Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 2

ท่อลำเลียงอาหาร หรือ “โฟลเอม” (Phloem) คือ เนื้อเยื่อที่ทำหน้าที่ลำเลียงสาร

อาหาร โดยเฉพาะ “น้ำตาลกลูโคส” (Glucose) ที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงในรูปของ


สารละลาย นำส่งจากใบไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืชที่กำลังมีการเจริญเติบโต รวมถึงการนำไปเก็บ
สะสมไว้ที่ใบ รากและลำต้น การลำเลียงอาหารสามารถเกิดได้ในทุกทิศทาง โดยอาศัยปัจจัยต่างๆ
ดังนี้

• การแพร่ (Diffusion) คือ การลำเลียงสารผ่านเนื้อเยื่อส่วนต่าง ๆ จากเซลล์ของใบสู่


เซลล์ข้างเคียงต่อกันเป็นทอด ๆ เป็นการกระจายอนุภาคของสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นสูง
ไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นต่ำ
• การลำเลียงแบบใช้พลังงาน (Active Transport) คือ การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้ม
เซลล์จากบริเวณที่สารมีความเข้มข้นต่ำไปสู่บริเวณที่มีความเข้มข้นสูง ซึ่งอาศัยพลังงานที่ได้
จากการหายใจระดับเซลล์และโปรตีนตัวพาในการลำเลียง
การลำเลียงอาหารในโฟลเอมเกิดจากกลุ่มเซลล์ที่ยังมีชีวิตอยู่ และยังทำหน้าที่สร้างความแข็งแรงให้
แก่ลำต้นของพืช การลำเลียงสารของพืชมีความเกี่ยวข้องกับกระบวนการต่าง ๆ มากมาย เป็นการ
ประสานงานกันระหว่างกลุ่มเนื้อเยื่อในมัดท่อลำเลียง เพื่อนำส่งน้ำ แร่ธาตุ และสารต่าง ๆ ไปยัง
น้ำ สารอาหารและแร่ธาตุต่าง ๆ จะถูกลำเลียงไปใน เนื้อเยื่อเป้าหมายของพืช
รูปของสารละลาย ตั้งแต่บริเวณปลายรากหรือที่เรียก
ว่า “ขนราก” (Root Hair) จำนวนมากของพืชซึ่งดูด โครงสร้างและระบบการเรียงตัวของ
สารต่าง ๆ ขึ้นมาจากพื้นดินและนำส่งต่อไปยังระบบ
ท่อส่งน้ำและอาหารในพืชราก
ท่อลำเลียงหรือกลุ่มเซลล์ที่เรียกว่า “มัดท่อลำเลียง”
(Vascular Bundle) ที่ประกอบด้วยเนื้อเยื่อสำคัญ • พืชใบเลี้ยงเดี่ยว : ไซเลมเรียงตัว
2 กลุ่ม คือ อยู่รอบพิธ (Pit) ซึ่งเป็นเนื้อเยื่ออยู่ตรง
ส่วนกลางของราก ขณะที่โฟลเอมแทรกตัว
ท่อลำเลียงน้ำและแร่ธาตุ หรือ “ไซเลม” อยู่ระหว่างไซเล
(Xylem) คือ เนื้อเยื่อที่ทำหน้าที่ลำเลียงน้ำและแร่ • พืชใบเลี้ยงคู่ : ไซเลมเรียงตัว
คล้ายดวงดาวหลายแฉก (2-5 แฉก)
ธาตุจากดิน ผ่านรากขึ้นสู่ลำต้นไปยังใบและปลาย
บริเวณกึ่งกลางของราก ส่วนโฟลเอม
ยอดของพืช ประกอบด้วยเวสเซล (Vessel) และเทร
แทรกอยู่ระหว่างไซเลม
คีด (Tracheid) ซึ่งเป็นกลุ่มเซลล์ที่ตายแล้วเรียงต่อ
กัน ซึ่งจะสลายตัวไปเมื่อพืชเจริญเติบโตเต็มที่ ส่งผล
ให้ท่อลำเลียงหรือไซเลมมีลักษณะกลวงตลอดทั้งแนว ลำต้น
วิธีลำเลียงน้ำเข้าสู่ท่อไซเลม • พืชใบเลี้ยงเดี่ยว : ไซเลมและ
โฟลเอมอยู่รวมกันอย่าง
1)อะโพพลาสต์(apoplast) เป็นการลำเลียงจาก กระจัดกระจายทั่วทั้งลำต้น
อีกเซลล์ไปยังอีกเซลล์ โดยผ่านผลังเซลล์ที่ติดกัน • พืชใบเลี้ยงคู่ : ไซเลมและโฟล
และช่องว่างภายนอกเซลล์ เอมรวมตัวอยู่ด้วยกันอย่างเป็น
ระเบียบรอบลำต้น โดยมีโฟลเอม
2)วิธีซิมพลาสต์(symplast)เป็นการลำเลียงอีก เรียงตัวอยู่ด้านนอกและไซเลมเรียงตัว
เซลล์ไปยังอีกเซลล์ โดยผ่านทางไซโทพลาสซึมที่ อยู่ด้านใน มีเนื้อเยื่อแคมเบียม
เชื่อมต่อกัน และทะลุไปยังอีกเซลล์นึงโดยผ่านทาง (Cambium) แทรกอยู่ตรงกึ่งกลางระ
พลาสโมเดสมาตา(plasmodesmata) หว่างไซเลมและโฟลเอม

โดยการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุจะมีทิศทางการลำเลียง สำหรับลำต้นพืชใบเลี้ยงคู่เนื้อแข็งหรือพืชที่มีอายุมาก โดยเฉพาะในกลุ่มของพืชยืนต้น กลุ่มเซลล์


ขึ้นสู่ปลายยอดของต้นไม้เท่านั้น ไม่มีการลำเลียงลง ตั้งแต่เนื้อเยื่อแคมเบียมออกไปจนถึงชั้นนอกสุด คือ ส่วนที่เรียกว่า “เปลือกไม้” ขณะที่กลุ่มเซลล์บริเวณ
กลับด้านล่าง เป็นระบบที่อาศัยการแพร่แบบออสโม ถัดจากเนื้อเยื่อแคมเบียมเข้ามาด้านในทั้งหมด คือ ส่วนของ “เนื้อไม้” หรือไซเลม
ซิส (Osmosis) ตั้งแต่ในรากและแรงดึงตาม
ธรรมชาติ เช่น กัตเตชัน(Guttation)
ลมสงบ อุณหภูมิต่ำ และไม่มีแสงสว่าง ทำให้พืชคายน้ำได้ไม่ปกติ เมื่อพืชไม่สามารถคายน้ำได้ทำให้น้ำ
• แรงดันราก (Root Pressure) คือ แรงดันที่ ถูกดันออกทางปาก ใบจากรูเล็กๆเรียกว่า ไฮดาโทด(hydathode) ซึ่งอยู่ปลายสุดของเส้นใบ ซึ่งเกิดได้
ทำให้น้ำเคลื่อนที่ต่อเนื่องกันจากรากเข้าสู่ไซเลมและ ไม่บ่อยนักนอกจากสภาพแวดล้อมภายนอกจะไม่เหมาะสม
ต่อไปจนถึงปลายยอดของพืช เป็นแรงดันที่เกิดจากกา
รออสโมซิสของน้ำในดิน เกิดกับพืชบางชนิดเท่านั้น
เพราะในสภาพอากาศที่ร้อนจัดและแห้งแล้ง จนพืชไม่
สามารถดันรากได้
• แรงคาพิลลารี (Capillary Force) คือ แรง
ดึงที่เกิดจากการดึงดูดระหว่างโมเลกุลของน้ำด้วย
กันเอง (Cohesion) และแรงยึดติดของโมเลกุลน้ำ
กับพื้นผิวหรือผนังเซลล์ในท่อลำเลียง
(Adhesion)อย่างไรก็ตามแรงดึงน้ำที่เกิดขึ้นนี้ไม่
มากพอที่จะดึงน้ำไปถึงยอดพืชต้นสูงๆได้ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการลำเลียงน้ำในพืช
• แรงดึงจากการคายน้ำ (Transpiration •ปริมาณน้ำในดิน
Pull) ที่ทำให้น้ำถูกดูดขึ้นไปจากราก เพื่อแทนที่ส่วน •อุณหภูมิ
ของน้ำที่พืชสูญเสียไปจำเป็นต้องอาศัยแรงยึดระหว่าง •ความเข้มข้นของสารละลายในดิสน และ การถ่ายเทอากาศในดิน
•อากาศในดิน
โมเลกุลของน้ำด้วยกันเอง(cohesion)และแรงยึด
ระหว่างโมเลกุลของน้ำกับผลังเซลล์(adhesion)การ
ลำเลียงน้ำโดยวิธีนี้สามารถเกิดขึ้นได้ต่อเนื่องจาก
1. สารอาหารหลัก (macronutrient) มี 9 ธาตุ ได้แก่ C H O N P K Ca Mg S
ข้างล่างถึงข้างบนยอดพืชโดยไม่ขาดตอน
2. สารอาหารรอง (micronutrient) มี 7 ธาตุ ได้แก่ Fe B Mn Cu Zn CI Mo
ประวัติการศึกษาการลำเลียงอาหาร
•ทำการควั่นรอบเปลือกไม้ของลำต้น เมื่อพืชเจริญระยะหนึ่งพบว่าเปลือกเหนือรอยควั่นจะ
พองออก

•พบว่าการควันเปลือกของลำต้นไม่มีผลต่อการคายน้ำของพืช แต่มีผลต่อการลำเลียงอาหาร
เนื่องจากไซเล็มยังสามารถลำเลียงน้ำได้ ส่วนเปลือกของลำต้นที่อยู่เหนือรอยควันพองออก
เนื่องจากมีการสะสมของน้ำตาลที่ไม่สามารถลำเลียงผ่านมายังด้านล่างของต้นไม้ได้

ถ้าควั่นเปลือกของลำต้นตรงบริเวณโคน ?
อาจทำให้ต้นไม้ตายได้ เพราะไม่สามารถส่งอาหารไปเลี้ยงราก รากจะขาดอาหาร
ทำให้รากตาย จึงไม่สามารถลำเลียงน้ำและสารอาหารไปยังส่วนต่างๆ ของพืชได้

การควั่นต้นไม้นิยมใช้ในการตอนต้นไม้ โดยควั่นบริเวณกิ่ง แล้วขูดเนื้อเยื่อที่ติดกับ


เนื้อไม้ออกโห้หมด แล้วจึงนำดินเปียกๆ หรือโคลนไปพอก ที่ทำเช่นนี้เพื่อให้กิ่งไม้ที่
อยู่เหนือรอยควั่นเป็นแหล่งสะสมอาหาร ช่วยทำให้รากแตกออกมาได้

ซิมเมอร์แมน (Zimmerman)
ได้ทำการทดลองโดยใช้เพลี้ยอ่อน โดยให้เพลี้ยอ่อนแทงงวงเข้าไปดูดของ
เหลวจากโฟลเอ็มซองพืช พบว่ามีของเหลวไหลมาออกทางกันของเพลี้ยอ่อน
จากนั้นได้วางยาสลบและตัดหัวของเพลี้ยอ่อนออก พบว่ามีของเหลวจากโฟล
เอ็มยังคงไหลออกมาตามงวงซองเพลี้ยอ่อนอยู่ เมื่อเอาของเหลวที่
ไหลออกจากงวงไปวิเคราะห์พบว่าส่วนใหญ่เป็น ซูโครส

สมมุติฐานการไหลของมวลสาร (Mass flow hypothesis)

การลำเลียงอาหารในโฟลเอ็มว่าเกิดจากความแตกต่างของแรงดันออสโมติกของความเข้มข้นน้ำตาลระหว่างใบและรากเซลล์ใบมีความเข้มขันของน้ำตาลสูง มีการ
ลำเลียงไปยังเซลล์ข้างเคียง และมีการลำเลียงต่อไปยังเซลล์ต่อๆ ไปจนถึงโฟลเอ็ม เกิดแรงดันให้โมเลกุลน้ำตาลเคลื่อนไปตามโฟลเอ็ม ไปยังเนื้อเยื่อที่มีความเข้ม
ข้นของน้ำตาลน้อยกว่า

เนื้อเยื่อถาวรเชิงซ้อน(ท่อลำเลียงอาหาร)
1. Sieve tube member มีลักษณะเป็นท่อตะแกรงขนาดใหญ่และยาว รูปทรงกระบอกต่อกัน ที่รอยต่อบริเวณ
ปลายเซลล์เป็นรูตะแกรงหรือซีฟเพลต (sieve plate) ทำให้ลำเลียงสารผ่านเซลล์ได้ ซีฟทิวบ์ที่แก่แล้ว
นิวเคลียสจะสลายไปแต่เซลล์ยังมีชีวิตอยู่
2. Companion cell อยู่ข้างซีฟทิวบ์ เป็นเซลล์ขนาดเล็กมีนิวเคลียสและมีชีวิต เชื่อว่ามีอิทธิพลต่อการลำเลียง
อาหารของซีฟทิวบ์
3. Phloem parenchyma เป็นเซลล์พา
เรงคิมาที่แทรกอยู่ในท่ออาหาร เซลล์พา
เรงคิมาที่เรียงตัวตามขวางกับเซลล์อื่น
เรียกว่า Phloem ray ช่วยลำเลียง
อาหารไปเลี้ยงเซลล์ด้านข้าง
4. Phloem fiber เป็นเซลล์ไฟเบอร์ที่
แทรกอยู่ในท่ออาหาร ช่วยให้ความแข็ง
แรงแก่พืช

You might also like