Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 11

บทที่ 5

สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การศึกษาเรื่อง การประเมินผลการดําเนินกิจการของวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดลําพูนที่
ไดรับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน มีวัตถุประสงคในการศึกษาเพื่อ 1) วิเคราะหผลที่ไดรับ

. t h
หลั งจากการไดรับการรับรองมาตรฐานผลิตภั ณฑชุมชนของกลุมวิสาหกิ จชุมชนในจัง หวัด ลําพูน

t. go
2)เพื ่อ ระบุป จ จัย การดํ า เนิน งานของกลุ ม วิส าหกิจ ชุม ชนที ่ม ีผ ลตอ การไดร ับ รองมาตรฐาน
c
.nr
ผลิตภัณฑชุมชน และ 3) เพื่อระบุปญหาและอุปสรรคในการดําเนินงานขอรับการรับรองมาตรฐาน

rd ic
ผลิตภัณฑชุมชนและผลจากการไดรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนของกลุมวิสาหกิจชุมชนใน
จังหวัดลําพูน ผูศึกษากําหนดระเบียบวิธีวิจัย เปนการศึกษาเชิงปริมาณผสมเชิงคุณภาพ โดยใช

า ก
แบบสอบถามเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูลจากกลุมวิสาหกิจชุมชนไดรับการรับรอง

ม า
มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน จํานวน 255 คน และแบบสัมภาษณเก็บขอมูลจากผูบริหารและเจาหนาที่

้ 4
d ก : 3
ผูปฏิบัติงานดานการสงเสริมการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนของสํานักงานอุตสาหกรรม
a แ 5
ln o นวล 21:2
จังหวัดลําพูน จํานวน 3 คน ขอมูลที่เก็บรวบรวมไดจากแบบสอบถามทั้งหมด ผูศึกษาวิเคราะห

w วิช 2
ขอมูลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS for Windows สถิติที่ใช ไดแก การแจกแจงความถี่
o
ี์น้ d ยกร /256
คารอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะหความแปรปรวน (Analysis of Variance


– ANOVA) คา LSD และวิเคราะหโดยใชสถิติที (T-Test) และขอมูลจากแบบสัมภาษณ นํามา

ไ ย นา 9/06
ฟวิเคราะหโดยการพรรณนา บรรยาย สรุปเปนประเด็น ผลการศึกษาสรุปไดดังนี้

5.1 โสรุดปผลการศึกษา0
มเ ื่อขอมูลทั่วไปของผูประกอบการ/เจาของกิจการ
5.1.1
ผูประกอบการ กลุมวิสาหกิจชุมชนไดรับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน จํานวน
255 คน ที่ตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศหญิง รอยละ 76.5 มีอายุระหวาง 46 – 55 ป รอยละ
51.8 จบการศึกษาระดับประถมศึกษา/เทียบเทา รอยละ 27.5 ประกอบกิจการมาเปนระยะเวลา
ระหวาง 5 – 10 ป รอยละ 45.9 ไดรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ป พ.ศ. 2548 รอยละ 43.5
ไดรับทราบขอมูลเกี่ยวกับการขอรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนจากคณะกรรมการอํานวยการ
หนึ่งตําบล หนึ่งผลิตภัณฑแหงชาติ รอยละ 36.9 ประกอบกิจการที่ไดรับการรับรองมาตรฐาน
ผลิตภัณฑชุมชน คือ ผาและเครื่องแตงกาย รอยละ 34.1
76

ดานตลาดสงออกผลิตภัณฑในกิจการที่ผลิต พบวา สวนใหญสงออกสินคาในตางจังหวัด


ไดแก กรุงเทพฯ ชลบุรี ภูเก็ต ระยอง เชียงราย รอยละ 51.4 มีจํานวนสมาชิกในกลุม/กิจการ ต่ํากวา
10 คน รอยละ 47.9 สถานะของการประกอบกิจการเปนจดทะเบียนธุรกิจ รอยละ 49.4 มีเงินการ
ลงทุนแรกเริ่มประกอบการระหวาง 50,000 – 200,000 บาท รอยละ 71.8 แหลงเงินกู สวนใหญกูเงิน
จากสถาบันการเงิน เชน ธนาคาร รอยละ 36.9 มีชองทางการจําหนายผลิตภัณฑ โดยมีตัวแทน
จําหนายมารับไปขาย รอยละ 40.0

. t h
5.1.2 การไดรับการสงเสริมสนับสนุนจากหนวยงานรัฐ และความรวมมือ ความสามัคคี
จากสมาชิกกลุม
c t. go
.nr
1) ดานการสนับสนุน สงเสริมจากหนวยงานราชการ

rd ic
การดําเนินงานขอรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนไดรับการสนับสนุน สงเสริม
จากหนวยงานราชการในภาพรวมผูประกอบการ/กลุมวิสาหกิจชุมชนไดรับการสนับสนุน สงเสริม

า ก
และชวยเหลื อในดานตางๆ ในระดับคอนขางมาก เชน การใหความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการ


ปรับตัวของกิจการโดยการฝกอบรมและใหคําปรึกษาแนะนําแกวิสาหกิจชุมชนที่ตองการขอรับการ
ม ว
้ 4
d ก : 3
รับรอง การชี้แจงใหผูประกอบการทราบถึงขั้นตอนและวิธีการในการขอรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ
a แ 5
ln o นวล 21:2
ชุมชน การใหการสนับสนุนสงออกสินคาผลิตภัณฑชุมชนไปยังตางจังหวัด และตางประเทศ และ

w วิช 2
สงเสริมใหผูประกอบการ โดยการเขาไปชวยสอน แนะนําใหพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑที่ผลิต
o
ี์น้ d ยกร /256
เพื่อใหมีคุณภาพ และมีโอกาสไดรับการรับรอง เปนตน
สํ า หรั บ ข อ มู ล การสั ม ภาษณ ผู บ ริ ห ารและเจ า หน า ที่ ผู เ กี่ ย วข อ ง พบว า การ

ฟ ล
ไ ย นา 9/06
ดําเนินงานสงเสริมการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนของสํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดลําพูน

โด ื่อ 0
ไดดําเนินการเปนตามแผนงาน เพื่อเรงสนับสนุนใหกลุมวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดลําพูน ไดรับการ
รับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนมากขึ้น โดยในป 2551 กําหนดเปาหมายใหวิสาหกิจชุมชนที่จด
เม
ทะเบียน OTOP ตองยื่นขอรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนทั้งหมด จังหวัดลําพูนมีกลุมวิสาหกิจ
ชุมชนที่จดทะเบียน OTOP จํานวนทั้งสิ้น 389 ราย ไดรับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนแลว
319 ราย หรือคิดเปนรอยละ 82.0 ของเปาหมายที่ตองการ กอนการขอรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ
ชุ ม ชน ทางสํ า นั ก งานอุ ต สาหกรรมจั ง หวั ด ลํ า พู น ได ใ ห บ ริ ก าร โดยจั ด ทํ า เอกสารข อ มู ล และ
สนับสนุนเจาหนาที่ใหคําแนะนําอยางละเอียด ชัดเจน และใหคําปรึกษา แนะนําเบื้องตน ณ สถานที่
ผลิต จัดฝกอบรม พัฒนาผลิตภัณฑ เพื่อใหเกิดการเรียนรู และการเกิดการพัฒนาผลิตภัณฑ ติดตอ
ประสานงานกับผูเชี่ยวชาญเขาใหความรู ใหคําปรึกษา แนะนํา ณ สถานที่ผลิต ลงมือปฏิบัติ เกิดการ
ปรับปรุง พัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ และพรอมที่จะขอรับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ
77

สําหรับการเผยแพรประชาสัมพันธ ทางสํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดลําพูน ได


ดํ า เนิ น การส ง เสริ ม ให ป ระชาชนและผู บ ริ โ ภคได รู จั ก และเกิ ด ความตระหนั ก ในการเลื อ กซื้ อ
ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ไ ด รั บ รองมาตรฐาน โดยการเผยแพร ป ระชาสั ม พั น ธ ผ า นสื่ อ ต า ง ๆ เช น แผ น พั บ
หนังสือพิมพ วิทยุทองถิ่น และการจัดนิทรรศการ ตอมาเมื่อไดรับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ
ชุม ชนแลว จะมีการสุมเก็ บตัวอยางผลิตภัณ ฑ เพื่อการทดสอบคุณภาพ อยางนอย 1 ครั้ง ต อป
เพื่ อ ให คุ ณ ภาพของผลิ ต ภั ณ ฑ เ ป น ที่ ย อมรั บ ของตลาดและผู บ ริ โ ภค โดยการตรวจสอบและ

. t h
ประเมินผลผลิตภัณฑนั้นทางสํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดลําพูน ไดดําเนินการหลายแนวทาง

go
ไดแก การเก็บตัวอยางผลิตภัณฑจากแหลงผลิต สุมเก็บตัวอยางผลิตภัณฑที่จําหนายในทองตลาด

t.
ทั่วไป สงหนวยตรวจสอบเมื่อผานการทดสอบจากนั้นทางสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม
c
.nr
จะออกใบรับรองคุณภาพให ซึ่ งจะมีอายุ 3 ป และทุกป จะต องมี การสุมตั วอย าง เพื่ อนําไปตรวจ

rd ic
ประเมินผลซ้ํา อยางนอยปละ 1 ครั้ง ซึ่งผลการตรวจสอบซ้ําในผลิตภัณฑชุมชนในจังหวัดลําพูน สวน
ใหญจะผานการตรวจสอบ ซึ่งบงชี้ไดวา กลุมวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดลําพูนนั้น สามารถรักษา

จ า ก
คุณภาพ และมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนไดเปนอยางดี

ม า ว
้ 4
2) ความรวมมือ และความสามัคคีของสมาชิกกลุม

a d แ ก 5 : 3
การดําเนินงานขอรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนของกลุมผูประกอบการ/
ln o นวล 21:2
กลุมวิสาหกิจชุมชน ไดรับความรวมมือ และความสามัคคีจากของสมาชิกกลุมในระดับคอนขางมาก

w วิช 2
เชน สมาชิกกลุมไดรวมกันกระจายสินคาไปขายตามพื้นที่ตางๆ ทั้งในจังหวัดและตางจังหวัด รวม
o
ี์น้ d ยกร /256
จั ด งานแสดงสิ น ค า ภายในจั ง หวั ด และชุ ม ชน ร ว มประชุ ม ปรึ ก ษาหารื อ เพื่ อ ร ว มกั น คิ ด และ

ฟ ล
ไ ย5.1.3นาผลการดํ9/า0เนิ6นงานหลังการไดรับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน
สรางสรรคผลิตภัณฑรูปแบบใหม ๆ ขึ้นมาเกิดขึ้น เปนตน

โ ด ผลการดํื่อ 0าเนินงานหลังการไดรับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนในภาพรวมอยูใน
ระดับมาก เมืม่อพิจาณาแตละดาน พบดังนี้
เ 1) ดานการสรางงานสรางรายได
ผลการดําเนินงานหลังการไดรับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ดานการ
สรางงานสรางรายได พบวา ประสบผลสําเร็จในระดับมาก เชน ผูประกอบการ/ประชาชนมีรายได
เพิ่มขึ้น มีเงินออมมากขึ้น มีการจางงานในชุมชนเพิ่มขึ้น และมีความเปนอยูที่ดีขึ้น
2) ดานความเขมแข็งของชุมชนและพึ่งตนเอง
ผลการดําเนินงานหลังการไดรับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ดานความ
เขมแข็งของชุมชนและพึ่งตนเอง พบวา ประสบผลสําเร็จในระดับมาก เชน มีการตัดสินใจ และ
78

พัฒนาผลิตภัณฑรวมกันของกลุมตาง ๆ มีการใชภูมิปญญาทองถิ่นในการผลิตสินคา/ผลิตภัณฑ มี
การบริหารจัดการที่สอดคลองกับสังคม วัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของชุมชน มี
พัฒนาผลิตภัณฑชุมชนที่เปนเอกลักษณของทองถิ่น สามารถสรางความมั่งมีศรีสุขของครัวเรือน
และชุมชนได เปนตน
3) ดานคุณภาพของผลิตภัณฑ
ผลการดําเนินงานหลังการไดรับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ดาน
คุณภาพของผลิตภัณ ฑ พบว า ประสบผลสําเร็จในระดับมาก เชน สามารถลดของเสียจาก
. t h
go
กระบวนการผลิตมีนอยลงได ผลิตภัณฑที่ผลิตมีช่อื เสียงเปนที่ยอมรับ มีความปลอดภัย เปนที่เชือ่ ถือ

t.
และไววางใจของลูกคา มีพัฒนาผลิตภัณฑใหมีความสวยงาม เรียบรอย และขนาดเหมาะสมกับ
c
.nr
ความตองการของตลาดได และสามารถยกระดับผลิตภัณฑชุมชนใหสูงขึ้น เปนตน

rd ic
สําหรับขอมูลการสัมภาษณผูบริหารและเจาหนาที่ผูเกี่ยวของ พบวา ภายหลังการ
ไดรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน แลวกลุมผูประกอบการ กลุมวิสาหกิจชุมชนสามารถสรางงาน

จ า ก
สรางรายไดใหกับคนในชุมชนไดเพิ่มมากขึ้นอยางตอเนื่อง ทั้งนี้เนื่องจากผูบริโภค ประชาชนมี

ม า ว
้ 4
ความเชื่ อมั่ น ในการบริ โ ภคผลิ ตภั ณ ฑ ชุ ม ชนที่ ผา นการรั บ รองมาตรฐานผลิ ตภั ณ ฑ ชุม ชน ว า มี

a d แ ก 5 : 3
คุณภาพ ไมเปนอันตรายตอการบริโภค นอกจากนี้ผูประกอบการ กลุมวิสาหกิจชุมชนในจังหวัด
ln o นวล 21:2
ลําพูนสวนใหญใหความรวมมือจากเจาหนาที่รัฐเปนอยางดีในการใหขอมูล ขาวสาร เขารวมการ

w วิช 2
ประชุม สัมมนา และการอบรมใหความรูในเรื่องการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ ในการสรางสรรค
o
ี์น้ d ยกร /256
ผลิตภัณฑชุมชน ผูประกอบการ กลุมวิสาหกิจชุมชนนั้น สวนใหญใหความรวมมือในการคิด แสดง

ฟ ล
ไ ย นา 9/06
ความคิดเห็น ทั้งนี้เพราะอาชีพเสริมในการทําผลิตภัณฑชุมชนนั้นสามารถสรางรายไดจํานวนมาก
ใหกับคนในชุมชน ดังนั้นการรวมแรงรวมใจกันพัฒนาผลิตภัณฑชุมชนถือเปนสิ่งที่จะตองทําอยาง

โด 5.1.4ื่อปญ0หาและอุปสรรคในการดําเนินงานการขอรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน
ตอเนื่อง เพื่อใหผูบริโภคยอมรับ

เผูมประกอบการ/กลุมวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดลําพูน พบปญหาและอุปสรรคในการ
ดําเนินงานการขอรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ในดานการผลิต ไดแก วัตถุดิบในการผลิตมีไม
เพียงพอ ไมสามารถจัดเก็บไดนาน ขาดการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ และตนทุนการผลิตสูงขึ้น ดาน
การตลาด ไดแก การกําหนดราคาอยูที่พอคาคนกลาง ผูสงออก ผลิตภัณฑลนตลาด ขาดการสงเสริม
การขายในระดับตางประเทศ มีการตัดราคา และลอกเลียนแบบ ดานการบริหารจัดการ ไดแก ขาด
การรวมกลุมอุตสาหกรรม ไมสามารถผลิตไดตามใบสั่งซื้อ ดานบุคคล/แรงงาน ไดแก ขาดแคลน
แรงงานในพื้นที่ ขาดนักออกแบบผลิตภัณฑ บรรจุภัณฑ นักโภชนาการ ขาดเงินทุน ไดแก เงินทุน
79

จากสถาบันการเงินกูไดยาก มีขั้นตอนซับซอน อัตราดอกเบี้ยจากสถาบันการเงินสูง และดานอื่นๆ


ไดแก ขาดการประชาสัมพันธผลิตภัณฑ ขาดการใหความรูเกี่ยวกับการพัฒนารูปแบบ กระบวนการ
ผลิต และผลิตภัณฑใหม ๆ เปนตน
ป ญ หาและอุ ป สรรคในการการส ง เสริ ม การรั บ รองมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ ชุ ม ชนของ
สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดลําพูน พบวา สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดลําพูนประสบปญหาใน
การสงเสริมการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนในดานหนวยงานที่เกี่ยวของในระดับจังหวัด/
กรม/กระทรวง ยังขาดการบูรณาการทํางาน ขาดหนวยงานหลักในการตรวจสอบหรือทดสอบระดับ
. t h
go
พื้ น ที่ จั ง หวั ด บุ ค ลากรของสํ า นั ก งานอุ ต สาหกรรมจั ง หวั ด ลํ า พู น มี จํ า นวนไม เ พี ย งพอต อ การ

t.
ดําเนินการใหคําปรึกษาแนะนํา และเก็บตัวอยางผลิตภัณฑชุมชนเพื่อสงตรวจสอบ ประเมินผล
c
.nr
มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ขาดการประชาสัมพันธดานมาตรฐานผลิตภัณฑที่เพียงพอ และทั่วถึง

rd ic
5.1.5 ขอเสนอแนะสําหรับการพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน

า ก
ผูประกอบการ/กลุมวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดลําพูน มีขอเสนอแนะสําหรับการพัฒนา


มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนไววา ควรจัดใหมีผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบผลิตภัณฑ บรรจุภัณฑ
ม ว
้ 4
d ก : 3
กระบวนการผลิต นักโภชนาการมาใหความรูเกี่ยวกับการรักษาคุณภาพผลิตภัณฑ สนับสนุนใหมี
a แ 5
ln o นวล 21:2
การรวมกลุมวิสาหกิจชุมชน มีการประชาสัมพันธผลิตภัณฑชุมชนในหลากหลายชองทาง ภาครัฐที่
เกี่ยวของ และสถาบันการเงินควรใหการสนับสนุนดานแหลงทุนเงินกู อัตราดอกเบี้ยต่ํา
o w วิช 2
ี์น้ d ยกร /256
ผูบริหารและบุคลากรที่เกี่ยวของของสํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดลําพูน มีขอเสนแนะ
ไว ว า หน ว ยงานระดั บ กระทรวง กรม และจั งหวั ด ควรมี ก ารจั ด ทํ า แผนงานในด า นการพั ฒ นา

ฟ ล
ไ ย นา 9/06
มาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ ชุ ม ชนที่ ชั ด เจน เพื่ อ ให เ กิ ด การบู ร ณาการ และนํ า มาปฏิ บั ติ ไ ด อ ย า งมี
ประสิ ทธิภ าพมากขึ้ น จั ด ส ง เจาหนาที่ผู เ ชี่ย วชาญดา นการออกแบบผลิต ภัณ ฑ บรรจุภัณ ฑ นั ก
โด ื่อ 0
โภชนาการ มาสนับสนุนสํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดเพิ่มเติม มอบหมายใหมีหนวยงานเจาภาพ

เม
หลักในการดําเนินงานตรวจสอบ ประเมินผลคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน และสงเสริม และ
สนับสนุนการรวมกลุมตาง ๆ ตามรูปแบบCluster เพื่อใหกลุมวิสาหกิจที่ประกอบกิจการหรือผลิต
สินคาชนิดเดียวกัน เกิดการเชื่อมโยงกันในการใหขอมูลขาวสาร การกําหนดราคาที่เปนมาตรฐาน
เดียวกัน การชวยเหลือกันดานวัตถุดิบ การพัฒนาผลิตภัณฑ รูปแบบผลิตภัณฑ บรรจุภัณฑ การ
บริหารจัดการกลุมและการตลาด เปนตน
80

5.1.6 การทดสอบสมมติฐาน
สมมติฐานขอที่ 1 กลุมวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดลําพูน ประสบผลสําเร็จในระดับมาก
หลังจากไดรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน จากการทดสอบสมมติฐาน พบวา ไดรับการยอมรับ
สมมติฐานขอที่ 2 กลุมวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดลําพูนประสบผลสําเร็จแตกตางกันตาม
ประเภทของผลิตภัณฑภายหลังจากไดรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน จากการทดสอบสมมติฐาน
พบวา ไดรับการยอมรับ

. t h
สมมติฐานขอที่ 3 ผูประกอบการ/กลุมรัฐวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดลําพูนไดรับการรับ

go
การสนับสนุนชวยเหลือจากภาครัฐ และความรวมมือจากสมาชิกกลุมวิสาหกิจชุมชนอยางมาก จาก
การทดสอบสมมติฐาน พบวา ไดรับการยอมรับ
c t.
5.2 อภิปรายผล
rd ic .nr
หากมองยอนกลับไปในอดีต การบริหารจัดการ หรือสงเสริมอาชีพใหชุมชนของภาครัฐ

จ า ก
สวนใหญจะเปนการจัดทําโครงการจากสวนกลางลงไปใหแกพื้นที่ แตก็มีบางโครงการจะเปน

ม า ว
้ 4
รูปแบบของการใหงบประมาณเปนเม็ดเงินลงไปยังหมูบานตาง ๆ โดยใหชาวบานรวมกลุมกัน

a d แ ก 5 : 3
ขึ้นมา เขียนโครงการที่จะทําเพื่อนํามาเสนอของบประมาณไปลงทุน กลุมตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชน
ln o นวล 21:2
มักเปนไปในรูปแบบที่ตั้งแลวยกเลิกบอย ๆ ตามโครงการที่รัฐสงเสริม หรือบางกลุมอยูไดหลายป

w วิช 2
แตก็ขาดการพัฒนา ทั้งที่นาจะพัฒนามาเปนกลุมอาชีพหรือชุมชนที่เขมแข็งและยั่งยืน ซึ่งเปน
o
ี์น้ d ยกร /256
ประเด็นที่นาคิดอยางมากวาเพราะเหตุใด กลุมชุมชนเหลานั้นถึงไมมีความยั่งยืน ขณะเดียวกันตอง


ไ ย นา 9/06
ใหภาครัฐคอยแกไขและชวยเหลืออยูเนือง ๆ ทั้งที่ไดรับการชวยเหลือดานงบประมาณและสงเสริม

อาชีพจากภาครัฐมาเปนการเบื้องตนแลว นับเปนคําถามที่คางคาใจทั้งภาครัฐที่เกี่ยวของและชุมชน

โด ื่อ 0
มาตลอดเวลา

เม
จากปญหาดังกลาวจึงเกิดแนวทางการดําเนินงานตามแบบอยางวิสาหกิจชุมชนขึ้น โดย
วิสาหกิจชุมชนจะเนนใหชุมชนมีการคนหาศักยภาพของตนเองและพัฒนาศักยภาพไปสูการพึ่งพา
ตนเอง ทั้งในชุมชนและระหวางชุมชน พรอมพัฒนากระบวนการเรียนรูของชุมชนให สามารถ
จัดการตนเอง จัดการชุมชน ตลอดจนทรัพยากรที่มีอยูในชุมชน เพื่อสรางความเขมแข็งทาง
เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมในระดับชุมชนไดอยางยั่งยืนและมั่นคง กอนพัฒนาไปสูความ
เขมแข็งระดับสูงตอไป ซึ่งการรวมกลุมของคนในชุมชนในการประกอบการวิสาหกิจชุมชนเปน
เรื่องที่ชุมชนไดมีการทํากันมานานแลว แตเนื่องจากยังไมมีกฎหมายรองรับการรวมกลุมที่ชัดเจน จึง
มักเกิดปญหากับกลุมเมื่อจําเปนตองปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆ ที่ตองเกี่ยวของกับระเบียบ หรือขอ
กฎหมาย ในขณะเดียวกันชุมชนเองก็รูสึกวาไดรับการสงเสริมพัฒนาจากรัฐไมตรงตามความ
81

ตองการ เนื่องจากบางครั้งหนวยงานภาครัฐจะดําเนินงานจากปจจัยที่ตัวเองพรอมจะเขาไปให ซึ่ง


การทําลักษณะนี้ยังสงผลทําใหชุมชนและกลุมตาง ๆ ไมเขมแข็ง ยั่งยืน และสืบเนื่องจากนโยบาย
รัฐบาล ที่ตองการใหผลิตภัณฑชุมชนในโครงการหนึ่งตําบล หนึ่งผลิตภัณฑ มีมาตรฐานรองรับ
คุณภาพผลิตภัณฑ และพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑชุมชนใหไดรับการรับรองและแสดง
เครื่องหมายการรับรอง เพื่อสงเสริมดานการตลาดของผลิตภัณฑใหเปนที่ยอมรับอยางแพรหลาย
และสรางความมั่นใจใหกับผูบริโภคในการเลือกซื้อผลิตภัณฑชุมชน ทั้งในประเทศและตางประเทศ
จึงไดมอบหมายใหกระทรวงอุตสาหกรรม เปนผูกําหนดมาตรฐานและพิจารณาออกใบรับรอง
. t h
go
มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน เนนใหมีการพัฒนาอยางยั่งยืนในการแกไขปญหาความยากจนของ

t.
ชุมชน โดยมุงใหความสําคัญของการนําภูมิปญญาชาวบาน และทรัพยากรที่มีอยูในทองถิ่นมาพัฒนา
c
.nr
และสรางมูลคาของผลิตภัณฑใหสูงขึ้น มีคุณภาพ มีจุดเดน มีเอกลักษณ สรางชุมชนใหเขมแข็ง
พึ่งตนเองได สรางงาน สรางรายได
rd ic
การดํ า เนิ น งานขอรั บ รองมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ ชุ ม ชนในพื ้น ที ่จ ัง หวัด ลํ า พูน พบว า

จ า ก
ผูประกอบการ/กลุมวิสาหกิจชุมชนไดรับการสนับสนุน สงเสริม และชวยเหลือในดานตางๆ เปน

ม า ว
้ 4
อยางดี โดยหนวยงานราชการที่เกี่ยวของในพื้นที่ไดดําเนินการตรวจสอบสถานประกอบการผลิต

a d แ ก : 3
สินคาและเก็บตัวอยางจากสถานประกอบการสงตรวจสอบ เพื่อพิจารณาออกใบรับรองดําเนินไป
5
ln o นวล 21:2
อยางโปรงใส เจาหนาที่ผูใหบริการ เปนผูที่มีความรู ความสามารถ และสามารถดําเนินการไดอยาง

w วิช 2
รวดเร็ว มีการเขาไปกระตุน เพื่อใหผูประกอบการเกิดความสนใจและคิดที่จะยื่นของการรับรอง
o
ี์น้ d ยกร /256
มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ชี้แจงใหผูประกอบการทราบถึงขั้นตอนและวิธีการในการขอรับรอง


มาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ ชุ ม ชน สนั บ สนุ น ส ง ออกสิ น ค า ผลิ ต ภั ณ ฑ ชุ ม ชนไปยั ง ต า งจั ง หวั ด และ

ไ ย นา 9/06

ตางประเทศ การสนับสนุนการจัดงานแสดงสินคาผลิตภัณฑชุมชนทั้งในและตางประเทศ การสุม

โด ื่อ 0
ตรวจติดตามคุณภาพผลิตภัณฑภายหลังไดการรับรองเปนไปอยางเหมาะสม และการประชาสัมพันธ
ใหประชาชนและผูบริโภครูจักมาตรฐานคุณภาพผลิตภัณฑชุมชน
เม การดําเนินการสนับสนุน ชวยเหลือกลุมวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่จังหวัดลําพูนนั้น ทาง
สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดลําพูน ไดดําเนินการสงเสริม สนับสนุนการพัฒนาโดยการฝกอบรม
ใหความรู ความเขาใจพื้นฐานดานการพัฒนาเทคนิคการผลิต และพัฒนาผลิตภัณฑใหกับกลุม
วิสาหกิจชุมชน ออกสํารวจ จัดเก็บขอมูลของกลุมวิสาหกิจดานการผลิต ประสานงานและรวบรวม
ขอมูล ข าวสาร และสง เสริ มใหธุรกิจเอกชนเขามามีสวนรว มในการเผยแพรขอมูลสิน คา และ
มาตรฐานสินคาของกลุม และมีการตรวจสอบติดตามผลการประเมินมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน
อย า งต อ เนื่ อ งทุ ก ป ซึ่ ง ผลการดํ า เนิ น งานตรวจสอบมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ ชุ ม ชน พบว า สถาน
ประกอบการ กลุมวิสาหกิจชุมชนสวนใหญผานการตรวจสอบ ประเมินผล ทั้งนี้สถานประกอบการ
82

กลุมวิสาหกิจชุมชนตางใหความสําคัญในการควบคุม เอาใจใสในกระบวนการผลิตทุกขั้นตอนใหถูก
สุ ขลั กษณะ และมี คุ ณภาพตามที่ ตลาด และผู บริ โภคต องการ แต ขณะเดี ยวกั นการทํ างานของ
สวนราชการที่เกี่ยวของทั้งในระดับกระทรวง กรม และจังหวัดยังขาดการประสานงาน แลกเปลี่ยน
ขอมูลขาวสาร ขาดแคลนบุคลากรผูชํานาญการดานการพัฒนา ตรวจสอบคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ
ชุมชน และขาดการประชาสั มพั นธให กลุมผูผลิ ต ผูบริโภค และประชาชนทั่วไปได รับทราบถึ ง
ผลิตภัณฑที่ไดรับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนวามีคุณภาพ และประโยชนอยางไรบาง
ในดานความรวมมือ และความสามัคคีของสมาชิกกลุมวิสาหกิจชุมชน พบวา สมาชิกใน
. t h
go
กลุมของมีความจริงจังตอการพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑกลุมเพื่อใหไดรับการรับรอง รวมกัน

t.
กระจายสินคาไปขายตามพื้นที่ตางๆ ทั้งในจังหวัดและตางจังหวัด รวมจัดงานแสดงสินคาภายใน
c
.nr
จังหวัดและชุมชน รวมประชุม ปรึกษาหารือ เพื่อรวมกันคิด และสรางสรรคผลิตภัณฑรูปแบบ

rd ic
ใหม ๆ ขึ้นมาเกิดขึ้น และรวมสบทบเงินทุนในการประกอบกิจการ ทั้งนี้จะเห็นไดวา กลุมวิสาหกิจ
ชุมชนตางก็ใหความรวมมือเปนอยางดีในการรวมกันคิด แสดงความคิดเห็น และพัฒนารูปแบบ

จ า ก
คุ ณ ภาพผลิ ต ชุ ม ชนอย า งต อ เนื่ อ ง เพราะต า งก็ ต อ งการส ว นแบ ง ทางการตลาด อี ก ทั้ ง รู ป แบบ

ม า ว
้ 4
ผลิตภัณฑชุมชนจังหวัดลําพูน สวนใหญจะมีการลอกเลียนแบบ และมีชนิดของผลิตภัณฑชุมชนที่

a d แ ก : 3
เหมือนกันหลายกลุม ซึ่งแตละกลุมตางก็ตองการใหผลิตภัณฑของตนเองขายไดในจํานวนสูง มี
5
ln o นวล 21:2
คุณภาพเหนือกวาผลิตภัณฑกลุมอื่น ดังนั้นการที่ผลิตภัณฑของกลุมไดรับการรับรองมาตรฐาน

w วิช 2
ผลิ ต ภั ณ ฑ ชุ ม ชนก็ จ ะทํ า ให ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ข องกลุ ม เป น ที่ ย อมรั บ มากขึ้ น การรั ก ษามาตรฐานของ
o
ี์น้ d ยกร /256
ผลิ ต ภั ณ ฑ จึ ง จํ า เป น อย า งยิ่ ง ที่ จ ะต อ งมี ก ารดํ า เนิ น การอย า งเคร ง ครั ด ในกระบวนการผลิ ต เพื่ อ


ผลิตภัณฑของกลุมจะไดมีคุณภาพ

ไ ย นา 9/06
ฟ ปญหาดานความรวมมือ และความสามัคคีของสมาชิกกลุมวิสาหกิจชุมชนนั้น พบวา

โด ื่อ 0
สมาชิกกลุมสวนใหญเปนชาวบานทั่วไปในชุมชนยังขาดความรูในการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ
การบรรจุหีบหอผลิตภัณฑยังขาดความทันสมัย ขาดการรวมกลุม เครือขายวิสาหกิจชุมชนที่เปน
เม
เครือขายระดับจังหวัด เพื่อรวมกันกําหนดราคาผลิตภัณฑชุมชนที่เปนมาตรฐาน ชวยเหลือกันใน
ดานการตลาด วัตถุดิบ มีการลอกเลียนแบบผลิตภัณฑชุมชน และตัดราคา ซึ่งปญหาตางๆ เหลานี้
ผูศึกษาเห็นวา เปนเพราะในจังหวัดลําพูนนั้นยังขาดการรวมกลุมเครือขายวิสาหกิจชุมชนที่เปน
รูปธรรม ดังนั้น จึง ส งผลให ต า งกลุ มต างทํางาน ใครจะผลิตสิ น ค า อะไรก็ไ ด และกํา หนดราคา
อยางไรก็ไ ด มีผลให เกิดความขัดแยง มีก ารแขงขันกันสูง และตัดราคา ดังนั้น จําเป นอยางยิ่งที่
หนวยงานระดับจังหวัดจะตองมีการประสานงาน ชวยเหลือ และบูรณาการแผนงาน รวมกันจัดการ
ปญหาดังกลาว โดยการจัดตั้งเครือขายวิสาหกิจชุมชนขึ้น โดยมีการกําหนดมาตรการ กฎระเบียบ
83

ตาง ๆ ใหชัดเจน เพื่อกอใหเกิดการดําเนินงานที่เปนรูปแบบเดียวกัน เอื้อตอการพัฒนารูปแบบ


ผลิตภัณฑที่เปนมาตรฐาน รวมทั้งสงเสริมการจดทะเบียนลิขสิทธิ์ เพื่อปองกันการละเมิดทางปญญา
นอกจากปญหาดังกลาวเบื้องตน ผูประกอบการ กลุมวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดลําพูน ยัง
ประสบปญหาและอุปสรรคในการดําเนินงานการขอรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ในดานการ
ผลิต ไดแก วัตถุดิบในการผลิตมีไมเพียงพอ ไมสามารถจัดเก็บไดนาน ขาดการพัฒนารูปแบบ
ผลิตภัณฑ และตนทุนการผลิตสูงขึ้น ดานการตลาด ไดแก การกําหนดราคาอยูที่พอคาคนกลาง

. t h
ผลิตภัณฑลนตลาด ขาดการสงเสริมการขายในระดับตางประเทศ มีการตัดราคา และลอกเลียนแบบ

go
ดานการบริหารจัดการ ไดแก ขาดการรวมกลุมอุตสาหกรรม ไมสามารถผลิตไดตามใบสั่งซื้อ ดาน

t.
บุคคล/แรงงาน อาทิ ขาดแคลนแรงงานในพื้นที่ ขาดนักออกแบบผลิตภัณฑ บรรจุภัณฑนัก
c
.nr
โภชนาการ ดานเงินทุน ไดแก เงินทุนจากสถาบันการเงินกูไดยาก มีขั้นตอนซับซอน อัตราดอกเบี้ย

rd ic
จากสถาบันการเงินสูง และดานอื่นๆ ไดแก ขาดการประชาสัมพันธผลิตภัณฑ ขาดการใหความรู
เกี่ยวกับการพัฒนารูปแบบ กระบวนการผลิต และผลิตภัณฑใหม ๆ เปนตน สอดคลองกับผล

จ า ก
การศึกษาของ พรจิต สมบัติพาณิชยและคณะ (2547) พบวา โครงการหนึ่งตําบล หนึ่งผลิตภัณฑ

ม า ว
้ 4
พบปญหา คือระบบการผลิตไมทันสมัย ไมมีคุณภาพ ชองทางการจัดจําหนายไมเพียงพอ ผลิตภัณฑ

a d แ ก : 3
ยังไมไดมาตรฐาน บรรจุภัณฑยังไมเปนสากล ผลิตภัณฑไมมีความแตกตาง ผลิตภัณฑไมมีการจด
5
ln o นวล 21:2
ทะเบียนลิขสิทธิ์ และชองทางการจัดจําหนายมีจํานวนนอย

o w วิช 2
สําหรับผลการดําเนินงานหลังการไดรับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนพบวา

ี์น้ d ยกร /256


สามารถการสรางงานสรางรายไดใหกับประชาชนในระดับมาก เกิดความเขมแข็งของชุมชนและ


พึ่งตนเองของประชาชนในระดับมาก โดยผูประกอบการ กลุมวิสาหกิจชุมชนมีการตัดสินใจ และ

ไ ย นา 9/06

พัฒนาผลิตภัณฑรวมกันของกลุมตาง ๆ มีการใชภูมิปญญาทองถิ่นในการผลิตสินคา/ผลิตภัณฑ มี

โด ื่อ 0
พัฒนาผลิตภัณฑชุมชนที่เปนเอกลักษณของทองถิ่น เกิดการเรียนรูและจัดการผลิตภัณฑชุมชน
รวมกันของกลุมตาง ๆ มีการนําทรัพยากรภายในชุมชนมาใชเปนวัตถุดิบในการผลิตผลิตภัณฑ
เม
ชุมชน และดานคุณภาพของผลิตภัณฑ ผูประกอบการ กลุมวิสาหกิจชุมชนสามารถลดของเสียจาก
กระบวนการผลิตมีนอยลงได ผลิตภัณฑที่ผลิตมีชื่อเสียงเปนที่ยอมรับ มีความปลอดภัย เปนที่เชือ่ ถือ
และไววางใจของลูกคา สามารถพัฒนาผลิตภัณฑใหมีความสวยงาม เรียบรอย และขนาดเหมาะสม
กับความตองการของตลาด ผลิตภัณฑชุมชนสามารถสงขายในตลาดทั้งในและตางประเทศ ถือไดวา
ตั้งแตที่ภาครัฐไดมีนโยบายสงเสริมใหการผลิตสินคาที่เปนแบรนของชุมชนนั้น ทําใหประชาชน
เกิดการเรียนรูในการผลิตสินคาที่นําวัตถุดิบในชุมชนมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด จังหวัดลําพูน ซึ่ง
มีวัตถุดิบหลัก ซึ่งเปนพืชผลทางการเกษตรจํานวนมาก จึงเกิดผลิตภัณฑชุมชนที่หลายหลายประเภท
จํานวนมาก อาทิ ลําไย มีผลิตภัณฑที่มาจากลําไยหลายชนิด ไดแก ลําไยอบแหง น้ําดื่มสําเร็จรูป
84

ลําไย คุกกี้ลําไย สบูลําไย ไวนลําไย เปนตน สอดคลองกับผลการศึกษาของ จิตตใส แกวบุญเรือง


(2546) พบว า ผลการดํ า เนิ น งานในโครงการหนึ่ ง ตํ า บล หนึ่ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ ทํ า ให ชุ ม ชนหรื อ
ผูประกอบการที่เขารวมโครงการประสบความสําเร็จในลักษณะมีการดําเนินงานเปนกลุมมากขึ้น มี
การชวยเหลือสังคมและสงเสริมอาชีพสมาชิก มีการควบคุมตรวจสอบคุณภาพการผลิตสินคา และ
จํานวนปญหาของเสียจากระบวนการผลิตมีนอยลง
ดังนั้นผลจากการดําเนินงานรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน จึงกลาวไดวา สามารถเพิ่ม

. t h
คุณภาพผลิตภัณฑชุมชนของจังหวัดลําพูนใหมีคุณภาพ มีมูลคามากขึ้น สามารถสรางรายได สราง

go
งานใหกับคนในชุมชนเปนอยางดี

c t.
.nr
5.3 ขอเสนอแนะ

rd ic
5.3.1 ขอเสนอแนะสําหรับภาครัฐที่เกี่ยวของ
1. นโยบายภาครัฐในการสนับสนุนชุมชน ควรเปนไป อยางจริงใจและจริงจังโดย

จ า
ไมมีเจตนาและผลประโยชนแอบแฝงก
ม า ว
้ 4
2. ควรมีการบูรณาการแผนและงบประมาณที่เกี่ยวของกับการสนับสนุนวิสาหกิจ

a d แ ก 5 : 3
ชุมชน เพื่อลดความซ้ําซอน และเกิดการทํางานประสานเชื่อมโยงระหวางหนวยงานราชการที่
ln o นวล 21:2
เกี่ยวของในระดับกระทรวง กรม และจังหวัด

o w วิช 2
3. การให ค วามชว ยเหลื อในเรื่ อ งทุ น แกวิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนควรมี ก ารสํ า รวจความ

ี์น้ d ยกร /256


ตองการและมีการเตรียมความพรอมของวิสาหกิจชุมชนกอนที่จะมีการจัดหาเงินทุนอัตราดอกเบี้ย


ไ ย นา 9/06
ต่ําใหแกผูประกอบการ และกลุมวิสาหกิจชุมชน
ฟ 4. เน น การมี ส ว นร ว มกั บ ภาคเอกชนมากขึ้ น โดยเฉพาะการสร า งนั ก ออกแบบ

โด ื่อ 0
ผลิตภัณฑ บรรจุภัณฑรุนใหม การจัดงานแสดงสินคาระดับประเทศ และตางประเทศ

เม
5. ส ง เสริ ม ให มีก ารจัด ทํ า ระบบฐานข อมู ล ทั้ ง ทางด า นการผลิ ต การค า บริ ก าร
การตลาด เทคโนโลยีระดับจังหวัด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใหการดําเนินงานของผูประกอบการ กลุม
วิสาหกิจชุมชน
6. สงเสริมใหมีการนําเทคโนโลยีดานสื่ออิเล็กทรอนิกสมาใชเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
การผลิต การบริหารจัดการและการตลาด
7. สงเสริมใหมีการสรางเครือขายของกลุมวิสาหกิจชุมชนในระดับจังหวัด เพื่อให
เกิ ด ความเชื่ อ มโยงระหว า งกลุ ม ผู ผ ลิ ต และวิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน ทั้ ง ในระดั บ ชุ ม ชน ระดั บ จั ง หวั ด
ระดับประเทศ จนถึงระดับตางประเทศ
85

8. ผลักดันการจัดตั้งศูนยกระจายสินคาในทุกระดับ โดยอาศัยความรวมมือภาครัฐ
เอกชน และชุมชน
9. จัดใหมีนักวิชาการออกแบบผลิตภัณฑบรรจุภัณฑ นักโภชนาการสนับสนุน
สํ า นั ก งานอุ ต สาหกรรม เพื่ อ ปฏิ บั ติ ห น า ที่ ใ นการดํ า เนิ น งานพั ฒ นารู ป แบบผลิ ต ภั ณ ฑ ชุ ม ชน
ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ เปนตน
5.3.2 ขอเสนอแนะสําหรับผูประกอบการ กลุมวิสาหกิจชุมชน

. t h
1. ควรใหความสําคัญในกระบวนการผลิตทุกขั้นตอน เพื่อรักษาคุณภาพผลิตภัณฑ

go
ชุมชน ใหเปนที่ยอมรับของผูบริโภค

t.
2. ควรมีการถายทอดความรู ภูมิปญญาทองถิ่นในการผลิตสินคาชุมชนใหแกคนใน
c
.nr
ชุมชนอยางตอเนื่อง เพื่อสานตอความรูในการผลิตสินคาชุมชนใหอยูตอไป

rd ic
3. ควรมีการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑชุมชนที่เปนเอกลักษณเฉพาะกลุม/ชุมชนที่
เปนของตนเอง โดยไมลอกเลียนแบบผลิตภัณฑจากกลุม/ชุมชนอื่น และมีการจดทะเบียนสิขสิทธิ์

จ า ก
ผลิตภัณฑที่ไดคิดคน ริเริ่มขึ้นมา

ม า ว
้ 4
4. การกําหนดราคาผลิตภัณฑชุมชนที่เปนกลาง และไมตัดราคาผลิตภัณฑชุมชนอื่น

a d แ ก 5 : 3
5. ควรให ค วามสําคั ญในการรวมกลุ ม และเชื่ อ มโยงกลุม วิสาหกิจ เพื่ อรว มกั น
ln o นวล 21:2
กําหนดราคา ชวยเหลือกันดานการตลาด วัตถุดิบ การบริหารจัดการและการตอรองราคากับพอคา
คนกลาง
o w วิช 2
ี์น้ d ยกร /256

ไ ย นา 9/06

โด ื่อ 0
เม

You might also like