Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 35

บทที่ 4

ผลการศึกษา

การศึกษาเรื่อง การประเมินผลการดําเนินกิจการของวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดลําพูนที่

. t h
ไดรับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ผูศึกษากําหนดระเบียบวิธีวิจัยเปนการศึกษาเชิงปริมาณ

go
ผสมเชิงคุณภาพ โดยใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูลจากกลุมวิสาหกิจ

t.
ชุมชนไดรับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน จํานวน 277 ราย ซึ่งผูศึกษาไดรับแบบสอบถาม
c
.nr
กลับคืนมา 255 ชุด คิดเปนรอยละ 92.1 และแบบสัมภาษณเก็บขอมูลจากผูบริหารและเจาหนาที่

rd ic
ผูปฏิบัติงานดานการสงเสริมการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนของสํานักงานอุตสาหกรรม
จังหวัดลําพูน จํานวน 3 คน ขอมูลที่เ ก็บรวบรวมไดจากแบบสอบถามทั้งหมด ผูศึก ษาวิเ คราะห

จ า ก
ขอ มูล โดยใช โปรแกรมสําเร็จรูป SPSS for Windows สถิติที่ใช ไดแก การแจกแจงความถี่ คา

ม า 3
รอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะหความแปรปรวน (Analysis of Variance –


a d แ ก : 3
ANOVA) คา LSD และสถิติที (T-Test) และขอมูลจากแบบสัมภาษณ นํามาวิเคราะหโดยการ
5
ln o นวล 21:2
พรรณนา บรรยาย สรุปเปนประเด็น ผลการศึกษานําเสนอดังนี้

o w วิช 2
4.1 ขอมูลจากการสอบถามที่เปนผูประกอบการ/เจาของกิจการ

ี์น้ d ยกร /256


4.1.1 ขอมูลทั่วไปของกลุมวิสาหกิจชุมชน จังหวัดลําพูน


ไ ย นา 9/06

4.1.2 การไดรับการสงเสริมสนับสนุนจากหนวยงานรัฐ และความรวมมือ ความ
สามัคคีจากสมาชิกกลุม

โด ื่อ 0 4.1.3 ผลการดําเนินงานหลังการไดรับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน


4.1.4 ปญ หาและอุ ป สรรคในการดํา เนิ น งานการขอรั บ รองมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ
ชุมชน เม 4.1.5 ขอเสนอแนะสําหรับการพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน
4.2 ขอมูลจากการสัมภาษณสําหรับผูบริหารและเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานดานการสงเสริม
การรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนของสํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดลําพูน
4.2.1 ขอมูลทั่วไปของผูใหสัมภาษณ
4.2.2 การดําเนินงานสงเสริมการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนของสํานักงาน
อุตสาหกรรมจังหวัดลําพูน
4.2.3 ผลการดําเนินงานหลังจากการไดรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน
41

4.2.4 ปญหาและอุปสรรคในการการสงเสริมการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน
ของสํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดลําพูน
4.2.5 ขอเสนอแนะสําหรับการพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน
4.3 การทดสอบสมมติฐาน

4.1 ขอมูลจากการสอบถามที่เปนผูประกอบการ/เจาของกิจการ
4.1.1 ขอมูลทั่วไปของกลุมวิสาหกิจชุมชน จังหวัดลําพูน
. t h
go
ขอมูลทั่วไปของกลุมวิสาหกิจชุมชน จังหวัดลําพูน วิเคราะหโดยใชการแจกแจงความถี่
คารอยละ คาเฉลี่ย ประกอบการบรรยายเปนตาราง ดังนี้
c t.
ตาราง 4.1 จํานวน และรอยละของผูประกอบการวิสาหกิ.จn
r
r ic ชุมชน จําแนกตามเพศ

จําd
เพศ
จ า ก นวน รอยละ
ชาย
ม า ้ว195 3 60 23.5
หญิง
a d แ ก 5 : 3 76.5
รวม
l o ว ล 255
:2 100.0
1มวิสาหกิจชุมชนสวนใหญเปนเพศหญิง รอยละ
n4.1 พบวิชา ผูนประกอบการ/กลุ
w
จากตาราง
o 2
ี์น้ ยกรว /2562
d
76.5 และเพศชาย รอยละ 23.5

ฟ ล
ไ 4.2ยจํานนวนา และร9อ/ยละของผู
ตาราง
06 ประกอบการวิสาหกิจชุมชน จําแนกตามอายุ
โ25ด– 35 ปอายุื่อ 0 จํานวน รอยละ

เ ม
36 – 45 ป
15
90
5.9
35.3
46 – 55 ป 132 51.8
56 – 65 ป 14 5.5
มากกวา 65 ป 4 1.6
รวม 255 100.0
42

จากตาราง 4.2 พบวา ผูประกอบการ/กลุมวิสาหกิจชุมชนสวนใหญมีอายุระหวาง 46 – 55


ป รอยละ 51.8 รองลงมาคือ มีอายุระหวาง 36 – 45 ป รอยละ 35.3 มีอายุระหวาง 25 – 35 ป รอยละ
5.9 มีอายุระหวาง 56 – 65 ป รอยละ 5.5 และมีอายุมากกวา 65 ป รอยละ 1.6

ตาราง 4.3 จํานวน และรอยละของผูประกอบการวิสาหกิจชุมชน จําแนกตามระดับการศึกษา

ระดับการศึกษา จํานวน รอยละ


ประถมศึกษา/เทียบเทา 70
. t h 27.5
มัธยมศึกษาตอนตน/เทียบเทา
c .
24
t go 9.4

.nr
มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช./เทียบเทา 56 22.0

rd ic
อนุปริญญา/ปวส./เทียบเทา 47 18.4
ปริญญาตรี 58 22.7
รวม
จ า ก 255 100.0

จากตาราง 4.3 พบวา ผูปา


d ม ก ว

ระกอบการ/กลุ
3
มวิสาหกิจชุมชนสวนใหญจบการศึกษาระดับ
: 3
ประถมศึกษา/เทียบเทา รอยละ
l o a แ
27.5 ปริญญาตรี
ยบเทลา รอยละ 18.4
ว : 2 5
รอยละ 22.7 มั ธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช./เทียบเทา

w n ิช น 21
รอยละ 22.0 อนุปริญญา/ปวส./เที และมั ธยมศึกษาตอนปลาย/เทียบเทา รอยละ
9.4

้ ี d o ร ว 5 6 2
ตาราง์น4.4 จํานวนยและร
ล ก / 2
ไฟกิจการ ย นา 9/06
อยละของผู ประกอบการวิสาหกิจชุมชน จําแนกตามระยะเวลาที่ประกอบ

โต่ดํากวา 5 ป่ปื่อระกอบกิ
ระยะเวลาที 0 จการ จํานวน รอยละ

5 – 10 ป
เ ม 39
117
15.3
45.9
11 – 15 ป 51 20.0
16 – 20 ป 37 14.5
มากกวา 20 ป 11 4.3
รวม 255 100.0
43

จากตาราง 4.4 พบวา ผูประกอบการ/กลุมวิสาหกิจชุมชนสวนใหญประกอบกิจการมา


เปนระยะเวลาระหวาง 5 – 10 ป รอยละ 45.9 รองลงมาคือ ระหวาง 11 – 15 ป รอยละ 20.0 ต่ํากวา 5
ป รอยละ 15.3 ระหวาง 16 – 20 ป รอยละ 14.5 และมากกวา 20 ป รอยละ 4.3

ตาราง 4.5 จํานวน และรอยละของผูประกอบการวิสาหกิจชุมชน จําแนกตามปที่ไดรับรองมาตรฐาน


ผลิตภัณฑชุมชน

ปที่ไดรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน จํานวน

g .o th รอยละ
พ.ศ. 2546
c t.2 0.8
พ.ศ. 2547
r 27 10.6
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
dci .n
r
111
48
43.5
18.8
พ.ศ. 2550
จ า ก 67 26.3
รวม
ม า ว

255
3
100.0

a
จากตาราง 4.5 พบว d า ผู
แ ก
ประกอบการ/กลุ
2548 รอยละ ล
: 3
อ5พ.ศ. 2550 รอยละ 26.3 พ.ศ. 2549 รอยละ
มวิสาหกิ จ ชุมชนสวนใหญไดรับรองมาตรฐาน

n
ผลิตภัณฑชุมชน ป พ.ศ. l o น : 2
ว2546 รอ2ยละ10.8
43.5 รองลงมาคื

o w วิช 2
18.8 พ.ศ. 2547 รอยละ 10.6 และพ.ศ.

้ ี d ก ร
ตาราง์น4.6 จํานวนยและรอยละของผู 2 5 6

ไฟการขอรับยการรันบารองมาตรฐานผลิ
0 6 / ประกอบการวิสาหกิจชุมชน จําแนกตามรับทราบขาวเกี่ยวกับ

9 / ตชุมชน
ด าวเกีื่อ่ยวกั0บการขอรับใบรับรองมาตรฐานผลิตชุมชน จํานวน รอยละ
รับโทราบข
เม ประชาสัมพันธของสํานักงานมาตรฐาน
1. การเผยแพร
ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม
36 14.1

2. ไดรับทราบจากคณะกรรมการอํานวยการหนึ่งตําบล 94 36.9
หนึ่งผลิตภัณฑแหงชาติ
3. จากสื่อมวลชน เชน วิทยุ โทรทัศน หนังสือพิมพ 32 12.5
4. จากเพื่อน คนรูจักในพื้นที่/ชุมชน/หมูบาน 59 23.1
5. อื่น ๆ ไดแก อินเตอรเน็ต 34 13.3
รวม 255 100.0
44

จากตาราง 4.6 พบว า ผู ป ระกอบการ/กลุ มวิสาหกิ จ ชุ ม ชนส ว นใหญไ ด รับ ทราบจาก
คณะกรรมการอํานวยการหนึ่งตําบล หนึ่งผลิตภัณฑแหงชาติ รอยละ 36.9 จากเพื่อน คนรูจักใน
พื้นที่/ชุมชน/หมูบาน รอยละ 23.1 การเผยแพรประชาสัมพันธของสํานักงานมาตรฐาน
ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม รอยละ 14.1 อินเตอรเน็ต รอยละ 13.3 และจากสื่อมวลชน เชน วิทยุ
โทรทัศน หนังสือพิมพ รอยละ 12.5

. t h
ตาราง 4.7 จํานวน และรอยละของผูประกอบการวิสาหกิจชุมชน จําแนกตามประเภทของกิจการที่

go
ไดรับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน

c t.
.nr
ประเภทของกิจการที่ไดรับการรับรอง
จํานวน รอยละ

rd ic
มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน
1. อาหาร 30 11.8
2. เครื่องดื่ม
จ า ก 24 9.4
3. ผาและเครื่องแตงกาย
ม า ว
้ 3
87 34.1
4. สมุนไพรที่ไมใชอาหารและยา
a d แ ก 5 : 3 36 14.1
5.
ln o นวล 21:2
เครื่องใช เครื่องประดับตกแตง ศิลปะและของที่ระลึก 78 30.6

o w 4.7 วพบวิช า ผูประกอบการ/กลุ


รวม
2
255 100.0

้ ี d จากตาราง
ไดรับ์นการรับรองมาตรฐานผลิ ก ร 2 5 6 มวิสาหกิจชุมชนสวนใหญประกอบกิจการที่

ล ย ต
/
า บตกแต06ง ศิลปะและของที่ระลึก รอยละ 30.6 สมุนไพรที่ไมใชอาหารและยา
ภั ณ ฑชุมชน คือ ผาและเครื่องแตงกาย รอยละ 34.1 รองลงมาคือ
ไฟรเครือยละ่องใช14.1ยเครืนอาหาร
่องประดั
/
รอ9ยละ
ดโ ื่อ 0 11.8 และเครื่องดื่ม รอยละ 9.4
ตาราง 4.8 เจํม านวน และรอยละของผูประกอบการวิสาหกิจชุมชน จําแนกตามตลาดสงออกผลิตภัณฑ
ในกิจการที่ผลิต

ตลาดสงออกผลิตภัณฑในกิจการที่ผลิต จํานวน รอยละ


ภายในจังหวัด/ชุมชนเทานั้น 105 41.2
ตางจังหวัด ไดแก เชียงใหม กรุงเทพฯ ชลบุรี ภูเก็ต ระยอง เชียงราย 131 51.4
ตางประเทศ ไดแก จีน ญี่ปุน เยอรมัน 19 7.5
รวม 255 100.0
45

จากตาราง 4.8 พบว า ผู ป ระกอบการ/กลุ ม วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนส ว นใหญ มี ต ลาดส ง ออก
ผลิตภัณฑในกิจการที่ผลิต คือ ตางจังหวัด ไดแก เชียงใหม กรุงเทพฯ ชลบุรี ภูเก็ต ระยอง เชียงราย
รอยละ 51.4 รองลงมาคือ ภายในจังหวัด/ชุมชนเทานั้น รอยละ 41.2 และตางประเทศ ไดแก จีน
ญี่ปุน เยอรมัน รอยละ 7.5

ตาราง 4.9 จํานวน และรอยละของผูประกอบการวิสาหกิจชุมชน จําแนกตามจํานวนสมาชิกในกลุม/


กิจการ

จํานวน o . t h
จํานวนสมาชิกในกลุม/กิจการ
122t.
c g รอยละ
ต่ํากวา 10 คน
r
.n 107
47.9

rd ic
10 – 30 คน 42.0
31 – 60 คน 24 9.4
61 – 90 คน
จ า ก 2 0.8


ต่ําสุด 5 คน สูงสุด 89 คน เฉลี่ย 20 คน
ม ว
้ 3
รวม
a d แ ก 5 : 3 255 100.0

o
จากตาราง l4.9
ว ล 1 ม2วิสาหกิจชุมชนสวนใหญมีจํานวนสมาชิกใน
:
กลุม/กิจการ ต่ํากวาn10 คน รอยละน47.9 รองลงมาคื
พบวา ผูประกอบการ/กลุ

– 60 คน รdอยละ o w ว ช
ิ าง 61 –6
2 อ ระหวาง 10 – 30 คน รอยละ 42.0 ระหวาง 31
902คน รอยละ 0.8 โดยผูประกอบการ/กลุมวิสาหกิจชุมชน
้ ี
์ลน มีจํานวนสมาชิ ร
9.4 และระหว
ย ก 2 5
สวนใหญ ก ในกลุ
/
ไฟตาราง 4.10ย นจําานวน9และร/0อ6ยละของผูประกอบการวิสาหกิจชุมชน จําแนกตามสถานะของ

 /กิ จ การต่ําสุด 5 คน สูงสุด 89 คน เฉลี่ย 20 คน

โด ื่อจการ0
ผูประกอบกอบกิ
ม ป ระกอบกอบกิจการ
เสถานะของผู จํานวน รอยละ
บุคคลธรรมดา 115 45.1
จดทะเบียนธุรกิจ 126 49.4
เขาขายโรงงานตาม พ.ร.บ.โรงงาน พ.ศ. 2535 6 2.4
ไดรับการสงเสริมการลงทุน 8 3.2
รวม 255 100.0
46

จากตาราง 4.10 พบว า ผู ป ระกอบการ/กลุ ม วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนส ว นใหญ มี ส ถานะของ


การประกอบกิจการเปนจดทะเบียนธุรกิจ รอยละ 49.4 รองลงมาคือ บุคคลธรรมดา รอยละ 45.1
ไดรับการสงเสริมการลงทุน รอยละ 3.2 เขาขายโรงงานตาม พ.ร.บ.โรงงาน พ.ศ. 2535 รอยละ 2.4

ตาราง 4.11 จํานวน และรอยละของผูประกอบการวิสาหกิจชุมชน จําแนกตามจํานวนเงินการลงทุน


แรกเริ่มประกอบการ

จํานวนเงินการลงทุนแรกเริ่มประกอบการ จํานวน

g .o th รอยละ
ต่ํากวา 50,000 บาท 32
c t. 12.5
50,000 – 200,000 บาท
r
183 71.8
200,001 – 400,000 บาท
400,001 – 600,000 บาท ci .n
d r
29
8
11.4
3.1
600,001 – 800,000 บาท
จ า ก 1 0.4
800,001 – 1,000,000 บาท
ม า ว

1
3
0.4
มากกวา 1,000,000 บาท
a d แ ก 1
5 : 3 0.4

ln o นวล 21:2
ต่ําสุด 5,000 บาท สูงสุด 5,000,000 บาท คน เฉลี่ย 148,617.6 บาท

o w
รวม

ว ช
ิ 2
255 100.0

้ ี d จากตาราง
แรกเริ์น่มประกอบการระหว ก ร
4.11 พบว
5 6
า ผูประกอบการ/กลุ
2
มวิสาหกิจชุมชนสวนใหญมีเงินการลงทุน
ล ย
นระหวาางา600,001 6 /
าง 50,000 – 200,000 บาท รอยละ 71.8 รองลงมาคือ ต่ํากวา 50,000 บาท
ไฟรรออยละยละ 12.53.1ย ระหว / 0
ง 200,001 – 400,000 บาท รอยละ 11.4 ระหวาง 400,001 – 600,000 บาท
9 – 800,000 บาท, 800,001 – 1,000,000 บาท และมากกวา 1,000,000
โ ด
บาท เทากัน คือื่อรอยละ 0.4
0
เม
47

ตาราง 4.12 จํานวน และรอยละของผูประกอบการวิสาหกิจชุมชน จําแนกตามแหลงเงินทุนในการ


ประกอบการ

แหลงเงินทุนในการประกอบการ จํานวน รอยละ


รวมทุนกับหุนสวน 20 7.8
กูเงินจากสถาบันการเงิน เชน ธนาคาร 94 36.9
กูเงินจากกองทุนหมูบาน 2 0.8
รวบรวมเงินจากสมาชิกกลุม
. t h
64 25.1
กูเงินจากแหลงเงินกูนอกระบบ เชน บริษทั หาง ราน ญาติ

c t. go 24 9.4

.nr
พี่นอง เปนตน

rd ic
กองทุน SME 51 20.0
รวม 255 100.0

จ า ก
จากตาราง 4.12 พบวา ผูประกอบการ/กลุมวิสาหกิจชุมชนสวนใหญกูเงินจากสถาบัน

ม า ว
้ 3
การเงิน เชน ธนาคาร รอยละ 36.9 รองลงมาคือ รวบรวมเงินจากสมาชิกกลุม รอยละ 25.1 กองทุน

a d แ ก 5 : 3
SME รอยละ 20.0 กูเงินจากแหลงเงินกูนอกระบบ เชน บริษัท หาง ราน ญาติ รอยละ 9.4 และกูเงิน
จากกองทุนหมูบาน รอยละ 0.8ln o นวล 21:2
o w และรอวยละของผู

ิ ป6 2
ตาราง 4.13
ผลิตภั์นณฑ
้ ี d จํ า นวน
ก ร 2 5 ระกอบการวิ สาหกิจชุมชน จําแนกตามชองทางการจําหนาย

ฟ ล า ย 6 /
ไ ยชอนงทางการจํ9า/หน0ายผลิตภัณฑ
โจํมีดารหนานจํายโดยเจ
จํานวน รอยละ
า0
หนื่อายของตนเอง/กลุม
ของกิจการ 73 28.6
าม

มีตัวแทนจําหนายมารับไปขาย
80
102
31.4
40.0
รวม 255 100.0

จากตาราง 4.13 พบว า ผู ป ระกอบการ/กลุม วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนส ว นใหญ มี ช อ งทางการ


จําหนายผลิตภัณฑ โดยมีตัวแทนจําหนายมารับไปขาย รอยละ 40.0 มีรานจําหนายของตนเอง/กลุม
รอยละ 31.4 และจําหนายโดยเจาของกิจการ รอยละ 28.6
48

4.1.2 การไดรับการสงเสริมสนับสนุนจากหนวยงานรัฐ และความรวมมือ ความสามัคคี


จากสมาชิกกลุม
การไดรับการสงเสริมสนับสนุนจากหนวยงานรัฐ และความรวมมือ ความสามัคคีจาก
สมาชิกกลุม ผูศึกษาไดกําหนดเกณฑการใหคะแนนออกเปน 5 ระดับ คือ บอยมาก คอนขางบอย
พอสมควร นาน ๆ ครั้ง ไมไดรับ/ไมมี ใหคะแนนเปน 5 4 3 2 และ 1 โดยกําหนดระดับการแปลผล
ปจจัยการดําเนินงานขอรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ดังนี้
คะแนนเฉลี่ย การแปลผล
. t h
ระหวาง 1.00 – 1.80

c t. go
ไมไดรับ/ไมมีการดําเนินการ/ไมไดรับการสนับสนุน

.nr
ระหวาง 1.81 – 2.60 มีการดําเนินการนาน ๆ ครั้ง/ไดรับการสนับสนุนนอย
ระหวาง 2.61 – 3.40 มีการดําเนินการพอสมควร/ไดรับการสนับสนุนปานกลาง
ระหวาง 3.41 – 4.20 rd ic
มีการดําเนินการคอนขางบอย/ไดรับการสนับสนุนคอนขางมาก
ระหวาง 4.21 – 5.00
า ก
มีการดําเนินการบอยมาก/ไดรับการสนับสนุนอยางมาก

ตาราง 4.14 จํานวน รอยละ คาเฉลี่ยาและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานการไดรับการสงเสริมสนับสนุน
d ม ก ว
้ : 3 3
จากหนวยงานรัฐ
a แ
ln o นวล 2ระดั1:บ2การดําเนินงาน5
การสนับo
w ิช 2
สนุน สงเสริมวจาก
ี์น้ หนdวยงานราชการ
ก ร 5
บอยมาก
2 6 คอน พอ นาน ๆ ไมไดรับ
S.D. แปลผล
ล า ย /
ขางบอย สมควร ครั้ง /ไมมี x

ไฟ ย น 9/06 จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน


(รอยละ) (รอยละ) (รอยละ) (รอยละ) (รอยละ)
1. มีโกด
ารชี้แจงใหผูป0
ระกอบการ
ืเ ่อ ธีการในการ 37 195 10 13 - 4.00 .62 คอนขาง

ทราบถึงขั้นตอนและวิ
ขอรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ (14.5) (76.5) (3.9) (5.1) บอย
ชุมชน
2. มีการเขาไปกระตุน เพื่อให
ผูประกอบการเกิดความสนใจและ 135 106 4 10
- 4.43 .71 บอยมาก
คิดที่จะยื่นของการรับรอง (52.9) (41.6) (1.6) (3.9)
มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน
49

ตาราง 4.14 (ตอ)

ระดับการดําเนินงาน
การสนับสนุน สงเสริมจาก คอน พอ นาน ๆ ไมไดรับ
บอยมาก
ขางบอย สมควร ครั้ง /ไมมี x S.D. แปลผล
หนวยงานราชการ
จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน
(รอยละ) (รอยละ) (รอยละ) (รอยละ) (รอยละ)
3. การใหความรู ความเขาใจ
. t h
10go
เกี่ยวกับการปรับตัวของกิจการโดย
การฝกอบรมและใหคําปรึกษา . -
(31.0) (51.8) (13.3) ct(3.9)
79 132 34
4.09 .76
คอนขาง

แนะนําแกวิสาหกิจชุมชนที่
. n r บอย

ตองการขอรับการรับรอง
rd ic
4. การประชาสัมพันธใหประชาชน
จ ก
17า 62 157 19
ม า
และผูบริโภครูจักมาตรฐาน
คุณภาพผลิตภัณฑชุมชน และ(6.7)


(24.3) (61.6)
3(7.5)
- 3.30 .70
พอ
สมควร
a d แ ก 5 : 3
ln o นวล 21:2
ประโยชนที่จะไดรับ
5. สงเสริมผูประกอบการ โดยการ

o w วิช 412 168 24 22 -


เขาไปชวยสอน แนะนําใหพฒ ั นา
ี์น้ d ยกร /25(16.1)
คุณภาพของผลิตภัณฑที่ผลิต6 (65.9) (9.4) (8.6) 3.89 .76
คอนขาง

ฟ ล
ไ ย นา 9/06
เพื่อใหมีคณ
ุ ภาพ และมีโอกาส
ไดรับการรับรอง
บอย

โด ื่อ 0
6. สงเสริมดานการตลาดของ

เม
ผลิตภัณฑใหเปนที่ยอมรับอยาง
แพรหลาย และสรางความมัน่ ใจ
43 157 28 27
- 3.84 .82
คอนขาง
ใหกับผูบริโภคในการเลือกซื้อ (16.9) (61.6) (11.0) (10.6) บอย
ผลิตภัณฑชุมชน ทั้งในประเทศ
และตางประเทศ
50

ตาราง 4.14 (ตอ)

ระดับการดําเนินงาน
การสนับสนุน สงเสริมจาก คอน พอ นาน ๆ ไมไดรับ
บอยมาก
ขางบอย สมควร ครั้ง /ไมมี x S.D. แปลผล
หนวยงานราชการ
จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน
(รอยละ) (รอยละ) (รอยละ) (รอยละ) (รอยละ)
7. สงเสริมสนับสนุนใหวิสาหกิจ
. t h
ชุมชนที่ยังไมพรอมในการ
ดําเนินการตามขอกําหนดขอ 20 197 20 18
c t. go คอนขาง

.ic nr
- 3.85 .64
มาตรฐานใหมคี วามรูเรื่อง (7.8) (77.3) (7.8) (7.1) บอย
มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน โดยการ
d r
ใหคําปรึกษา แนะนํา
จ า ก
8. การตรวจสอบสถาน
ม า
ประกอบการผลิตสินคาและเก็บ
178 ้ว58 19 3
a d แ ก (22.7) 5
: 3 -
ln o นวล 21:2
ตัวอยางจากสถานประกอบการสง - 4.62 .62 บอยมาก
(69.8) (7.5)
ตรวจสอบ เพือ่ พิจารณาออก

ow วิช 2
ใบรับรองดําเนินไปอยางโปรงใส
ี์น้ d ยกร /25611 127 127 17
9. การสุมตรวจติดตามคุณภาพ

ฟ ล
ไ ย 9/0 น า
เปนไปอยางเหมาะสม 6
ผลิตภัณฑภายหลังไดการรับรอง
(4.3) (49.8) (39.2) (6.7)
- 3.51 .68
คอนขาง
บอย

โด ื่อ 0
10. เจาหนาทีผ่ ูใหบริการ เปนผูที่มี
156 74 25
มเ
ความรู ความสามารถ และสามารถ
ดําเนินการไดอยางรวดเร็ว
(61.2) (29.0) (9.8)
- - 4.51 .66 บอยมาก

11. การชี้แจงขั้นตอน กระบวนการ


90 60 91 11 3 คอนขาง
ขอการรับรองที่มีความยุงยาก 3.87 .98
(35.3) (23.5) (35.7) (4.3) (1.2) บอย
ซับซอน
12. การสนับสนุนการจัดงานแสดง
สินคาผลิตภัณฑชุมชนทั้งในและ 98 51 68 26 12 คอนขาง
3.77 1.19
ตางประเทศ เพื่อใหผูประกอบการ (38.4) (20.0) (26.7) (10.2) (4.7) บอย
มีโอกาสไดเผยแพรสินคา
51

ตาราง 4.14 (ตอ)

ระดับการดําเนินงาน
การสนับสนุน สงเสริมจาก คอน พอ นาน ๆ ไมไดรับ
บอยมาก
ขางบอย สมควร ครั้ง /ไมมี x S.D. แปลผล
หนวยงานราชการ
จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน
(รอยละ) (รอยละ) (รอยละ) (รอยละ) (รอยละ)
13. การใหการสนับสนุนสงออก
121 58 36 16 24
. t h คอนขาง
สินคาผลิตภัณฑชุมชนไปยัง
ตางจังหวัด และตางประเทศ
c t.
(47.5) (22.7) (14.1) (6.3) (9.4) go
3.92 1.30
บอย

14. การใหการสนับสนุน
งบประมาณดําเนินกิจการวิสาหกิจ 27 166 39
rd ic .nr
23
- 3.77 .75
คอนขาง

จ า ก
ชุมชน เพื่อใหมีโอกาสผลิตสินคาที่ (10.6) (65.1) (15.3) (9.0) บอย
สอดคลองกับตลาด
15. มีการสนับสนุนนักวิชาการ ม า ว
้ 3
a d แ ก 5 : 3
ln o นวล 21:2
บุคลากรผูเชี่ยวชาญมาใหความรูใน 23 161 63 8 คอนขาง
- 3.78 .64
การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑใหได (9.0) (63.1) (24.7) (3.1) บอย
มาตรฐาน
o w วิช 2
ี์น้ d ยกร /256 คอนขาง

ไ ย นา 9/06

รวม 3.94 .43
บอย

โ ด จากตาราง 0 4.14 พบว า การดํ า เนิ น งานขอรั บ รองมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ ชุ ม ชนของ


ืเ ่อ มวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดลําพูนไดรับการสนับสนุน สงเสริมจากหนวยงาน

ผูประกอบการ/กลุ
ราชการในภาพรวมไดรับการสนับสนุน สงเสริม และชวยเหลือในดานตางๆ ในระดับคอนขางมาก
มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.94 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.43
เมื่ อ พิ จ ารณาแต ล ะประเด็ น พบว า ผู ป ระกอบการ/กลุ ม วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนได รั บ ความ
ชวยเหลือ สนับสนุนจากหนวยงานรัฐอยางมากในดาน
- การตรวจสอบสถานประกอบการผลิตสินคาและเก็บตัวอยางจากสถานประกอบการ
สงตรวจสอบ เพื่อพิจารณาออกใบรับรองดําเนินไปอยางโปรงใส ( X = 4.62 S.D. = 0.64)
- เจาหนาที่ผูใหบริการ เปนผูที่มีความรู ความสามารถ และสามารถดําเนินการไดอยาง
รวดเร็ว ( X = 4.51 S.D. = 0.66)
52

- มีการเขาไปกระตุน เพื่อใหผูประกอบการเกิดความสนใจและคิดที่จะยื่นของการ
รับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ( X = 4.43 S.D. = 0.71)
นอกจากนี้ ผู ป ระกอบการ/กลุ มวิ สาหกิ จ ชุ ม ชนไดรั บ ความช ว ยเหลือ สนั บ สนุ น จาก
หนวยงานรัฐบอยมากในดาน
- การใหความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการปรับตัวของกิจการโดยการฝกอบรมและให
คําปรึกษาแนะนําแกวิสาหกิจชุมชนที่ตองการขอรับการรับรอง ( X = 4.09 S.D. = 0.76)

t h
- มีการชี้แจงใหผูประกอบการทราบถึงขั้นตอนและวิธีการในการขอรับรองมาตรฐาน
.
ผลิตภัณฑชุมชน( X = 4.00 S.D. = 0.62)

c t. go
- การให ก ารสนั บ สนุ น ส ง ออกสิ น ค า ผลิ ต ภั ณ ฑ ชุ ม ชนไปยั ง ต า งจั ง หวั ด และ
ตางประเทศ ( X = 3.92 S.D. = 1.30)

rd ic .nr
- สงเสริมใหผูประกอบการ โดยการเขาไปชวยสอน แนะนําใหพัฒนาคุณภาพของ

จ า ก
ผลิตภัณฑที่ผลิตเพื่อใหมีคุณภาพ และมีโอกาสไดรับการรับรอง ( X = 3.89 S.D. = 0.76)

S.D. = 3.87) า
- การชี้แจงขั้นตอน กระบวนการขอการรับรองที่มีความยุงยาก ซับซอน ( X = 3.87
ม ว
้ 3
a d แ ก 5 : 3
- ได รับ ส ง เสริ ม สนั บ สนุ น ให วิ สาหกิ จ ชุม ชนที่ ยั ง ไมพ ร อ มในการดํ า เนิ น การตาม
ln o นวล 21:2
ขอกําหนดขอมาตรฐานใหมีความรูเรื่องมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน โดยการใหคําปรึกษา แนะนํา

o w วิช 2
( X = 3.85 S.D. = 0.64)
ี์น้ d ยกร /256
- สงเสริมดานการตลาดของผลิตภัณฑใหเปนที่ยอมรับอยางแพรหลาย และสรางความ

ไ ย นา 9/06
มั่นใจใหกับผูบริโภคในการเลือกซื้อผลิตภัณฑชุมชน ทั้งในประเทศและตางประเทศ ( X = 3.84

S.D. = 0.82)

โด ื่อ 0- สนั บ สนุ น นั ก วิ ช าการ บุ ค ลากรผู เ ชี่ ย วชาญมาให ค วามรู ใ นการพั ฒ นารู ป แบบ

เม
ผลิตภัณฑใหไดมาตรฐานคอนขางบอย มีคาเฉลี่ยเทากับ ( X = 3.78 S.D. = 0.64)
- ใหการสนับสนุนงบประมาณดําเนินกิจการวิสาหกิจชุมชน เพื่อใหมีโอกาสผลิต
สินคาที่สอดคลองกับตลาด ( X = 3.77 S.D. = 0.75)
- สนับสนุนการจัดงานแสดงสินคาผลิตภัณฑชุมชนทั้งในและตางประเทศ เพื่อให
ผูประกอบการมีโอกาสไดเผยแพรสินคา( X = 3.77 S.D. = 1.19)
- สุมตรวจติดตามคุณภาพผลิตภัณฑภายหลังไดการรับรองเปนไปอยางเหมาะสม
( X = 3.51 S.D. = 0.68)
53

ขณะที่ ใ นด า นการประชาสั มพั น ธใ หป ระชาชนและผู บริ โภครู จั ก มาตรฐานคุ ณ ภาพ
ผลิตภัณฑชุมชน และประโยชนที่จะไดรับ กลุมวิสาหกิจชุมชนไดรับความชวยเหลือและสนับสนุน
จากหนวยงานรัฐในระดับปานกลางเทานั้น ( X = 3.30 S.D. = 0.70)

ตาราง 4.15 จํานวน รอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความรวมมือ และความสามัคคีของ


สมาชิกกลุมวิสาหกิจชุมชน

ระดับการดําเนินงาน
. t h
ความรวมมือ และความสามัคคี บอยมาก
คอน

c t go
พอ นาน ๆ ไมไดรับ
.
ขางบอย สมควร ครั้ง /ไมมี S.D. แปลผล

.ic nr
x
ของสมาชิกกลุม
จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน

d r
(รอยละ) (รอยละ) (รอยละ) (รอยละ) (รอยละ)
1. สมาชิกของกลุมผลิตภัณฑของ

จ า
45
ทานมีการรวมสบทุนเงินทุนในการ ก 77 119 14
- 2.60 .83
นาน ๆ

ประกอบกิจการเพียงใด
ม า ้ว 3
(17.6) (30.2) (46.7) (5.5) ครั้ง

a d แ
2. รวมประชุม ปรึกษาหารือ เพื่อ ก 5 : 3
ln o นว(10.2)
รวมกันคิด และสรางสรรค ล26 (71.4)
182 2 25
1 : 22 คอนขาง

o w ช

ผลิตภัณฑรูปแบบใหม ๆ ขึ้นมา 2 (9.8) (8.6)
- 3.83 .72
บอย

ี์น้ d ยกร /256762 98 63 18


เกิดขึ้นเพียงใด ว
ฟ ล
ไ ย นา 9/06 (29.8) (38.4) (24.7) (7.1)
3. สมาชิกกลุมผลิตภัณฑของทาน
ไดรวมจัดงานแสดงสินคาภายใน - 3.90 .90
คอนขาง
บอย
โด ื่อ 0
จังหวัดและชุมชน

เม
4. สมาชิกกลุมไดรวมกันกระจาย
30 195 17 13 คอนขาง
สินคาไปขายตามพื้นที่ตางๆ ทั้งใน - 3.94 .62
(11.8) (76.5) (6.7) (5.1) บอย
จังหวัดและตางจังหวัด
5. สมาชิกในกลุมของทานมีความ
จริงจังตอการพัฒนาคุณภาพของ 187 53 15
- - 4.67 .58 บอยมาก
ผลิตภัณฑกลุม เพื่อใหไดรับการ (73.3) (20.8) (5.9)
รับรองเพียงใด
คอนขาง
รวม 3.79 .43
บอย
54

จากตาราง 4.15 พบว า การดํ า เนิ น งานขอรั บ รองมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ ชุ ม ชนของ


ผูประกอบการ/กลุมวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดลําพูนไดรับความรวมมือ และสามัคคีกันในการ
ดําเนินงานในดานตางๆ ในระดับคอนขางมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.79 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ
0.43
เมื่อพิจารณาแตละประเด็น พบวาผูประกอบการ/กลุมวิสาหกิจชุมชนไดรับความรวมมือ
และสามัคคีกันอยางมาก โดยสมาชิกในกลุมของมีความจริงจังตอการพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ
กลุมเพื่อใหไดรับการรับรอง ( X = 4.67 S.D. = 0.58)
. t h
go
นอกจากนี้ผูประกอบการ/กลุมวิสาหกิจชุมชนไดรับความรวมมือ และสามัคคีกันอยาง

t.
มาก โดยสมาชิกกลุมไดรวมกันกระจายสินคาไปขายตามพื้นที่ตางๆ ทั้งในจังหวัดและตางจังหวัด
c
.nr
( X = 3.94 S.D. = 0.62) สมาชิกกลุมผลิตภัณฑไดรวมจัดงานแสดงสินคาภายในจังหวัดและชุมชน

rd ic
( X = 3.90 S.D. = 0.90) สมาชิกกลุมรวมประชุม ปรึกษาหารือ เพื่อรวมกันคิด และสรางสรรค
ผลิตภัณฑรูปแบบใหม ๆ ขึ้นมาเกิดขึ้น ( X = 3.83 S.D. = 0.72)

จ า ก
ขณะเดียวกันผูประกอบการ/กลุมวิสาหกิจชุมชนไดรับความรวมมือ และสามัคคีกันจาก

ม า 3
สมาชิกของกลุมในระดับนอย ในดานการรวมกันสบทุนเงินทุนในการประกอบกิจการ ( X = 2.60


S.D. = 0.83)
a d แ ก 5 : 3
l o
n าเนิิชนงานหลั
น ว ล
งการไดรับ1
:2
o w
4.1.3 ผลการดํ
ว 2 การรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน
งการไดรับ2การรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ผูศึกษาไดกําหนด
dผลการดํ

เกณฑ์นกี้ ารใหคะแนนออกเป
าเนินงานหลั
ก 5
น 52ระดั
6
ฟ ล ย
น 5 4า3 2 และ 1 6
น / บ คือ มาก คอนขางบ อย พอสมควร นอย ไมได/ไมมี ให

ไ รับรองมาตรฐานผลิ
คะแนนเป
ย 0
ตภั9ณ/ฑชุมชน ดังนี้
โดยกํ าหนดระดับการแปลผลผลการดําเนินงานหลังการไดรับการ

โด ื่อ 0
ม ่ย
เระหวคะแนนเฉลี การแปลผล
าง 1.00 – 1.80 ไมได/ไมมีการดําเนินการ/ไมไดผล
ระหวาง 1.81 – 2.60 ผลการดําเนินการอยูในระดับนอย/บรรลุผลนอย
ระหวาง 2.61 – 3.40 ผลการดําเนินการอยูในระดับพอสมควร/บรรลุผลปานกลาง
ระหวาง 3.41 – 4.20 ผลการดําเนินการอยูในระดับคอนขางมาก/บรรลุผลคอนขางมาก
ระหวาง 4.21 – 5.00 ผลการดําเนินการอยูในระดับมาก/บรรลุผลอยางมาก
55

ตาราง 4.16 จํานวน รอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการดําเนินงานหลังการไดรับ


การรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน

ระดับผลการดําเนินงาน
ผลการดําเนินงานหลังการไดรับ คอน พอ ไมได
มาก นอย
การรับรองมาตรฐาน ขางมาก สมควร /ไมมี x S.D. แปลผล
ผลิตภัณฑชุมชน จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน
(รอยละ) (รอยละ) (รอยละ) (รอยละ)
. th-
(รอยละ)

go
ดานการสรางงานสรางรายได 113 128 8 6
1. มีการจางงานในชุมชนเพิม่ ขึ้น (44.3)
c t.
(50.2) (3.1) (2.4)
4.36 .66 มาก

2. ผูประกอบการ/ประชาชนมี
รายไดเพิ่มขึน้
125
(49.0)
111 13

rd ic .nr 6
(43.5) (5.1) (2.4)
- 4.39 .69 มาก

3. ผูประกอบการ/ประชาชนมีเงิน

จ า ก
122 112 16 5
- 4.37 .69 มาก
ออมมากขึ้น
4. สามารถลดปญหาภาระหนี้สิน ม า (47.8) (43.9) (6.3) (2.0)

100 ้ว113 33 3 9
ของประชาชน/ผูประกอบการ/
a d แ ก 5 : 3 (3.5) - 4.19 .79
คอนขาง

สมาชิกได ln o นวล112 21161:2 20 7


(39.2) (44.3) (12.9) มาก

o w วิช (43.9)2 (45.5) (7.8) (2.7)


5. สมาชิกกลุมมีความเปนอยูท ี่ดีขึ้น
ี์น้ d ยกรวมดร านการสร 2 5 6 - 4.30 .73 มาก


ไฟดพึา่งนความเข า 6
มนแข็งของชุมชนและ
0 / างงานสรางรายได 4.32 .59 มาก

ด ย 0 9 /

ตนเอง
6. มีการใชภูมปิ ื่อ
172 67 16
- - 4.61 .60 มาก

การผลิตสินเคา/ผลิตภัณฑ
ญญาทองถิ่นใน (67.5) (26.3) (6.3)

7. มีการนําทรัพยากรภายในชุมชน
116 55 75 9 คอนขาง
มาใชเปนวัตถุดิบในการผลิต - 4.09 .94
(45.5) (21.6) (29.4) (3.5) มาก
ผลิตภัณฑชุมชน
8. ผูเกี่ยวของทุกฝายมีสวนรวมใน 89 143 23
- - 4.25 .61 มาก
การดําเนินงาน (34.9) (56.1) (9.0)
56

ตาราง 4.16 (ตอ)

ระดับผลการดําเนินงาน
ผลการดําเนินงานหลังการไดรับ คอน พอ ไมได
มาก นอย
การรับรองมาตรฐาน ขางมาก สมควร /ไมมี x S.D. แปลผล
ผลิตภัณฑชุมชน จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน
(รอยละ) (รอยละ) (รอยละ) (รอยละ) (รอยละ)

.th
9. ชุมชนมีความเขมแข็ง และ 53 174 25 3 คอนขาง
- 4.08 .58
สามารถพึ่งตนเองได
t. g o
(20.8) (68.2) (9.8) (1.2) มาก

57 169 11 rc 18
10. สามารถจัดสรรผลกําไร เพื่อ
สวัสดิการของชุมชนหรือเพือ่
. n (7.1) -
(22.4) (66.3)ic(4.3)
4.03 .74
คอนขาง
กิจกรรมสาธารณประโยชนของ
d r มาก

136าก 94
ชุมชนได

ม า จ
11. สามารถสรางความมั่งมีศรีสุข 25
- - 4.43 .66 มาก
ของครัวเรือนและชุมชนได
d
53.3
ก ว
้ 36.9 9.8
3 3
a 101แ 122 528:
12. ทําใหเกิดความสัมพันธอันดี
o
ระหวางคนในชุมชนมากขึ้นและล 2
ln นว(39.6) 2(47.8)1: (11.0) (1.6) -4
4.25 .71 มาก

o
ภายนอกชุมชนw วิช 2
ี์น้ d ยกร /25678 158 19 - -
13. มีการเรียนรูและจัดการ

ฟ ล า 6
ผลิตภัณฑชุมชนรวมกันของกลุม
ไ ย 9/0
ตาง ๆ น (30.6) (62.0) (7.5)
4.23 .57 มาก

โด ื่อ 0
14. มีการบริหารจัดการที่

มเ
สอดคลองกับสังคม วัฒนธรรม
ทรัพยากรธรรมชาติและ
161 80 14
(63.1) (31.4) (5.5)
- - 4.57 .59 มาก

สิ่งแวดลอมของชุมชน
15. เกิดความคิดอยางสรางสรรค
39 195 21 คอนขาง
ของชุมชน และทําใหสกู ารสราง - - 4.07 .48
(15.3) (76.5) (8.2) มาก
ผลิตภัณฑชุมชนใหมๆ เกิดขึ้น
16. มีการตัดสินใจ และพัฒนา 186 47 22
- - 4.64 .63 มาก
ผลิตภัณฑรวมกันของกลุมตาง ๆ (72.9) (18.4) (8.77)
57

ตาราง 4.16 (ตอ)

ระดับผลการดําเนินงาน
ผลการดําเนินงานหลังการไดรับ คอน พอ ไมได
มาก นอย
การรับรองมาตรฐาน ขางมาก สมควร /ไมมี x S.D. แปลผล
ผลิตภัณฑชุมชน จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน
(รอยละ) (รอยละ) (รอยละ) (รอยละ) (รอยละ)

-h
17. มีพัฒนาผลิตภัณฑชุมชนที่เปน 164 54 37
-
. t 4.49 .73 มาก
go
เอกลักษณของทองถิ่น (64.3) (21.2) (13.5)
รวมดานความเขมแข็งของชุมชนและพึ่งตนเอง
c t. 4.31 .39 มาก
ดานคุณภาพของผลิตภัณฑ
138 97 .ic nr 2
18
dr
18. ผลิตภัณฑที่กลุมผลิตเปนที่พึง - 4.45 .66 มาก
(54.1) (38.0) (7.1) (0.8)
พอใจของผูบริโภค
จ า ก
ตามที่ราคากําหนด ม า ้ว 3(3.1)
19. สามารถจําหนายสินคาได 8 99 116 32
(38.8) (45.5) (12.5)
- 4.20 .77
คอนขาง
มาก
a d แ ก 5 : 3 3
ln o นวล 21:2 (1.2)
20. สามารถยกระดับผลิตภัณฑ 157 65 30
- 4.47 .74 มาก
ชุมชนใหสูงขึน้ (61.6) (25.5) (11.8)

ow วิช 2
21. สามารถพัฒนาผลิตภัณฑใหมี
ี์น้ d ยกร /256
ความสวยงาม เรียบรอย และขนาด 141 104 10

ไ ย นา 9/06

เหมาะสมกับความตองการของ
ตลาดได
-
(55.3) (40.8) (3.9)
- 4.51 .57 มาก

โด ื่อ 0
22. ผลิตภัณฑที่กลุมผลิตมีความ
167 65 23
มเ
ปลอดภัย เปนที่เชื่อถือและ
ไววางใจของลูกคา
-
(65.5) (25.5) (9.0)
- 4.56 .65 มาก

23. สามารถลดตนทุนการผลิต 151 61 40 3


- 4.41 .79 มาก
และทําใหราคาถูกลง (59.2) (23.9) (15.7) (1.2)
24. ผลิตภัณฑชุมชนสามารถสง
71 165 17 2 คอนขาง
ขายในตลาดทัง้ ในและตางประเทศ - 4.19 .58
(27.8) (64.7) (6.7) (0.8) มาก
ไดมากขึ้น
25. ผลิตภัณฑที่ผลิตมีชื่อเสียงเปน 179 44 32
- - 4.57 .70 มาก
ที่ยอมรับ (70.2) (17.3) (12.5)
58

ตาราง 4.16 (ตอ)

ระดับผลการดําเนินงาน
ผลการดําเนินงานหลังการไดรับ คอน พอ ไมได
มาก นอย
การรับรองมาตรฐาน ขางมาก สมควร /ไมมี x S.D. แปลผล
ผลิตภัณฑชุมชน จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน
(รอยละ) (รอยละ) (รอยละ) (รอยละ) (รอยละ)

-h
26. สามารถขจัดของเสียจาก 193 23 39
-
. t 4.60 .73 มาก
go
กระบวนการผลิตมีนอยลงได (75.7) (9.0) (15.3)
รวมดานคุณภาพของผลิตภัณฑ
c t. 4.44 0.52 มาก
ภาพรวมผลการดําเนินงานหลังการไดรับการรับรอง
มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน
.ic nr
r
4.36 .43 มาก

ก d
จากตาราง 4.16 พบวา ผลการดํ
จ า
า ้ว ตภัณฑชุม3ชนในภาพรวมบรรลุผลสําเร็จอยูใน
าเนินงานของผู ประกอลการ/กลุมวิสาหกิ จชุมชนใน
จังหวัดลําพูนหลังการไดรับการรัม
า3
บรองมาตรฐานผลิ
a d แ
ล 1:2 ก 5 :
ln oางงานสรนางรายได
ระดับมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.36 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท กับ 0.43 เมื่อพิจาณาแตละดาน พบดังนี้
1) ดานการสร ว 2
o w
ผลการดํ
ว ช
ิ 2
าเนินงานหลังการไดรับการรั
บมาก มีค6าเฉลี
บรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน สามารถการสราง
d
งานสราี้ งรายได
์น าเนินงานหลั ก ร
เพิ่มขึ้นในระดั
2 5 ่ยเทากับ 4.32 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.59 โดย
ล า ย งการไดรับ/การรั
6
ไฟผูS.D.ประกอบการ/ประชาชนมี
ผลการดํ บรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนบรรลุผลในระดับมากในดาน

ย น / 0
9 มชนเพิ่มขึ้น ( = 4.36 S.D. = 0.66) สมาชิกกลุมมีความเปนอยูที่ดี
รายได เพิ่มขึ้น ( = 4.39 S.D. = 0.69) มีเงินออมมากขึ้น ( = 4.37
=ด0.69)
X X
มีการจ0างงานในชุ

ขึ้น ( = 4.30 ื่อS.D. = 0.73)
X
X
เม
นอกจากนี้ ผ ลการดํ า เนิ น งานหลั ง การได รั บ การรั บ รองมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ ชุ ม ชน
บรรลุผลในระดับคอนขางมากในดานสามารถลดปญหาภาระหนี้สินของประชาชน/ผูประกอบการ/
สมาชิกได ( X = 4.19 S.D. = 0.79)
2) ดานความเขมแข็งของชุมชนและพึ่งตนเอง
ผลการดําเนินงานหลังการไดรับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน สามารถสราง
ความเขมแข็งของชุมชนและการพึ่งตนเองไดของชุมชนในระดับมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.31 สวน
เบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.39 โดยผลการดําเนินงานหลังการไดรับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ
ชุมชนสามารถสรางความเขมแข็งของชุมชนและการพึ่งตนเองไดของชุมชนในระดับมากในดาน
59

- มีการตัดสินใจ และพัฒนาผลิตภัณฑรวมกันของกลุมตาง ๆ ( X = 4.64 S.D. = 0.63)


- มีการใชภูมิปญญาทองถิ่นในการผลิตสินคา/ผลิตภัณฑ ( X = 4.61 S.D. = 0.60)
- มี ก ารบริ ห ารจั ด การที่ ส อดคล อ งกั บ สั ง คม วั ฒ นธรรม ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ
สิ่งแวดลอมของชุมชน ( X = 4.57 S.D. = 0.59)
- มีพัฒนาผลิตภัณฑชุมชนที่เปนเอกลักษณของทองถิ่น ( X = 4.49 S.D. = 0.73)
- สามารถสรางความมั่งมีศรีสุขของครัวเรือนและชุมชนได ( X = 4.43 S.D. = 0.66)

. t h
- ผูเกี่ยวของทุกฝายมีสวนรวมในการดําเนินงาน ( X = 4.25 S.D. = 0.61)

go
- ทําให เกิดความสัมพันธอัน ดีระหว างคนในชุ มชนมากขึ้ นและภายนอกชุมชนใน
( X = 4.25 S.D. = 0.71)
c t.
.nr
- มีการเรียนรูและจัดการผลิตภัณฑชุมชนรวมกันของกลุมตาง ๆ ( X = 4.23 S.D. =
0.57)
d r ic
นอกจากนี้ผลการดําเนินงานหลังการได

จ า ก รับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนสามารถ


- มีการนําทรัพยากรภายในชุ า มชนมาใช
สรางความเขมแข็งของชุมชนและการพึ่งตนเองได



ของชุมชนในระดับคอนขางมากในดาน

3
เปนวัตถุดิบในการผลิตผลิตภัณฑชุมชน( =
d ก : 3
X
4.09 S.D. = 0.94)
- ชุมชนมีlคo
a ล แ
วามเขมแข็งวและสามารถพึ 2 5
่ง:ตนเองได
- เกิw n ดอยิชางสรนางสรรคของชุ21มชน และทําใหสูการสรางผลิตภัณฑชุมชนใหมๆ
X ( = 4.08 S.D. = 0.58)

เกิดขึ้น ( d=o4.07 S.D.ร=ว0.48) 2


ดความคิ
ี์น้ - สามารถจั
X
ก 2 5 6
ล ย
า 06= 0.74)

/
สรรผลกํ าไร เพื่อสวัสดิการของชุมชนหรือเพื่อกิจกรรมสาธารณประโยชน
ไฟของชุมชนได
ย น /
( = 4.03 S.D.
X
9
โด ผลการดํื่อ 0าเนินงานหลังการได
3) ด านคุ ณภาพของผลิ ตภัณฑ


ผลิตภัณฑเมีมากขึ้น มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.44 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.52 โดยผลการ
รับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนทําใหคุณภาพของ

ดําเนินงานหลังการไดรับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนทําใหคุณภาพของผลิตภัณฑมีมาก
ขึ้นในดาน
- สามารถขจัดของเสียจากกระบวนการผลิตมีนอยลงได ( X = 4.60 S.D. = 0.73)
- ผลิตภัณฑที่ผลิตมีชื่อเสียงเปนที่ยอมรับ ( X = 4.57 S.D. = 0.70)
- ผลิตภัณฑที่กลุมผลิตมีความปลอดภัย เปนที่เชื่อถือและไววางใจของลูกคา ( X =
4.56 S.D. = 0.65)
60

- สามารถพัฒนาผลิตภัณฑใหมีความสวยงาม เรียบรอย และขนาดเหมาะสมกับความ


ตองการของตลาดได ( X = 4.51 S.D. = 0.57)
- สามารถยกระดับผลิตภัณฑชุมชนใหสูงขึ้น ( X = 4.47 S.D. = 0.74)
- ผลิตภัณฑที่กลุมผลิตเปนที่พึงพอใจของผูบริโภค ( X = 4.45 S.D. = 0.66)
- สามารถลดตนทุนการผลิต และทําใหราคาถูกลง ( X = 4.41 S.D. = 0.79)
นอกจากนี้ผลการดําเนินงานหลังการไดรับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนทําให

. t h
คุณภาพของผลิตภัณฑมีคอนขางมากในดานสามารถจําหนายสินคาไดตามที่ราคากําหนด ( X =

go
4.20 S.D. = 0.77) และผลิตภัณฑชุมชนสามารถสงขายในตลาดทั้งในและตางประเทศไดมากขึ้น
( X = 4.19 S.D. = 0.58)
c t.
rd ic .nr
4.1.4 ปญหาและอุปสรรคในการดําเนินงานการขอรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน
จากการสอบถามผูประกอบการ/กลุมวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดลําพูน พบปญหาและ

จ า ก
อุปสรรคในการดําเนินงานการขอรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ดานตาง ๆ ดังนี้

ม า
1) ดานการผลิต

้ 3
a d แ ก 5 : 3
- วัตถุดิบในการผลิต อาทิ เสนฝาย ไหม และไหมเทียม ในพื้นที่จังหวัดลําพูนไมมี
ln o นวล 21:2
ตองซื้อมาจากจังหวัดเชียงใหมและจังหวัดในภาคอีสาน บางฤดูกาลขาดแคลน ทําใหกระบวนการผลิต

w วิช 2
หยุดชะงัก วัตถุดิบในการผลิตภัณฑประเภทเครื่องดื่ม อาหาร ไมสามารถจัดเก็บไดนาน อีกทั้งมี
o
ี์น้ d ยกร /256
ราคาสูงขึ้นทุกวัน

ฟ ล
ไ ย นา 9/06
- มี ก ารลั ก ลอบคั ด ลอกการออกแบบลวดลายและรู ป แบบผลิ ต ภั ณ ฑ
ผูประกอบการสวนใหญยังขาดการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ และบรรจุภัณฑที่มีคุณภาพ เหมาะสม
และ

โด ื่อ 0 - บางชวงการผลิตไมสามารถผลิตสินคาไดทันตามใบสั่งซื้อ เชน ชวงงานประเพณี

เม
ทองถิ่นและชวงฤดูกาลเก็บเกี่ยวทางการเกษตร
2) ดานการตลาด
- การกําหนดราคาอยูที่พอคาคนกลาง ผูสงออก ผูผลิตไมสามารถกําหนดราคาเองได
- บางชวงมีผลิตภัณฑออกสูตลาดจํานวนมาก ทําใหผลิตภัณฑลนตลาด ขายไดนอย
- การสงออกผลิตภัณฑสวนใหญจะสงขายภายในจังหวัดและตางจังหวัด ขาดการ
สงเสริมการขายในระดับตางประเทศ
- มีผูประกอบการ/กลุมวิสาหกิจชุมชนที่ผลิตสินคาเหมือนกันหลายกลุม ทําใหเกิด
การแขงขันทางการตลาดสูง มีการตัดราคา และลอกเลียนแบบ
61

3) ดานการบริหารจัดการ
- ขาดการรวมกลุมอุ ตสาหกรรม เชื่อ มโยงการผลิต ของกลุ มผลิ ต ภัณ ฑป ระเภท
เดียวกัน เพื่อประสานงานแลกเปลี่ยนขอมูล ขาวสารกันในการผลิต และดานการตลาด ตางคนตาง
ทํางานมองวาผูผลิตผลิตภัณฑชนิดเดียวกันเปนคูแขงมากกวาคูคา
- เนื่องจากเปนอาชีพเสริม ใชเวลาวางมาผลิตบางครั้งมีปญหา เชนการผลิตในชวง
เก็บเกี่ยวพืชผลทางการเกษตร ไมสามารถผลิตไดตามใบสั่งซื้อ
4) ดานบุคคล/แรงงาน
. t h
go
- ขาดแคลนแรงงานโดยเฉพาะชวงฤดูกาลเก็บเกีย่ วผลผลิตทางการเกษตร
โดยเฉพาะแรงงานในพืน้ ที่
c t.
.nr
- ขาดนักออกแบบผลิตภัณฑและบรรจุภณ ั ฑ

rd ic
- ขาดบุคลากรดานโภชนาการในการผลิตอาหาร เครื่องดื่ม
- ผูประกอบการ/กลุมวิสาหกิจชุมชน อาทิ กลุมสมุนไพร บุคลากรสวนใหญเปน

จ า ก
ผูสูงอายุ ขาดคนถายทอดภูมปิ ญญา งานไม งานฝมือ ซึ่งคนในรุนปจจุบนั ไมใหความสนใจ

ม า
5) ดานเงินทุน

้ 3
a d แ ก 5 : 3
- เขาถึงเงินทุนไดยาก ตองเขียนโครงการขอกูเงิน ซึ่งผูประกอบการ/กลุมวิสาหกิจ
ln o นวล 21:2
ชุมชนบางกลุม ไมมีความรูความเขาใจในการเขียนโครงการ

o w วิช 2
- เงินทุนจากสถาบันการเงินกูไ ดยาก มีขั้นตอนซับซอนสวนใหญจะระดมเงินทุน

ี์น้ d ยกร /256


ภายในกลุมและแบงผลกําไรตามสัดสวนเงินทุน

ฟ ล
ไ ย นา 9/06
- เงินกูจากกองทุนหมูบานไมเพียงพอทีจ่ ะนํามาลงทุน วงเงินต่ํา
- อัตราดอกเบี้ยจากสถาบันการเงินสูง

โด ื่อ 0 6) ดานอื่นๆ

เม
- ขาดการประชาสัมพันธผลิตภัณฑ ที่ผานมาทางกลุมจะเปนผูประชาสัมพันธเอง
ขาดการสงเสริม และสนับสนุนจากหนวยงานระดับจังหวัดที่เกี่ยวของในการประชาสัมพันธอยาง
ตอเนื่อง
- ขาดการใหความรูเกี่ยวกับการพัฒนารูปแบบ กระบวนการผลิต เชน การ
ออกแบบผลิตภัณฑใหม ๆ การออกแบบลวดลาย เทคนิคการใหสีระบายสี เปนตน
- ขาดการประชาสัมพันธดานการรับรองมาตรฐานใหแกกลุมผูผลิตรายอื่น
- ผูบริโภคไมรูและเขาใจวาสินคาที่ผานการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชมุ ชนมี
คุณภาพมากนอยเพียงใด
62

4.1.5 ขอเสนอแนะสําหรับการพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน
จากการสอบถามผูประกอบการ/กลุมวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดลําพูน มีขอเสนอแนะ
สําหรับการพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ดังนี้
1. จัดใหมีผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบผลิตภัณฑ กระบวนการผลิต นักโภชนาการมา
ใหความรูเกี่ยวกับการรักษาคุณภาพผลิตภัณฑ
2. ควรสนั บ สนุ น ให มี ก ารรวมกลุ ม เพื่ อ ให เ กิ ด การเชื่ อ มโยง ประสานงาน เพื่ อ
แลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร ชวยเหลือกันในดานตาง ๆ
. t h
go
3. ควรมีการประชาสัมพันธผลิตภัณฑชุมชนในหลากหลายชองทาง อาทิ เอกสาร ปาย
โฆษณา อินเตอรเน็ต จัดงานแสดงสินคา เปนตน
c t.
.nr
4. ประชาสัมพันธและสงเสริมการจดทะเบียนสิทธิบัตรผลิตภัณฑชุมชน เพื่อปองกัน
การลอกเลียนแบบ
rd ic
5. ภาครัฐที่เกี่ยวของ ควรใหการสนับสนุนดานแหลงทุนเงินกู อัตราดอกเบี้ยต่ํา

จ า ก
6. ควรมีการจัดอบรมใหความรู ความเขาใจในกระบวนการและระบบมาตรฐานสินคา

ม า
ประเภทตางๆ เพื่อใหกลุมจัดทํามาตรฐานสินคาใหตรง มผช. มากที่สุด

้ 3
a d แ ก 5 : 3
4.2 ขอมูลจากการสัมภาษณ
มาตรฐานผลิตภัณฑnชุมชนของสํน
l o สํ า หรั บ
วผู  ล
บ ริ ห
:
ารและเจ
1
า 2
หน า ที ่ผูปฏิบัติงานดานการสงเสริมการรับรอง

w
ผูศoึกษาไดทําการสั ว ช
ิ านักงานอุตสาหกรรมจั
มภาษณผูบ2
2 งหวัดลําพูน

้ ี d ร
น ที่ ป ฏิ บั ติ ห น า ทีก่ เ กี่ ย วข อ งกั2
ลํ า พู์น
6
บ ด5า นการส ง เสริ ม การรั บ รองมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ ชุ ม ชนของ
ริหาร และบุคลากรของสํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด

ฟสําลนักงานอุตน า ย งหวั6ดลํ/าพูน ประกอบดวย อุตสาหกรรมจังหวัด นักวิชาการอุตสาหกรรม


ไ นักวิชาการมาตรฐานผลิ

สาหกรรมจั
/ 0
9าที่ความรัณฑบผลการสั
ดโ ภาระหน อ
่ ื 0 ต ภั มภาษณ มีดังนี้

สํานักงานอุเตมสาหกรรม จังหวัดลําพูน มีดังนี้


ผิดชอบดานการดําเนินงานรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนของ

1. สงเสริม สนับสนุนการพัฒนาโดยการใหคําปรึกษา แนะนําเบื้องตน การฝกอบรมให


ความรู ความเขาใจพื้นฐานดานการพัฒนาเทคนิคการผลิต และพัฒนาผลิตภัณฑใหกับกลุมวิสาหกิจ
ชุมชน
2. ทําหนาที่ในการออกสํารวจ จัดเก็บขอมูลและจัดเก็บตัวอยางผลิตภัณฑชุมชนเพื่อสง
หนวยตรวจสอบ ทดสอบผลิตภัณฑกอนการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน
3. ดําเนินการประชาสัมพันธสินคาของกลุมวิสาหกิจที่ไดรับการรับรองมาตรฐาน ผาน
สื่อประชาสัมพันธตาง ๆ เชน สถานีวิทยุชุมชน เอกสารแผนพับ เปนตน
63

4. ประสานงานและรวบรวมขอมูล ขาวสาร และสงเสริมใหธุรกิจเอกชนเขามามีสวน


รวมในการเผยแพรขอมูลสินคา และมาตรฐานสินคาของกลุม และมีการตรวจสอบติดตามผลอยาง
ตอเนื่อง ซึ่งจะเปนการพัฒนาสูตลาดสากลตอไป
5. รวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของดําเนินการในรูปแบบคณะกรรมการ คัดเลือกผลิตภัณฑ
OTOP 4 – 5 ดาว โดยการสงเสริมผูผลิตใหผลิตสินคาไดคุณภาพ มีมาตรฐานเปนที่ตองการของ
ตลาดมากที่สุด

. t h
4.2.1 การดํ า เนิ น งานส ง เสริ ม การรั บ รองมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ ชุ ม ชนของสํ า นั ก งาน
อุตสาหกรรมจังหวัดลําพูน
c t. go
.nr
1) การรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน

rd ic
การรั บ รองมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ ชุ ม ชนของจั ง หวั ด ลํ า พู น ในป 2551 สํ า นั ก งาน
อุตสาหกรรมจังหวัดลําพูนไดวางแผนดําเนินงานใหกลุมวิสาหกิจชุมชนที่จดทะเบียน OTOP ของ

า ก
จัง หวั ด ต องยื่นขอรั บรองมาตรฐานผลิตภั ณฑชุมชนทั้ งหมด และมี การดํา เนินการเป นไปตาม


แผนงาน โดยจังหวัดลําพูนมีกลุมวิสาหกิจชุมชนที่จดทะเบียน OTOP จํานวนทั้งสิ้น 389 ราย ไดรับ
ม ว
้ 3
d ก : 3
การรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนแลว 319 ราย หรือคิดเปนรอยละ 82.0 ของเปาหมายที่ตองการ
a แ 5
ln o นวล 21:2
ใหผลิตภัณฑชุมชนไดรับการรองทั้งหมด แตเนื่องจากมีผลิตภัณฑชุมชนบางประเภท เชน อาหาร

w วิช 2
เครื่องดื่ม ที่ตองตรวจประเมินผานคุณภาพหลายครั้งกวาจะไดรับการรับรองมาตรฐาน ที่ผานมา
o
ี์น้ d ยกร /256
สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดลําพูนไดใหคําแนะนําเบื้องตน และประสานงานกับผูเชี่ยวชาญดาน
การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ และนักโภชนาการมาใหคําปรึกษา แนะนํา เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพ

ฟ ล
ไ ย นา 9/06
ผลิตภัณฑในดานตาง ๆ แกผูประกอบการ กลุมวิสาหกิจชุมชน ทั้งนี้เพื่อใหผูประกอบการ กลุม
วิสาหกิจชุมชนเขาถึง สามารถปฏิบัติตามขอแนะนํา ลงปฏิบัติดวยตนเองได จนไดรับการรับรอง
โด ื่อ 0
มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน

เม 2) การสงเสริมและสนับสนุนดานวิชาการแกผูประกอบการ/กลุมวิสาหกิจชุมชน
การสงเสริมและสนับสนุนดานวิชาการใหกับผูประกอบการ กลุมวิสาหกิจชุมชนกอน
การขอรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ทางสํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดลําพูนไดใหบริการ โดย
1. สนับสนุนเจาหนาที่และจัดทําเอกสารใหคําแนะนําอยางละเอียด ชัดเจน และให
คําปรึกษา แนะนําเบื้องตน ณ สถานที่ผลิต
2. รวมกําหนดมาตรฐานและขอกําหนดที่เหมาะสมสําหรับผลิตภัณฑแตละประเภท
หรือประเภทผลิตภัณฑที่ผลิตเปนการเฉพาะในทองถิ่น เพื่อใหเปนที่ยอมรับของทุกฝายที่เกี่ยวของ
และมีแนวทางปฏิบัติที่ไมซับซอนและสอดคลองกับวิธีการผลิต โดยเนนใหสามารถนํามาปฏิบัติไดจริง
64

3. สงเสริมและสนับสนุน โดยการใหการฝกอบรม พัฒนาผลิตภัณฑ เพื่อใหเกิดการ


เรียนรู และการเกิดการพัฒนาผลิตภัณฑ
4. ติดตอประสานงานกับผูเชี่ยวชาญเขาใหความรู ใหคําปรึกษา แนะนํา ณ สถานที่ผลิต
ลงมือปฏิบัติ เกิดการปรับปรุง พัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ และพรอมที่จะขอรับการรับรองมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ
3) การเผยแพรประชาสัมพันธ

. t h
สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดลําพูน ไดดําเนินการสงเสริมใหประชาชนและผูบริโภคได

go
รู จั ก และเกิ ด ความตระหนั ก ในการเลื อ กซื้ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ไ ด รั บ รองมาตรฐาน โดยการเผยแพร

t.
ประชาสัมพัน ธผา นสื่ อต าง ๆ เชน แผน พับ หนังสือพิมพ วิ ทยุทองถิ่น และการจัด นิทรรศการ
c
.nr
สําหรับผูประกอบการ กลุมวิสาหกิจชุมชนไดดําเนินการจัดฝกอบรม สัมมนาใหความรูเกี่ยวกับ

rd ic
มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน สรางแรงจูงใจและการยกยองผลิตภัณฑชุมชนที่ไดรับการรับรอง โดย
การสงเสริมในดานการตลาดทั้งในและตางประเทศ และมีการนําไปจําหนายและเผยแพรสินคาใน

จ า ก
ตลาดตางประเทศดวย อาทิ ประเทศจีน สิงคโปร มาเลเซีย ญี่ปุน เปนตน

ม า ว
้ 3
4) การควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ

a d แ ก 5 : 3
การควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ เนื่องจากมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ไมไดเปนมาตรฐาน
ln o นวล 21:2
บังคับ ดังนั้นการรักษาคุณภาพผลิตภัณฑหลังไดรับการรับรองจึงเปนสิ่งจําเปนและสําคัญ สํานักงาน

w วิช 2
มาตรฐานผลิ ตภัณ ฑ อุตสาหกรรม ไดกําหนดมาตรการในการควบคุม รัก ษาคุณ ภาพผลิตภั ณ ฑ
o
ี์น้ d ยกร /256
ภายหลังไดรับการรับรอง เชน การสุมเก็บตัวอยางผลิตภัณฑ เพื่อการทดสอบคุณภาพ อยางนอย 1


ไ ย นา 9/06
ครั้ง ตอป การจัดฝกอบรม/สัมมนา เพื่อใหความรูในเรื่องการรักษาคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ การ

ประสานงานกับผูเชี่ยวชาญในการใหคําแนะนํา สําหรับกรณีผลิตภัณฑที่จะตองมีการควบคุมเปน

โด ื่อ 0
พิเศษ คือ ประเภทอาหาร เครื่องดื่ม เพราะผลิตภัณ ฑเหลานี้เกี่ยวของกับรางกาย และชีวิตของ
ผูบริโภค ทางสํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดจะใหความสําคัญอยางมากในการใหคําปรึกษาแนะนํา
เม
ตรวจสอบขั้นตอนการผลิต และการสุมตรวจจัดเก็บตัวอยางเพื่อสงหนวยตรวจสอบ ทดสอบ เพือ่ ให
คุณภาพของผลิตภัณฑประเภทอาหาร และเครื่องดื่ม เปนที่ยอมรับของตลาดและผูบริโภค รวมทั้ง
ใหความสําคัญกับหนวยตรวจสอบของทั้งภาครัฐและเอกชนตองไดรับการรับรองมาตรฐานหนวย
ปฏิบัติงานรับรองดวย
5) การตรวจสอบผลิตภัณฑ
ในการรักษามาตรฐานของผลิตภัณฑชุมชน โดยการตรวจสอบและประเมินผลผลิตภัณฑ
เปนประจําตอเนื่อง นับวามีความสําคัญตอการพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑชุมชน ชวยผลักดันให
ผลิตภัณฑมีมาตรฐานเปนที่ยอมรับ ทัดเทียมกับมาตรฐานสากล ทางสํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด
65

ลําพูน ไดดําเนินการหลายแนวทาง ไดแก การเก็บตัวอยางผลิตภัณฑจากแหลงผลิต สุมเก็บตัวอยาง


ผลิตภัณฑที่จําหนายในทองตลาดทั่วไป สงหนวยตรวจสอบผลิตภัณฑกอนการรับรอง จะมีการ
ตรวจประเมินผลโดยการทดสอบจากผลิตภัณฑชนิดเดียวกันหลาย ๆครั้ง จํานวนหลายชิ้น จนกวา
ผลการทดสอบจะมี คุ ณ ภาพตามมาตรฐานที่ กํ า หนดไว หลั ง จากนั้ น ทางสํ า นั ก งานมาตรฐาน
ผลิตภัณฑอุตสาหกรรมจะออกใบรับรองคุณภาพให ซึ่งจะมีอายุ 3 ป และทุกปจะตองมีการสุม
ตัวอยาง เพื่อนําไปตรวจประเมินผลซ้ํา อยางนอยปละ 1 ครั้ง ซึ่งผลการตรวจสอบซ้ําในผลิตภัณฑ

. t h
ชุมชนในจังหวัดลําพูน สวนใหญจะผานการตรวจสอบ ซึ่งบงชี้ไดวา กลุมวิสาหกิจชุมชนในจังหวัด

go
ลําพูนนั้น สามารถรักษาคุณภาพ และมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนไดเปนอยางดี
6) การสงเสริมดานการตลาด
c t.
.nr
ในการสงเสริมดานการตลาดนั้น ทางสํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดลําพูน ถือไดวาเปน

rd ic
หนวยงานสนับสนุนเขามาทําหนาที่ในการประสานงานกับสวนราชการ ภาคเอกชน ที่เกี่ยวของใน
การเผยแพรผลิตภัณฑชุมชนใหเปนที่รูจัก การดําเนินงานสวนใหญดานการสงเสริมใหความสําคัญ

จ า ก
กั บ ตลาดนํ า การผลิ ต จะมี ก ารจั ด งานแสดงสิ น ค า ทั้ ง ภายในจั ง หวั ด และต า งจั ง หวั ด รวมทั้ ง

ม า ว
้ 3
ตางประเทศดวย ใหขอมูลขาวสารดานการตลาด การประชาสัมพันธผลิตภัณฑชุมชนทางวิทยุ

a
ชุมชน จัดนิทรรศการ เปนตน
d แ ก 5 : 3
ln o นวล 21:2
7) การสงเสริมดานวัตถุดิบ

ow วิช 2
ทางสํานักงานอุตสาหกรรมจะเนนสงเสริมใหมีการนําวัตถุดิบในชุมชนมาใชประโยชน

ี์น้ d ยกร /256


ใหมากที่สุด และนําภูมิปญญาทองถิ่นมาพัฒนาเปนผลิตภัณฑ และสรางมูลคาของผลิตภัณฑให

ฟ ล
ไ ย นา 9/06
สูงขึ้น อาทิ พืชสมุนไพรพื้นบาน งานจักสาน งานฝมือจากผูสูงอายุในชุมชนที่ควรอนุรักษไว เปน
ตน นอกจากนี้ในสวนวัตถุดิบที่ไมมีในชุมชนทางสํานักงานอุตสาหกรรมจะสนับสนุนขอมูลแหลง

โด 4.2.2ื่อผลการดํ
วัตถุดิบให
0
เ1)มการสรางงานาเนิสรนงานหลั งจากการไดรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน
างรายไดใหกับคนในชุมชน
ภายหลังการไดรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน แลวกลุมผูประกอบการ กลุมวิสาหกิจ
ชุมชนสามารถสรางงาน สรางรายไดใหกับคนในชุมชนไดเพิ่มมากขึ้นอยางตอเนื่อง ทั้งนี้เนื่องจาก
ผูบริโภค ประชาชนมีความเชื่อมั่นในการบริโภคผลิตภัณฑชุมชนที่ผานการรับรองฯ แลวนั้น มี
คุณภาพ ไมเปนอันตรายตอการบริโภค ถือไดวา ผลิตภัณฑชุมชนในจังหวัดลําพูนนั้นเปนที่ยอมรับ
ของตลาดในระดับหนึ่ง ดังจะเห็นไดจากมูลคาการจําหนายผลิตภัณฑ OTOP จังหวัดลําพูน ป 2549
เพิ่มขึ้น รอยละ 22.3 ป 2550 เพิ่มขึ้น รอยละ 30.4
66

2) ความสามารถในการพึ่งตนเองไดของชุมชน
ถื อ ได ว า ภายหลั ง การเข า ร ว มกลุ ม วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน และได รั บ การรั บ รองมาตรฐาน
ผลิตภัณฑชุมชนแลวทําใหประชาชนเกิดความเชื่อมั่น และแรงจูงใจในการพัฒนาคุณภาพมาตรฐาน
ผลิตภัณฑชุมชนมากขึ้น โดยผูประกอบการ กลุมวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดลําพูนสวนใหญใหความ
รวมมือจากเจาหนาที่รับเปนอยางดีในการใหขอมูล ขาวสาร เขารวมการประชุม สัมมนา และการ
อบรมใหความรูในเรื่องการพัฒนา รูปแบบผลิตภัณฑ ภายหลังจากนั้นทางสํานักงานอุตสาหกรรม

. t h
ได ทําการสํา รวจ ลงพื้ น ที่เ พื่ อตรวจเยี่ ยมสถานประกอบการตาง ๆ พบวา ผูป ระกอบการ กลุ ม

go
วิสาหกิจชุมชน สามารถประยุกตใชความรูที่ไดรับในการพัฒนาคุณภาพ รูปแบบผลิตภัณฑใหมี
มาตรฐานตามที่กําหนด
c t.
.nr
3) การพัฒนาทักษะ ความรูความสามารถของคนในชุมชน

rd ic
ในระยะแรกของการดําเนินงานพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนผูประกอบการ กลุม
วิสาหกิจยังขาดความชํานาญ ทักษะ และความรูในการพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑอยูบาน แตตอมา

จ า ก
ทางสํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดลําพูน รวมกับหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชนรวมกันจัดงานแสดง

ม า ว
้ 3
สินคา จัดอบรม ประชุม สัมมนาใหความรูเกี่ยวกับการพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑอยางตอเนื่อง ทํา

a d แ ก 5 : 3
ใหผูประกอบการ กลุมวิสาหกิจชุมชนมีความคิดสรางสรรคผลิตภัณฑรูปแบบใหม ๆ อีกทั้งมีการ
ln o นวล 21:2
จัดศึกษาดูงานในตางจังหวัดที่มีผลิตภัณฑชุมชนไดรับการรับรองเปนประจํา เพื่อใหผูประกอบการ

w วิช 2
กลุมวิสาหกิจชุมชนนําความรูมาประยุกตใชกับกลุมหรือกิจการของตัวเอง แตในปจจุบันจังหวัด
o
ี์น้ d ยกร /256
ลําพูนยังประสบปญหาในดานขาดแคลนบุคลากรผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบผลิตภัณฑ บรรจุ


ไ ย นา 9/06
ภัณฑ และนักโภชนาการอาหาร ที่จะมาใหความรู ชวยเหลือ และแนะนําผูประกอบการ กลุม

วิสาหกิจชุมชนในการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ การบรรจุผลิตภัณฑที่ทันสมัย สวยงาม รวมทั้งขาด

โด ื่อ 0
การสืบทอดภูมิปญญา จากคนรุนลูกหลาน ที่หันไปประกอบอาชีพอื่นที่สรางรายไดสูงกวา

เม
4) ความรวมมือรวมใจของคนในชุมชนในการสรางสรรคผลิตภัณฑชุมชน
ระดับความรวมมือของผูประกอบการ กลุมวิสาหกิจชุมชนนั้น พบวา สวนใหญใหความ
รวมมือในการคิด แสดงความคิดเห็น ความตองการตอเจาหนาที่รัฐ เปนอยางดี ทั้งนี้เพื่อเปนอาชีพ
เสริมในการทําผลิตภัณฑชุมชนนั้นสามารถสรางรายไดจํานวนมากใหกับคนในชุมชน ดังนั้นการ
รวมแรงรวมใจกันพัฒนาผลิตภัณฑชุมชนถือเปนสิ่งที่จะตองทําอยางตอเนื่อง เพราะสถานการณทาง
ตลาดปจจุบันมีการแขงขันสูง มีผลิตภัณฑชุมชนหลายแหงที่ผลิตสินคาเชนเดียวกัน การพัฒนา
ผลิตภัณฑชุมชนใหมีคุณภาพนั้น ถือเปนหัวใจสําคัญที่คนในชุมชนตองจัดการรวมกัน ในจังหวัด
ลําพูน กลุมวิสาหกิจชุมชนจะมีการรวมกลุมกันในการจัดงานแสดงสินคา โดยเฉพาะในชวงเทศกาล
ประจําปของจังหวัดลําพูน อาทิ งานลําไย งานกาชาด เปนตน นอกจากนี้ในทุก ๆ ป จะมีผลิตภัณฑ
67

รูปแบบใหมออกมาจําหนายตลอด ซึ่งเกิดจากความคิดสรางสรรคของผูประกอบการ กลุมวิสาหกิจ


ชุมชนเอง เพื่อตองการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑที่เปนเอกลักษณเฉพาะกลุม /ชุมชน
5) ความสามารถในการพัฒนาและดํารงไว ซึ่งคุณภาพของสินคา
ความสามารถในการพัฒนาและดํารงไวซึ่งคุณภาพของสินคาของผูประกอบการ กลุม
วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนในจั ง หวั ด ลํ า พู น พบว า การตรวจสอบคุ ณ ภาพผลิ ต ภั ณ ฑ โ ดยการสุ ม ตั ว อย า ง
ผลิตภัณฑเพื่อการตรวจสอบ ทดสอบ สวนใหญการตรวจสอบและประเมินผลมาตรฐานผลิตภัณฑ

. t h
จะผานการประเมิน ทั้งนี้ทุกกลุมตางก็ตองการใหผลิตภัณฑของกลุม/ชุมชนไดรับการรับรอง เมื่อ

go
ไดรับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนนั้นหมายความวา ผลิตภัณฑของชุมชน/กลุมมีคุณภาพ

t.
บริโภคไดปลอดภัย และนอกจากนี้ผูบริโภคสวนใหญจะเลือกซื้อสินคาที่มีคุณภาพผานการรับรอง
c
.nr
จากหนวยงานที่มีความนาเชื่อถือ มากกวาที่จะซื้อสิ้นคาที่ไมมีคุณภาพ ไมผานการรับรอง

rd ic
4.2.3 ปญหาและอุปสรรคในการการสงเสริมการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนของ

า ก
สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดลําพูน


สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดลําพูนประสบปญหาในการสงเสริมการรับรองมาตรฐาน
ม ว
้ 3
d
ผลิตภัณฑชุมชนดังนี้
a แ ก 5 : 3
ln o นวล 21:2
1. หนวยงานที่เกี่ยวของในระดับจังหวัด/กรม/กระทรวง ยังขาดการบูรณาการแผน/การ

w วิช 2
ดําเนินงานยังอยูในลักษณะตางคนตางทํา เนนงานที่อยูในภารกิจของหนวยงานตนเองเทานั้น ยังไม
o
ี์น้ d ยกร /256
มีการเชื่อมโยงและสนับสนุนการปฏิบัติงานซึ่งกันและกัน
2. ขาดหนวยงานหลักในการตรวจสอบหรือทดสอบระดับพื้นที่จังหวัดลําพูน สงผลให

ฟ ล
ไ ย นา 9/06
การดําเนินงานรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนเกิดความลาชา
3. บุ ค ลากรของสํ า นั ก งานอุ ต สาหกรรมจั ง หวั ด ลํ า พู น มี จํ า นวนไม เ พี ย งพอต อ การ
โด ื่อ 0
ดําเนินการใหคําปรึกษาแนะนํา และการเก็บตัว อยางผลิตภัณฑเ พื่อการตรวจสอบ ประเมินผล

เม
มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน มีผลใหการดําเนินงานลาชา ไมครอบคลุมพื้นที่จังหวัดลําพูน
4. ขาดการประชาสัมพันธดานมาตรฐานผลิตภัณฑที่เพียงพอ และทั่วถึง เพื่อใหผูผลิต
ผู บ ริ โ ภค ประชาชนทั่ ว ไปได เ ห็ น ถึ ง ความสํ า คั ญ ของผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ไ ด รั บ การรั บ รองมาตรฐาน
ผลิตภัณฑชุมชน
5. ขาดนักออกแบบผลิตภัณฑ ไมมีผลิตภัณฑที่ใหม ๆ ออกสูตลาด หรือตรงกับความ
ตองการของตลาด
6. มีการลอกเลียนแบบรูปแบบผลิตภัณฑสูง แขงขันกันขาย และมีการตัดราคา
7. ขาดบรรจุภัณฑที่ดี เหมาะสม และทันสมัย
68

4.2.4 ขอเสนอแนะสําหรับการพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน
จากป ญ หาตา ง ๆ ทางผู บ ริ ห ารและบุค ลากรที่เ กี่ย วขอ งของสํ า นั ก งานอุ ต สาหกรรม
จังหวัดลําพูน มีขอเสนแนะดังนี้
1. หนวยงานระดับกระทรวง กรม และจังหวัดควรมีการจัดทําแผนงานในดานการ
พัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนที่ชัดเจน เพื่อใหเกิดการบูรณาการระหวางหนวยงาน และนํามา
ปฏิบัติได

. t h
2. หนวยงานระดับกระทรวง กรม ควรจัดสงเจาหนาที่ผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบ

go
ผลิตภัณฑ บรรจุภัณฑ นักโภชนาการ มาสนับสนุนเพิ่มเติม เพื่อใหเกิดการทํางานดานการพัฒนา
มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนที่มีประสิทธิมากยิ่งขึ้น
c t.
.nr
3. หนวยงานระดับกระทรวง กรม ควรสนับสนุนใหมีหนวยงานเจาภาพหลักในการ

rd ic
ดําเนินงานตรวจสอบ ประเมินผลคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนในระดับจังหวัด เพื่อใหเกิดการ
ทํางานที่รวดเร็ว และไมเกิดความซ้ําซอนในการปฏิบัติงานของหนวยงานระดับจังหวัดหนวยงาน
อื่น
จ า ก
ม า ว
้ 3
4. ควรมีการสงเสริม และสนับสนุนการรวมกลุมตาง ๆ ตามหลักการ Cluster เพื่อให

a d แ ก : 3
กลุมวิสาหกิจที่ประกอบกิจการหรือผลิตสินคาชนิดเดียวกัน เกิดการเชื่อมโยงชวยเสนอกันในการ
5
ln o นวล 21:2
ใหขอมูลขาวสาร การกําหนดราคาที่เปนมาตรฐานเดียวกัน การชวยเหลือกันดานวัตถุดิบ การพัฒนา

w วิช 2
ผลิตภัณฑ รูปแบบผลิตภัณฑ บรรจุภัณฑและการบริหารจัดการกลุม เปนตน
o
ี์น้ d ยกร /256
5. ควรมีการประชาสัมพันธใหความรูแกผูผลิต ผูบริโภคและประชาชนทั่วไปไดรับ


ทราบถึงสินคาที่ไดผานการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนวามีคุณภาพ และมาตรฐานเพียงใด

ไ ย นา 9/06

เพื่อใหเกิดความมั่นใจแกผูผลิตวาจะทําใหผลิตภัณฑมีคุณภาพมากขึ้น เปนที่ยอมรับของตลาด และ

โด ื่อ 0
ผูบริ โภค ประชาชนทั่ว ไปยอมรั บวาผลิ ตภัณ ฑ ชุม ชนที่ ผา นการรับ รองแลว นั้น มี คุณ ภาพ และ
ปลอดภัย
เม
69

4.3 การทดสอบสมมติฐาน
การทดสอบสมมติฐ านขอ ที่ 1 ที่วา “กลุม วิส าหกิจ ชุม ชนในจัง หวัด ลํา พูน ประสบ
ผลสําเร็จในระดับมากหลังจากไดรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน”
การทดสอบสมมติฐานนี้ ผูวิจัยไดใชคาสถิติ T-Test และกําหนดคาระดับความเชื่อมั่น
(ระดับนัยสําคัญ) ที่ 0.01 และกําหนดคาเฉลี่ยที่ใชในการทดสอบไวที่ 3.41 ดังนั้นจึงกําหนด
สมมติฐานทางสถิติไวดังนี้

. t h
HO: กลุมวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดลําพูน ประสบผลสําเร็จในระดับไมมากหลังจากได

go
รับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ถาคาเฉลี่ยที่คํานวณไดนอยกวาคาที่กําหนดไว คือ 3.41 อยางมี
นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 หรือ HO: μ < 3.41
c t.
rd ic .nr
H1: กลุมวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดลําพูน ประสบผลสําเร็จในระดับมากหลังจากได
รับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน ถาคาเฉลี่ยที่คํานวณไดมากกวาหรือเทากับคาที่กําหนดไวคือ 3.41
อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 หรือ H1: μ ≥ 3.41

จ า ก

ตาราง 4.17 คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน า ชุม้วชนในจังหวั3ด3
มวิสาหกิจก
เปรียบเทียบผลการดําเนินการหลังจากการไดรับรอง
มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนของกลุ
ผลการดําเนินการหลังo a d ล แ 5 : ลําพูน
l ว :2
nตภัณฑิชชุมชนน 21 S.D. df จํานวน คา t Sig.
จากการได รับรอง T-value 3.41
มาตรฐานผลิ
o w ว 2
d 6
X


ดานการสร

์ลน มแข็ายงของชุก มชนและ ร
างงานสรางรายได
2 5 4.32 .59 254 255 24.78 .000


ดานความเข
ไ ดานคุณยภาพของผลิ
พึ ง
่ ตนเอง น ต9ภัณ/ฑ0 6 / 4.31 .39 254 255 36.18 .000

โผลสํด าเร็จการขอรั

่ ื 0 4.44 .52 254 255 31.52 .000

ผลิเม
บรองมาตรฐาน
4.36 .43 254 255 35.33 .000
ตภัณฑชุมชนโดยรวม

จากตาราง 4.17 พบวา กลุมวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดลําพูน ประสบผลสําเร็จในระดับ


มากหลังจากไดรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน โดยภาพรวม พบวา ในการทดสอบคาเฉลี่ยที่
คํานวณไดกับคาที่กําหนดแลว พบวาสถิติที (T-Test) มีคาเทากับ 35.33 และมีนัยสําคัญ
(Significant) เทากับ 0.000
ดังนั้น จากสมมติฐานการทดสอบหาวา กลุมวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดลําพูน ประสบ
ผลสําเร็จในระดับมากหลังจากไดรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนนั้น จากการคํานวณทางสถิติ
70

พบวา ปฎิเสธ HO ยอมรับ H1 นั้นคือ กลุมวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดลําพูน ประสบผลสําเร็จในระดับ


มากหลังจากไดรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน
นอกจากนี้ผลการสัมภาษณผูบริหารและเจาหนาที่ผูเกี่ยวของของสํานักงานอุตสาหกรรม
จังหวัดลําพูน พบวา ภายหลังการไดรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน พบวา ผลิตภัณฑชุมชนใน
จังหวัดลําพูน เปนที่ยอมรับของตลาดมากขึ้น ดังจะเห็นไดจากมูลคาการจําหนายผลิตภัณฑ OTOP
จังหวัดลําพูน ป 2549 เพิ่มขึ้น รอยละ 22.3 ป 2550 เพิ่มขึ้น รอยละ 30.4 กลุมผูประกอบการ/กลุม

. t h
สามารถประยุกตใชความรูที่ไดรับในการพัฒนาคุณภาพ รูปแบบผลิตภัณฑใหมีมาตรฐานตามที่

go
กําหนด และมีความคิดสรางสรรคผลิตภัณฑรูปแบบใหมเพิ่มขึ้น
ดังนั้นสมมติฐานขอที่ 1 จึงไดรับการยอมรับ
c t.
rd ic .nr
การทดสอบสมมติฐานขอที่ 2 ที่วา “กลุมวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดลําพูนประสบผลสําเร็จ
แตกตางกันตามประเภทของผลิตภัณฑภายหลังจากไดรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน”

จ า ก
การทดสอบสมมติฐานขอที่ 2 ผูวิจัยไดทําการวิเคราะหโดยใชคาความแปรปรวน

ม า ว
้ 3
(Analysis of Variance - ANOVA) โดยกําหนดระดับนัยสําคัญที่ 0.05

a d แ ก 5 : 3
การทดสอบสมมติฐานขอที่ 2 ผูศึกษาไดกําหนดจัดแบงระดับผลสําเร็จภายหลังจากได
ln o นวล 21:2
รับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนในภาพรวม ออกเปน 5 ระดับ ไดแก

o w ช

้ d าง 1.00ยก–ร1.80 /ไม2ไ5ด/ไม6ม2ีการดําเนินการ/ไมการแปลผล
ี์นระหว
คะแนนเฉลี ย
่ ว

ไฟ ระหว น า 0 6 ไดผล

ย /
9– 3.40 ผลการดําเนินการอยูในระดับพอสมควร/บรรลุผลปานกลาง
าง 1.81 – 2.60 ผลการดําเนินการอยูในระดับนอย/บรรลุผลนอย
โดระหว 0
าง 2.61
ระหวางื่อ3.41 – 4.20 ผลการดําเนินการอยูในระดับคอนขางมาก/บรรลุผลคอนขางมาก
เมาง 4.21 – 5.00 ผลการดําเนินการอยูในระดับมาก/บรรลุผลอยางมาก
ระหว
71

ตาราง 4.18 ความสัมพันธระหวางประเภทกิจการวิสาหกิจชุมชนกับผลสําเร็จภายหลังจากไดรับรอง


มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน
คาเฉลี่ยระดับผลสําเร็จ
ประเภทกิจการวิสาหกิจ ภายหลังจากไดรับรอง
N รอยละ F df Sig
ชุมชน มาตรฐานผลิตภัณฑ
ชุมชน
1. อาหาร 30 11.8 4.42
. t h
2. เครื่องดื่ม 24 9.4 4.43

c t. go
.nr
3. ผาและเครื่องแตงกาย 87 34.1 4.43
4. สมุนไพรที่ไมใชอาหาร 36 14.1 4.08
ic
r 4.36 5.010 4 .001

78 30.6 d
และยา
5. เครื่องใช เครื่องประดับ
จ า ก
ตกแตง ศิลปะและของที่
ม า ว
้ 3
ระลึก
a d 255 แ ก 5 : 3
รวม
l o ว ล 100.0
:2 4.36
n4.18 ิชพบวนา เมื่อวิเคราะห21ถึงความสัมพันธระหวางประเภทกิจการวิสาหกิจ
o w
จากตาราง
2
งวจากไดรับรองมาตรฐานผลิ
ชุมชนกับd
– ANOVA
้ ี ร
าเร็จภายหลั
5 6
์ลน พบวาาคยา กF = 5.0106/คา2df = 4 และคา Sig = 0.001 ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับระดับนัยสําคัญ
ผลสํ ตภัณฑชุมชน โดยใชคา Analysis of Variance

ไฟทางสถิ ติที่ระดันบความเชื่อมั่น00.05 แสดงวา ประเภทกิจการวิสาหกิจชุมชนที่แตกตางกันประสบผลสําเร็จ


ย 9 /
โ ด
ในการดํ าเนิ
ภายหลังจากไดรื่อ

0
การภายหลั งจากไดรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนที่แตกตางกัน เมื่อพิจารณาถึงผลสําเร็จ

เ1.มประเภทกิจการเครื่องดื่ม และประเภทผาและเครื่องแตงกาย ประสบผลสําเร็จ


ับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนของกลุมวิสาหกิจชุมชนแตละประเภทจากมากไปหานอย ดังนี้

ภายหลังจากไดรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนในระดับมากที่สุดเทากัน โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.43


2. ประเภทกิจการอาหาร ประสบผลสําเร็จภายหลังจากไดรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ
ชุมชนในระดับมากที่สุดเทากัน มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.42
3. ประเภทกิจการเครื่องใช เครื่องประดับตกแตง ศิลปะและของที่ระลึก ประสบผลสําเร็จ
ภายหลังจากไดรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนในระดับมากที่สุดเทากัน มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.36
4. ประเภทกิจการสมุนไพรที่ไมใชอาหารและยาประสบผลสําเร็จภายหลังจากไดรับรอง
มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนในระดับมากที่สุดเทากัน มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.08
72

ตาราง 4.19 การวิเคราะหหาความแตกตางระหวางกลุมและภายในกลุมประเภทกิจการวิสาหกิจ


ชุมชนกับผลสําเร็จภายหลังจากไดรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน

95% Confidence Interval


Mean Std.
ประเภทกิจการวิสาหกิจชุมชน Sig. Lower Upper
Difference Error
Bound Bound
อาหาร เครื่องดื่ม -.0157 .11434 .891 -.2409 .2095
ผาและเครื่องแตงกาย -.0123 .08840
.
.889 t h -.1864 .1618
สมุนไพร .3385(*) .10321
c t.go
.001 .1352 .5417

.nr
เครื่องใช .0564 .08970 .530 -.1202 .2331
เครื่องดื่ม อาหาร
rd ic
.0157 .11434 .891 -.2095 .2409
ผาและเครื่องแตงกาย .0034 .09626 .972 -.1862 .1930
สมุนไพร
จ า ก .3542(*) .11002 .001 .1375 .5709

ม า
เครื่องใช

้ 3 .0721 .09746 .460 -.1198 .2641

a d
อาหาร
แ ก 5 : 3 .0123 .08840 .889 -.1618 .1864

ln o นวล 21:2
ผาและเครื่อง เครื่องดื่ม -.0034 .09626 .972 -.1930 .1862

o w วิช 2
แตงกาย สมุนไพร .3508(*) .08274 .000 .1878 .5137

ี์น้ d ยกร /256


เครื่องใช .0687 .06510 .292 -.0595 .1970

ฟ ล
ไ ย นา 9/06
สมุนไพร อาหาร
เครื่องดื่ม
-.3385(*)
-.3542(*)
.10321
.11002
.001
.001
-.5417
-.5709
-.1352
-.1375

โด ื่อ 0 ผาและเครื่องแตงกาย -.3508(*) .08274 .000 -.5137 -.1878

เม
เครื่องใช -.2821(*) .08412 .001 -.4477 -.1164
เครื่องใช อาหาร -.0564 .08970 .530 -.2331 .1202
เครื่องดื่ม -.0721 .09746 .460 -.2641 .1198
ผาและเครื่องแตงกาย -.0687 .06510 .292 -.1970 .0595
สมุนไพร .2821(*) .08412 .001 .1164 .4477
* ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ .05
73

จากตาราง 4.19 ผูศึกษาไดทําการวิเคราะหหาความแตกตางระหวางกลุมและภายในกลุม


ประเภทกิจการวิสาหกิจชุมชนกับผลสําเร็จภายหลังจากไดรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนดวยคา
LSD ในระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 พบวา
กิจการวิสาหกิจชุมชนประเภทอาหารประสบผลสําเร็จภายหลังจากไดรับรองมาตรฐาน
ผลิตภัณฑชุมชนที่แตกตางไปจากกิจการวิสาหกิจชุมชนประเภทสมุนไพรอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ
ที่ 0.05 กลาวคือ กลุมอาหารประสบความสําเร็จสูงกวา

. t h
กิจการวิสาหกิจชุมชนประเภทผาและเครื่องแตงกายประสบผลสําเร็จภายหลังจากได

go
รับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนที่แตกตางไปจากกิจการวิสาหกิจชุมชนประเภทสมุนไพรอยางมี

t.
นัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 กลาวคือ กลุมเสื้อผาประสบความสําเร็จสูงกวา
c
.nr
กิจการวิสาหกิจชุมชนประเภทสมุนไพรประสบผลสําเร็จภายหลังจากไดรับรองมาตรฐาน

rd ic
ผลิตภัณฑชุมชนนอยกวากิจการทุกประเภทไมวาจะเปนกิจการวิสาหกิจชุมชนประเภทอาหาร
เครื่องดื่ม ผาและเครื่องแตงกาย และเครื่องใช อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05

จ า ก
กิจการวิสาหกิจชุมชนประเภทเครื่องใชประสบผลสําเร็จภายหลังจากไดรับรองมาตรฐาน

ม า 3
ผลิตภัณฑชุมชนที่แตกตางไปจากกิจการวิสาหกิจชุมชนประเภทสมุนไพรอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ


a
ที่ 0.05 แตไมแตกตางจากกลุมอื่น ๆ
d แ ก 5 : 3
ln o นวล 21:2
ดังนั้นสมมติฐานขอที่ 2 จึงไดรับการยอมรับ

o w วิชฐานขอที่ 32ที่วา “ผูประกอบการ/กลุมรัฐวิสาหกิจชุมชนในจังหวัด


ลําพูนไดี้ รdับการรับการสนั
การทดสอบสมมติ
ก ร บสนุนชว5 6
์ชุมลชนอยน างมาก”าย 6/2 อจากภาครัฐ และความรวมมือจากสมาชิกกลุมวิสาหกิจ
ยเหลื

ไฟ ยการทดสอบสมมติ น 9/0 ฐานนี้ ผูวิจัยไดใชคาสถิติ T-Test และกําหนดคาระดับความเชื่อมั่น


(ระดัโบดนัยสําคัญ) 0ที่ 0.01 และกําหนดคาเฉลี่ยที่ใชในการทดสอบไวที่ 3.41 ดังนั้นจึงกําหนด
สมมติฐานทางสถิมเH : ื่อผูตปิไระกอบการ/กลุ
O
วดังนี้
มรัฐวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดลําพูนไดรับการรับการสนับสนุน
ชวยเหลือจากภาครัฐ และความรวมมือจากสมาชิกกลุมวิสาหกิจชุมชนไมมาก ถาคาเฉลี่ยที่คํานวณ
ไดนอยกวาคาที่กําหนดไว คือ 3.41 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 หรือ HO: μ < 3.41
H1: ผูประกอบการ/กลุมรัฐวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดลําพูนไดรับการรับการสนับสนุน
ชว ยเหลื อ จากภาครัฐ และความร ว มมื อจากสมาชิก กลุมวิ ส าหกิจ ชุ มชนอยางมาก ถาคาเฉลี่ย ที่
คํานวณไดมากกวาหรือเทากับคาที่กําหนดไวคือ 3.41 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 หรือ
H1: μ ≥ 3.41
74

ตาราง 4.20 คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบคาสถิติการไดรับการสนับสนุนชวยเหลือ


จากภาครัฐ และความรวมมือจากสมาชิกกลุมวิสาหกิจชุมชน

การไดรับการสนับสนุนชวยเหลือจาก T-value 3.41


ภาครัฐ และความรวมมือจากสมาชิก
X S.D. df จํานวน คา t Sig.
กลุมวิสาหกิจชุมชน
การสนับสนุนสงเสริมจากหนวยงานรัฐ 3.94 .43 254 255 19.75 .000
ความรวมมือสามัคคีของสมาชิกกลุม 3.79 .43 254
. t h 255 14.04 .000
รวม 3.90 .39
got
254
c . 255 19.95 .000

จากตาราง 4.20 พบวา ผูประกอบการ/กลุมรัฐ.n


r
d c
รับการสนับสนุนชวยเหลือจากภาครัฐ และความรrวiมมือจากสมาชิกกลุมวิสาหกิจชุมชนอยางมาก
วิสาหกิจชุมชนในจังหวัดลําพูนไดรับการ

โดยภาพรวม พบวา ในการทดสอบคาเฉลี่ยทีก่คํานวณไดกับคาที่กําหนดแลว พบวาสถิติที (T-Test) มี


า จ า
d ม
คาเทากับ 19.95 และมีนัยสําคัญ (Significant)
เมื่ อ พิ จ ารณาผลการทดสอบแต

เทากับ 0.000
ล้วะประเด็ น ปรากฏว
: 3 3 า การสนั บ สนุ น ส ง เสริ ม จาก
หนวยงานรัฐ พบวา คา t aมีคาเทากับ 19.75 แ และมีระดั5
ln oกกลุม พบวนวาลคา t มี2คา1เท:ากั2บ 14.04 และมีระดับนัยสําคัญที่ 0.01 เทากับ
บนัยสําคัญที่ 0.01 เทากับ 0.000 และความ
รวมมือสามัคคีของสมาชิ
o w วิช 2
0.000
ี์น้ dดังนั้น จากสมมติ ก ร 2 5 6
ลําล บยการสนับสนุ /
ฐานการทดสอบหาว า ผูประกอบการ/กลุมรัฐวิสาหกิจชุมชนในจังหวัด
ฟ น า
ไ ชุมชนอยยางมาก นั้น จากการคํ
พูนไดรับการรั
0 6 นชวยเหลือจากภาครัฐ และความรวมมือจากสมาชิกกลุมวิสาหกิจ
9 /
กลุมโรัด
ฐวิสาหกิจชุม0
านวณทางสถิติพบวา ปฎิเสธ H ยอมรับ H นั้นคือ ผูประกอบการ/
O 1


่ ื
เดัมงนั้นสมมติ
รวมมือจากสมาชิ
ชนในจังหวัดลําพูนไดรับการรับการสนับสนุนชวยเหลือจากภาครัฐ และความ
กกลุมวิสาหกิจชุมชนอยางมาก
ฐานขอที่ 3 จึงไดรับการยอมรับ

You might also like