาก
หน่วยงานและมีซ้าซ้อน ส่วนกลางแล้ว ยังได้รับงบประมาณ
9.การส่งเอกสารหลักฐานเพื่อ ในการจัดซื้อจากองค์กรส่วน
ประกอบการเบิกจ่ายไม่ถูกต้อง ท้องถิ่น งบยับยั้งป้องกันฯ ผ่าน
ทาให้เกิดการล่าช้า คณะกรรมการควบคุมโรคจังหวัด
และการได้รับบริจาคจากองค์กร
ต่าง ๆ
6.ได้ประชุมทีม EOC เน้นย้า
บทบาทและภารกิจของผู้

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 135
ปัจจัย/ตัวแปร ที่ทาให้ผลการ ปัญหา/อุปสรรคที่ทาให้ผลการ แนวทางการแก้ไขปัญหา/
ปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการ ปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการ อุปสรรค
ภาวะฉฉุกเฉินฯ ภาวะฉุกเฉินฯ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
บัญชาการเหตุการณ์ และหัวหน้า
กล่องภารกิจต่าง ๆ
7.จัดหางบประมาณค่าตอบแทนที่
เกี่ยวข้อง
8.หน่วยบริการควรตรวจสอบ
เอกสารหลักฐานทางการเงินให้
ถูกต้อง เพื่อให้การเบิกจ่ายเป็นไป
ด้วยความรวดเร็ว
9.ควรมีเอกสารคู่มือในการเบิกจ่าย
รวมทั้งระเบียบที่เกี่ยวข้อง เพื่อ
ความชัดเจนในการดาเนิน เรื่อง
เบิกจ่าย

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 136
พื้นที่เขตสุขภาพที่ 12
1.เป้าหมายของการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC) และ
ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน เพื่อให้สามารถและมีความพร้อมตามกรอบแนวทาง/ทิศทาง การปฏิบัติภารกิจ
ฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
เมื่อเกิด ภาวะฉุ กเฉิ น เพื่อให้ บุ คลากร/กาลั งพลของศูนย์ปฏิบัติการสามารถปฏิบัติการตามแนวทาง
ในสถานการณ์ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุขได้อย่างดี
2.การกากับดูแลให้การปฏิบัติของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/EOC)
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน มีระบบการกากับติดตาม performance และการประเมินผลมีระบบการกากับ
ติดตามและประเมินผลการ ยกระดับ (activate) ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้งและสรุปผล
เสนอผู้บริหาร
3.สิ่งที่ได้เรียนรู้หรือบทเรียนจากการปฏิบัติงานฯ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ผู้บังคับบัญชา ต้องเป็นผู้นาและกาหนดเป้าหมายที่ชัดเจน และต้องดาเนินการตาม
แนวทางอย่างเคร่งครัด
4.การนาสิ่งที่เรียนรู้ได้ไปใช้ในการปฏิบัติงานจริง
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
เมื่ อ เกิ ด ภาวะฉุ ก เฉิ น ใช้ ใ นการเตรี ย มความพร้ อ มของศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารฯ ได้ แ ก่ ศั ก ยภาพก าลั ง พล
ทรัพยากร สถานที่ อุปกรณ์ที่จาเป็นให้พร้อมเต็มกาลังรวมถึงการประสานงานกับหน่วยงานภายในและภายนอก
อย่างสม่าเสมอ

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 137
ปัจจัย/ตัวแปร ที่ทาให้ผลการ ปัญหา/อุปสรรคที่ทาให้ผลการ แนวทางการแก้ไขปัญหา/
ปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการ ปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการ อุปสรรค
ภาวะฉุกเฉินฯ ภาวะฉุกเฉินฯ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
สานักงาน 1.ผู้บริหารและบุคลากรสาคัญของ บุคลากรต้องผ่านการอบรมหรือ โครงสร้างต้องชัดเจนมีแผนปฏิบัติ
สาธารณสุขจังหวัด แต่ละภารกิจและแผนรวมถึงการ ทบทวนบทบาทภารกิจ สม่าเสมอ การได้จริงบุคลากรได้รับการอบรม
ฝึกซ้อม อย่าง น้อยปีละ 1 ครั้ง และจัดทา/ และพัฒนาสม่าเสมอทุกปีและมี
2.มีการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่หลักของ เตรียมแผนที่จะปฏิบัติการ การซ้อมแผน
ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน และ ไว้ในการปฏิบัติการได้ทันที
ICSระดับจังหวัด อย่างน้อยร้อยละ
80 (ตามคาสั่ง ศูนย์ปฏิบัติการ
ภาวะฉุกเฉิน

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 138
ส่วนที่ 4
ผลลัพธ์จากการถอดบทเรียน

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 139
ส่วนที่ 4 ผลลัพธ์จากการถอดบทเรียน
ด้านการบริหารจัดการ
กลไกการบริหารจัดการสถานการณ์ฉุกเฉิน ผู้บริหารในระดับเขตและจังหวัดมี การรับมือและการ
แก้ไขปัญหาในพื้นที่ จากการดาเนินงานที่ผ่านมาเป็นบทพิสูจน์ได้ว่าผู้บริหารระดับเขตและจังหวัดสามารถบริหาร
จัดการภายใต้สภาวะวิกฤตได้อย่างมีประสิทธิภาพ ขณะที่ทีมงานมีความแตกต่างกันทั้งในด้านองค์ความรู้ ลักษณะ
การทางาน สภาพปัญหาและความรุนแรงของสถานการณ์ โดยการแก้ไขปัญหาไม่ได้มีสูตรสาเร็จตายตัว ขึ้นกับ
ศาสตร์และศิลปะในการบริหารจัดการของผู้ บริหารระดับเขตและจังหวัด ที่จะนามาใช้ร่วมกับภาคีเครือข่ายทุก
กระทรวง ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ในการเตรียมความพร้อมและคิดอย่างรอบด้าน รวมถึงพร้อม
ปรั บ และรั บ มื อ ต่ อ ความเปลี่ ย นแปลงอยู่ เ สมอ (Resilience) มี ก ารท างานที่ ยึ ด ระบบงานและมาตรฐาน
การปฏิบัติงานซึ่งมีการเตรียมความพร้อมในการตอบโต้โดยการแต่งตั้งคณะกรรมการ จัดทาคาสั่ง และผังโครงสร้าง
ระบบบั ญชาการเหตุการณ์ (ICS) กาหนดเจ้าหน้าที่ตามกล่ องภารกิจที่ชัดเจน ในการปฏิบัติหน้าที่ ทาให้ การ
ดาเนินงานเป็นไปอย่างรวดเร็ว และทันเหตุการณ์ การจัดทาแผนรองรับ ภาวะฉุกเฉิน IAP/BCP การฝึกซ้อมแผน
เพื่อเตรียมความพร้อมในการสามารถตอบโต้ภาวะฉุกเฉินได้อย่างมีประสิทธิภาพ และบรรลุเป้าหมายฝึกซ้อมแผน
และการประชุมคณะกรรมการศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุขระดับเขตและระดับ
จังหวัด ทาให้เกิดการเตรียมความพร้อมด้านทรัพยากร (คน เงิน ของ) ในการปฏิบัติงาน ร่วมถึงมีการประเมิน
และสรุปผลการดาเนินงาน จัดทาคลังความรู้ ถอดบทเรียนจากเหตุการณ์ เพื่อนามาปรับแผนให้มีความเหมาะสม
กับทีมงาน และสถานการณ์ภาวะฉุกเฉินที่เกิดขึ้น อีกทั้ง การเชื่อมโยงข้อมูล การจัดทา dashboard และการ
วิเคราะห์สถานการณ์รายวันซึ่งสามารถติดตามข้อมูลในระบบออนไลน์ทาให้ข้อมูลมีความกระชับ เข้าใจง่ายมากขึ้น
สามารถประเมินและติดตามสถานการณ์ได้อย่าง Real-time ส่งผลต่อการบริหารสถานการณ์ในภาวะฉุกเฉิน
ด้านบริหารจัดการทรัพยากรและงบประมาณ
การบริหารจัดการทรัพยากรในสถานการณ์ฉุกเฉิน มีการเตรียมความพร้อมทั้งด้านเวชภัณฑ์ยา
และไม่ใช่ยา เครื่องมือทางการแพทย์ โดยการสรรหา และจัดสรรทรัพยากรให้หน่วยบริการอย่างเพียงพอต่อการใช้
งานในพื้นที่ได้อย่างเหมาะสม เพียงพอ และทันเวลา รวมทั้งการใช้ระบบการรายงานข้อมูล ทรัพยากรที่ ใช้ใน
สถานการณ์ฉุกเฉินที่เป็นที่เป็น real-time เช่น ระบบ WEB EOC ,CO-WARD และ Google Sheet เพื่อให้มีการ
บริหารจัดการได้ทันเวลา และเหมาะสมกับสถานการณ์

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 140
การบริหารจัดการด้านงบประมาณในสถานการณ์ฉุกเฉิน ผู้บริหารให้ความสาคัญและสนับสนุน
ในการบริหารจัดการงบประมาณ โดยมีการเบิกจ่ายงบกลางที่ได้รับจัดสรรจากกระทรวงสาธารณสุข และสนับสนุน
งบประมาณจากงบดาเนิ น งานของส านั กงานสาธารณสุ ขจังหวัด ด าเนินการกากับ ติตาม เร่งรัดการเบิกจ่าย
งบประมาณกลางในการประชุมศูน ย์ ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุขของระดับจังหวัด
รวมทั้งการสรุปรายงานทางการเงินและวิเคราห์ต้นทุน ความคุ้มค่าในการดาเนินการ เพื่อห้สามารถดาเนิ นการ
เบิกจ่ายตามระเบียบและหลักเกณฑ์ที่กระทรวงกาหนด
ด้านการบริหารจัดการบุคลากร
จากสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 ผู้ บริห ารให้ ความส าคัญ
และมีการสนั บ สนุ น บุ คลากรส าหรั บ การปฏิบัติงานอย่างเพียงพอ โดยการ เพิ่มอัตรากาลั ง การทดแทนและ
หมุน เวีย นบุ คลากรจากพื้น ที่ต่างๆ เข้ามาร่ว มปฏิบัติการฉุกเฉินในพื้นที่การระบาด ทั้งนี้ ยังมีการเสริมสร้าง
ศักยภาพของบุคลากรในการปฏิบัติงานในภาวะฉุกเฉินเกิดการเรียนรู้ เพิ่มทักษะและประสบการณ์ในการจัดการ
ภาวะฉุกเฉินของทุกกลุ่มภารกิจ การสร้างความเข้มแข็ งในระบบการประสานงานการดาเนินงานร่วมกับหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกกระทรวงสาธารณสุข การเตรียมทีมปฏิบัติการฉุกเฉินให้มีความพร้อมและ
สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและครอบคลุมทุกพื้นที่ของการระบาด อีกทั้ง ในการป้องกันควบคุมโรค
ของพื้นที่ยังได้รับการสนับสนุนบุคลากรจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จึงทาให้เกิดเครือข่ายในการดาเนินงาน
และทุกคนสามารถปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายได้เป็นอย่างดี
ด้านการกลไกการประสาน
กลไกการประสานงานเป็ น ระบบที่ อ าศั ย การประสานงานในระนสบเดี ย วกั น (Horizontal
Coordination) เกิดระบบการจัดทาทาเนียบ เพื่อการประสานงานทั้งภายในพื้นที่ระดับจังหวัด ระดับเขตสุขภาพ
ระดับกระทรวงสาธารณสุข และหน่วยงานภายนอกกระทรวงสาธารณสุขทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน เพื่อการ
สื่อสาร นโยบาย ข้อสั่งการ การดาเนินงานสามารถเป็นไปอย่างรวดเร็ว และเป็นระบบ มีรูปแบบการประสานงาน
หลากหลายช่องทาง ทั้งทางหนังสือราชการ ทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ ระบบออนไลน์ โดยการประสานภายใต้ระบบ
บัญชาการเหตุการณ์ ซึ่งมีผู้รับผิดชอบในแต่ละกล่องภารกิจดาเนินการ อีกทั้ง ระบบการกากับติดตามข้อสั่งการ
ผ่ า นกระบวนการประชุ ม ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์ แ ละสาธารณสุ ข ซึ่ ง กลไกการประสาน
ในสถานการณ์ฉุกเฉิน มีความส าคัญและจ าเป็นอย่างยิ่งในการบริหารจัดการสถานการณ์ภายใต้ส ภาวะวิกฤต
ดังนั้น ควรเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบการประสานงานในสภาวะวิกฤตในทุกหน่วยงานและทุกระดับ

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 141
ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 142
ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ
ด้านการบริหารจัดการ
1. ควรจัดตั้งศูนย์ประสานการทางานเพื่อเพิ่มสมรรถนะกลไกประสานงานระดับจังหวัด บูรณาการหน่วยงาน
หลัก ภาคีเครือข่ายและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Provincial Coordinating Mechanism: PCM)
2. ควรจั ด ท าแผนยุ ท ธศาสตร์ แ ละแผนปฏิ บั ติ ก าร ที่ ส อดคล้ อ งตามยุ ท ธศาสตร์ แ บบบู ร ณาการ
(Costed plan and Joint KPI ร่วมกับหน่วยงานภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ร่วมทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
3. ควรจั ด อบรมหลั ก สู ต รการจั ด ท าแผนรองรั บ ภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์ แ ละสาธารณสุ ข อาทิ
แผนประคองกิจการ (BCP) แผนเผชิญเหตุ (IAP) และแผนอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ให้แก่ผู้ปฏิบัติงานนทุกระดับ
เพื่อให้สร้างความเข้าใจกับผู้ปฏิบัติงานและการเตรียมความพร้อมรับมือในการบริหารจัดการภาวะฉุกเฉิน
4. การทบทวนและจัดทาแผนเตรียมความพร้อมเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ฉุกเฉินที่ครอบคลุมทุกโรคและ
ภัยสุขภาพ (All Hazards Plan) ทั้งระดับจังหวัดและระดับเขตสุขภาพ โดยใช้บทเรียนจาก COVID-19
เป็นแนวทางและโอกาสการพัฒนา
5. พัฒนาคู่มือแนวทางดาเนินงานในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน (Protocol / Guideline/ SOPs) สาหรับทุก
กลุ่มภารกิจ ระดับจังหวัดและระดับเขตสุขภาพ
6. การกาหนดหลักเกณฑ์ในการเปิดศูนย์ป ฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุขในระดับ
อ าเภอ และระดั บ ต าบลเพิ่ ม เติ ม เพื่ อ การปฏิ บั ติ ง านในการตอบโต้ภ าวะฉุ ก เฉิ น ทางการแพทย์ และ
สาธารณสุขที่มีประสิทธิภาพ และครอบคลุมในพื้นที่
ด้านบริหารจัดการทรัพยากรและงบประมาณ
1. ด้านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ กระทรวงควรเข้า มาช่วยพัฒนาระบบรายงานให้ข้อมูลเป็นระบบ Digital
อิเล็ กทรอนิ กส์ ไฟล์ หรื อ เว็บ ไซต์ เป็นระบบรายงานข้อมูล เดีย วเพื่อให้ ผู้ ปฏิบัติงานทุกระดับ (ระดับ
กระทรวง ระดับเขต ระดับจังหวัด) เข้าถึงข้อมูลได้สะดวก รวดเร็ว และใช้ข้อมูลชุดเดียวกัน ควรจัดทา
ระบบสารองข้อมูลเพื่อรองรับในกรณีระบบเกิดเหตุขัดข้อง และมีการสนับสนุนงบประมาณเรื่องระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศในระดับจังหวัดเพื่อช่วยให้การทางานมีประสิทธิภาพมากขึ้น
2. การพัฒนาและบูรณาการระบบข้อมูล และ Platform (Data Center) ของส่วนกลาง เพื่อให้สามารถใช้
ประโยชน์ร่วมกันร่วมกันทั้งระดับจังหวัด ระดับเขตสุขภาพ และระดับประเทศ
3. การพัฒนาระบบจัดการข้อมูล ให้เป็นศูนย์ข้อมูลเพื่อสนับสนุนการดาเนินงานด้านการจัดการภาวะฉุกเฉิน
แก่ ห น่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง (เป็ น หน่ ว ยงานหลั ก ในการบริ ห ารจั ด การสาธารณภั ย ด้ า นการแพทย์
และสาธารณสุขของประเทศ) รวมทั้งพัฒนา/ปรับปรุงเว็บไซต์ให้ทันสมัย ให้สามารถเข้าถึงข้อมูลที่จาเป็น
ในการจัดการภาวะฉุกเฉิน
4. ระดับกระทรวง ระดับเขตสุขภาพ ควรจัดเตรียมสนับสนุนทรัพยากรและงบประมาณ ให้เพียงพอรองรับ
การปฏิบัติการของระดับจังหวัดได้อย่างทันท่วงที

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 143
5. ระบบการจั ด การทรั พ ยากรสนั บ สนุ น วั ส ดุ อุ ป กรณ์ ท างการแพทย์ ยาและเวชภั ณ ฑ์ ต่ า งๆ ควรเป็ น
Real-time เพื่อให้มีการบริหารจัดการได้ทันเวลา และเหมาะสมกับสถานการณ์ฉุกเฉินที่เกิดขึ้น
6. กระทรวงสาธารณสุขควรมีระบบ Supply chain ของฐานข้อมูลบริษัทที่จาหน่ายยาและเวชภัณฑ์ที่จาเป็น
และขาดแคลนสาหรับสถานการณ์ฉุกเฉิน เพื่อให้หน่วยงานระดับจังหวัด และหน่วยบริการสามารถจัดซือ้
จัดหาได้อย่างรวดเร็วทันต่อสถานการณ์
7. กาหนดระเบียบเฉพาะเรื่องงบประมาณ การจัดซื้อจัดหา การรับบริจาคเมือ่เกิดภาวะฉุกเฉิน เพื่อให้เกิด
สภาพคล่องในการจัดการและทันต่อสถานการณ์
8. กาหนดนิยาม หลักเกณฑ์ในการจั ดสรร การเบิกจ่ายให้ชัดเจนกาหนดนโยบายสนับสนุนงบประมาณ
ค่าตอบแทนของทุกทีมให้ชัดเจนทั่วถึงและเท่าเทียม สื่อสารบุคากรทุกหน่วยบริการให้เข้าใจและปฏิบัติ
เป็นทิศทางเดียวกัน
9. ควรปรับเกณฑ์เบิกจ่ายให้สอดคล้องกับสถานการณ์ และพิจารณาการอุทธรณ์ขอรับจัด สรรงบประมาณ
เพิ่มเติมให้เร็วขึ้น
ด้านการบริหารจัดการบุคลากร
1. การจัดเตรียมเจ้าหน้าที่บุคลากรในการปฏิบัติงานให้เพียงพอ มีการอบรม เพิ่มทักษะให้แก่ ผู้ปฏิบัติงานใน
ภาวะฉุกเฉิน มีแหล่งงบประมาณเพื่อใช้ในการบริหารจัดการค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ และจัดเตรียมวัสดุ
อุปกรณ์เวชภัณฑ์ต่างๆ มีอย่างเพียงพอ เพื่อเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะ
ฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุขต่อไป
2. ควรมีการจัดอบรมบทบาทหน้าที่ของโครงสร้างระบบบัญชาการเหตุการณ์ ICS เพิ่มเติม เนื่องจากมีการ
ปรับเปลี่ยนเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ หรือควรมีการพัฒนาศักยภาพให้แก่ผู้ปฏิบัติงานทุกคนได้เรียนรู้เท่า
เทียมกันเมื่อเกิดสถานการณ์ฉุกเฉิน
3. ผู้บัญชาการเหตุการณ์ระดับอาเภอ (รพ./สสอ.) หัวหน้ากล่องภารกิจหลัก และเจ้าหน้าที่ทุกคน ต้องผ่าน
การอบรมหลักสูตร ระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS 100) หรือหลักสูตร Disaster Management อื่นๆ
ที่มีมาตรฐานเทียบเท่า FEMA/CDC/WHO
4. ควรให้องค์กรภาคีเครือข่าย ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน เข้ามามีส่วนร่วมในการดาเนินการโดยเฉพาะเมื่อเกิด
สถานการณ์ฉุกเฉิน
5. ควรมีแผนบูรณาการอัตรากาลังระดับอาเภอและระดับจังหวัด กรณีภาวะฉุกเฉิน มีระบบบริหารจัดการ
อัตรากาลังสารองและการหมนุเวียนบุคลากรภายในเขตสุขภาพ
6. จัดทาทาเนียบผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุขในแต่ละ
ด้านทุกโรคและภัยสุขภาพ

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 144
ภาคผนวก

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 145
แบบฟอร์มการถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
สาหรับหน่วยงานสาธารณสุขระดับจังหวัดและระดับเขตสุขภาพ EOC ASSESSMENT TOOL
ส่วนที่ 1 : ข้อมูลทั่วไป
วันที่ตอบแบบสอบถาม หน่วยงาน...................................................
ส่วนที่ 2 : ความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินสาหรับ
หน่วยงานสาธารณสุขระดับจังหวัดและระดับเขตสุขภาพ EOC ASSESSMENT TOOL

คาตอบ
คาถาม
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน เกิดภาวะฉุกเฉิน
2.1 เป้าหมายของการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการ
ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
(PHEOC/EOC) และระบบการจัดการภาวะ
ฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข
หมวดที่ 1 บริบท
2.2 ท่ า นมี ค วามคิ ด เห็ น อย่ า งไรในการ
กาหนดพันธกิจและขอบเขตการปฏิบัติงาน
ของศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการ
แพทย์และสาธารณสุข (PHEOC /EOC)
2.3 ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรสาหรั บการ
จัดทาแผนรองรับภาวะฉุกเฉินระดับจังหวัด
ตามภัยและการประเมินความเสี่ยงที่มีการ
จัดลาดับความสาคัญ
หมวดที่ 2 ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉิน
2.4 ท่ า นมี ค วามคิ ด เห็ น อย่ า งไรในการ
โครงสร้ างพื้น ฐานเพื่อรองรับ การเปิ ดศูนย์
ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุ ข (PHEOC/EOC) และระบบ
บัญชาการเหตุการณ์ (ICS) (คน เงิน ของ)

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 146
คาตอบ
คาถาม
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน เกิดภาวะฉุกเฉิน
2.5 ท่ า นมี ค วามคิ ด เห็ น อย่ า งไร ส าหรั บ
อบรมบุคลากรให้มีความรู้เกี่ยวกับโครงสร้าง
ของศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารภาวะฉุ ก เฉิ น ทางการ
แพทย์ แ ละสาธารณสุ ข (PHEOC /EOC)
และระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS)
หมวดที่ 3 กรอบโครงสร้างการทางาน
2.6 ท่ า นมี ค วามคิ ด เห็ น อย่ า งไรในการมี
ระบบหรือกลไกการประสานงานของศู น ย์
ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข (PHEOC/EOC) กับหน่วยงาน
ภายใน และหน่วยงานภายนอก
หมวดที่ 4 ระบบข้อมูล
2.7 ท่ า นมี ค วามคิ ด เห็ น อย่ า งไรในการ
เชื่อมโยงข้อมูลการปฏิบัติงานระหว่างศูนย์
ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข (PHEOC/EOC) กับหน่วยงานที่
เกี่ยวข้อง
หมวดที่ 5 Critical Information
2.8 ท่ า นมี ค วามคิ ด เห็ น อย่ า งไรในการมี
ระบบการรายงาน ข้ อ มู ล ทรั พ ยากร ระบุ
ตาแหน่งและสถานะของการปฏิบัติงานของ
ที ม ป ฏิ บั ติ ก า ร ท า ง ก า ร แ พ ท ย์ แ ล ะ
ส า ธ า ร ณ สุ ข ห รื อ ที ม ป ฏิ บั ติ ก า ร จ า ก
หน่ว ยงานอื่น ที่เกี่ย วข้องผ่ านอุป กรณ์ห รื อ
เครื่องมือที่จาเป็น
หมวดที่ 6 Incident management and response
2.9 ท่ า นมี ค วามคิ ด เห็ น อย่ า งไรในการมี
แนวทางปฏิบัติของแต่ละกลุ่มภารกิจ อยู่ ใน
ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 147
คาตอบ
คาถาม
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน เกิดภาวะฉุกเฉิน
และสาธารณสุ ข (PHEOC) ตามระบบ
บัญชาการเหตุการณ์
2.10 ท่ า นมี ค วามคิ ด เห็ น อย่ า งไรในการ
แต่ ง ตั้ ง หรื อ ก าหนดตั ว เจ้ า หน้ า ที่ ที่ จ ะ
ปฏิ บั ติ ง านตามโครงสร้ า งการบั ญ ชาการ
เหตุการณ์ ภ ายใต้ การดาเนิ น งานของศู น ย์
ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข (PHEOC./EOC) และสามารถ
นาไปใช้เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์
และสาธารณสุขจริงหรือไม่ และมีประโยชน์
ต่อการปฏิบัติงานอย่างไร
หมวดที่ 7 การสื่อสารความเสี่ยง (Risk Communications) และการเตือนภัย
2.11 ท่านมี ความคิด เห็ น อย่ างไรในการมี
แผน/แนวทางการสื่อสารความเสี่ยงตามโรค
และภั ย สุ ข ภาพที่ วิ เ คราะห์ ห รื อ ประเมิ น
ความเสี่ ย งได้ ห รื อ ตามเหตุ ก ารณ์ ภ าวะ
ฉุกเฉิน และมีป ระโยชน์ ต่อการปฏิบัติงาน
อย่างไร
หมวดที่ 8 การสื่อสารภายใน (หมายถึง การสื่อสารภายในระบบ ICS)
2.12 ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรสาหรับแนว
ทางการด าเนิ น งานส าหรั บ การสื่ อ สารใน
องค์กร
หมวดที่ 9 Coordination and logistical support of field operations
2.13 ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรสาหรับการ
สนั บ สนุ น ที ม ปฏิ บั ติ ก ารพร้ อ ม อุ ป กรณ์ /
เครื่องมือที่จาเป็นสาหรับลงพื้นที่ภาคสนาม
2.14 ท่ า นมี ค วามคิ ด เห็ น อย่ า งไรในการ
สนับสนุน จัดเก็บ จัดส่งยาเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 148
คาตอบ
คาถาม
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน เกิดภาวะฉุกเฉิน
ในคลังเวชภัณฑ์ อุปกรณ์/เครื่องมือที่จาเป็น
ให้กับทีมปฏิบัติการ
หมวดที่ 10 Training, Exercise and Evaluation
2.15 การจั ดอบรมตามหลั กสู ตรกลาง
(ICS100) ที่ จั ดตั้ งขึ้ นมาเป็ น การเฉพาะเพื่ อ
ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์ แ ละสาธารณสุ ข (PHEOC/
EOC) และเจ้าหน้าที่ตามโครงสร้าง ICS มีความ
จาเป็นหรือไม่อย่างไร
2.16 แผน (BCP/IAP) ระบบการบริหาร
จัดการข้อมูล และกิจกรรม การฝึกซ้อมแผน
เป็นการเฉพาะให้กับเจ้าหน้าที่ตามคาสั่ง
ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์
และสาธารณสุข (PHEOC/EOC) และมี
ความจาเป็นหรือไม่ อย่างไร
2.17 ผลการดาเนินงานของของศูนย์
ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข (PHEOC/EOC) ที่ผ่านมา
2.18 การกากับดูแลให้การปฏิบัติของศูนย์
ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และ
สาธารณสุข (PHEOC/EOC) ดาเนินการได้
อย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่ อย่างไร
2.19 ปัจจัย/ตัวแปร ที่ทาให้ผลการ
ปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/
EOC) สาเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 149
คาตอบ
คาถาม
ก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน เกิดภาวะฉุกเฉิน
2.20 ปัญหา/อุปสรรคที่ทาให้ผลการ
ปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC./
EOC) ไม่สาเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
2.21 แนวทางการแก้ไขปัญหา/อุปสรรค
เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
2.22 ข้อค้นพบ หรือบทเรียนจากการ
ปฏิบัติงานฯ
2.23 สามารถนาสิ่งที่เรียนรู้ได้ไปใช้ในการ
ปฏิบัติงานจริงได้อย่างไร
2.24 การพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
ทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC/
EOC) และระบบการจัดการภาวะฉุกเฉิน
ควรได้รับการสนับสนุนเพิ่มเติมด้านใด
อย่างไร

ส่วนที่ 3 : ผลลัพธ์ของการถอดบทเรียน และข้อเสนอแนะในการพัฒนาในปีต่อไป


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

รายงานถอดบทเรียนแบบเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผนการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC ASSESSMENT TOOL) ประจาปี พ.ศ. 2565 150
กองสาธารณสุขฉุกเฉิน
สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
E-MAIL : DPHEM.STAG@GMAIL.COM

You might also like