Thai House

You might also like

Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 17

1

เรือนไทยภาคเหนือ

ในเขตจังหวัดภาคเหนือส่วนหนึ่งมีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่มภูเขา หุบเขา และที่ดอนบนเทือกเขาสูง มีความสูงจากระดับนำำาทะเลตัำงแต่ ๑๕๐๐-๓๐๐๐ เมตร


นับตัำงแต่เทือกเขาด้านตะวันตกในเขตจังหวัดแม่ฮ่องสอนอ้อมมาส่วนเหนือที่จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย และด้านตะวันออกที่จังหวัดน่าน ลักษณะสภาพทางภูมิศาสตร์ข้างต้น
ทำาให้เกิดการตัำงถิ่นฐานขึำน ๒ แบบคือ
๑. ที่ดอนบนดอย หรือทิวเขา เป็นที่อยู่ของกลุ่มชาติพันธุต์ ่างๆ ทำาการกสิกรรมแบบไร่เลื่อนลอย
๒. บนที่ราบลุ่มเป็นบ่อเกิดของวัฒนธรรมล้านนา
การตัำงถิ่นฐานในภาคเหนือ เริ่มตัำงแต่เรือนหลังเดียวในเนืำอที่หุบเขาแคบ จนถึงระดับหมู่บ้านและเมือง
ซึำงการขนานนามหมู่บ้านนัำนขึำนอยู่กับสภาพที่ตัำงทางภูมิศาสตร์ เช่น หมู่บ้านทีข่ ึำนต้นด้วย “ปง” คือบริเวณที่มีนำาซับ “สัน” คือบริเวณสันเนินหรือมีดอน “หนอง” หมายถึงบึงกว้าง
“แม่” คือที่ตัำงที่มีลำาธารไหลผ่าน ดังนัำนชื่อเดิมของหมู่บ้านจึงเป็นการบอกลักษณะการตัำงถิ่นฐานแต่แรกเริ่ม
จากสภาพการตัำงถิ่นฐานของชุมชนภาคเหนือ ทำาให้เกิดเรือนประเภทต่างๆ ขึนำ ตามสภาพการใช้งาน ซึ่งสามารถแบ่งเรือนพักอาศัยออกเป็นประเภทใหญ่ๆ ดังนีำ
๑. เรือนชนบท หรือเรือนเครื่องผูก เรือนประเภทนีำหาดูได้ทั่วไปตามชนบทและหมู่บ้านต่างๆ เรือนชนิดนีำโครงสร้างของหลังคา ตง พืำน ใช้ไม้ไผ่
ส่วนคานและเสานิยมใช้ไม้เนืำอแข็ง ฝาเป็นฝาไม้ไผ่สาน หลังคามุงแฝกหรือใบตองตึง นิยมใช้ตอกและหวายเป็นตัวยึดส่วนต่างๆ เรือนเข้าด้วยกันด้วยวิธีผูกมัด
เรือนชนบทเป็นเรือนขนาดเล็กถือว่าเป็นเรือนแบบดัำงเดิม เพราะวิธีการก่อสร้างเป็นวิธีการที่เก่าแก่ที่สุดอย่างหนึ่ง ซึ่งในปัจจุบันชาวบ้านที่มีรายได้น้อย
ยังนิยมปลูกสร้างเรือนเครื่องผูกนีำทัำงในตัวเมืองและชนบท
๒. เรือนกาแล เป็นเรือนพักอาศัยของผู้มีอันจะกิน ผูน้ ำาชุมชนหรือบุคคลชัำนสูงในสังคม ตัำงแต่ระดับชนบทจนถึงระดับเมือง
เรือนประเภทนีำเป็นเรือนที่สร้างด้วยไม้เนืำอแข็ง หรือไม้จริงทัำงหมด เรียกตามลักษณะของไม้ปา้ นลม หลังคาส่วนปลายยอดที่ไขว้กัน ซึ่งชาวเหนือเรียกส่วนที่ไขว้กันนีำว่า”กาแล”
สำาหรับคำาว่า “เรือนกาแล” เป็นชื่อที่นักวิชาการทางสถาปัตยกรรมบัญญัติไว้ เพื่อแยกความแตกต่างระหว่างเรือนไม้จริงแบบที่ ๓ หากแต่ชาวล้านนาในปัจจุบันเรียกว่า
“เฮือนบ่าเก่า” (เฮือนคือเรียน บ่าเก่าคือโบราณ) เพราะเป็นเรือนทรงโบราณของล้านนานั่นเอง ลักษณะพิเศษของเรือนกาแลอยู่ที่ยอดจั่วประดับกาแลเป็นไม้สลักอย่างงดงาม
ใช้วสั ดุก่อสร้างคุณภาพดี ฝีมือช่างประณีต แต่มีแบบแผนค่อนข้างตายตัว ส่วนใหญ่เป็นเรือนแฝด มีขนาดตัำงแต่หนึ่งห้องนอนขึำนไป โดยทัว่ ไปเรือนประเภทนีำจะมีแผนผัง ๒
แบบใหญ่ ๆ คือ แบบที่ ๑ เอาบันไดขึำนตรงติดชานนอกโดด ๆ แบบที่ ๒ เอาบันไดอิงชิดแนบฝาใต้ชายคาคลุม ทัำงสองแบบนีำจะใช้ร้านนำำาตัำงเป็นหน่วยโด ๆ มีโครงสร้างของตัวเอง
ไม่นิยมตีฝา้ เพดาน ปัจจุบันหาเรือนกาแลดูได้ยาก เพราะมีหลงเหลือให้เห็นเพียงไม่กี่หลัง อย่างไรก็ตาม
เรือนชนิดนีำเป็นเรือนที่แสดงถึงวิวัฒนาการของกระบวนการก่อสร้างบ้านพักอาศัยของชาวล้านนาที่ถึงจุดสูงสุดก่อนได้รับอิทธิพลจากต่างถิ่น
ตลอดจนเป็นเรือนที่แสดงถึงเอกลักษณ์ของชาวล้านนาอย่างชัดเจน ทัำงการวางผังพืำนที่ การจัดห้องต่าง ๆ ภายในตัวเรือน ตลอดจนรูปทรง
ล้วนสะท้อนถึงแบบแผนการดำาเนินชีวิตตามระเบียบประเพณีของล้านนาทัำงสิำน
๓. เรือนไม้ เป็นเรือนพืำนเมืองของล้านนาอีกรูปแบบหนึ่งทีเกิดขึำนภายหลังเรือนกาแล รูปแบบหรือลักษณะทางกายภาพของเรือนประเภทนีำ
เกิดจากการผสมผสานทางวัฒนธรรมการปลูกสร้างแบบดัำงเดิมกับวัฒนธรรมที่ชาวบล้านนาได้รับจากภายนอก
ซึ่งช่างล้านนาได้รับระบบวิธีการปลูกสร้างและค่านิยมจากภาคกลางในสมัยรัชกาลที่ ๕ เป็นต้นมา เรือนประเภทนีำ รูปทรงภายนอกของเรือนจะผันแปรไปตามสมัยนิยม
โดยเฉพาะลักษณะฝา ระเบียบการเจาะช่องประตูหน้าต่าง การขึำนทรงหลังคาที่มีระนาบซับซ้อน
เป็นการแสดงถึงอัจฉริยภาพของช่างพืำนเมืองที่รู้จักประสานประสานประโยชน์จากความรู้กับเทคนิควิทยาการช่างที่ได้รับมาจากต่างถิ่นได้อย่างกลมกลืน
เรือนไม้บางหลังมีการนำาเอาระเบียบวิธีการตกแต่งลายฉลุไม้มาตกแต่งทรงจั่วหลังคาและเชิงชายตามแบบอิทธิพลช่างไทยภาคกลางรับมาจากตะวันตก
ชาวล้านนาเรียกเรือนประเภทประดับลายฉลุไม้นีำว่า “เรือนทรงสะละไน” ซึ่งเป็นคำาที่ยังหาความหมายที่ชัดเจนไม่ได้
แต่ก่อนที่สถาปนิกซึ่งได้รับการศึกษาแนวทางแบบตะวันตกจะเข้ามามีบทบาทในการเปลี่ยนรูปแบบเรือนพักอาศัยให้ทันสมัยมากขึำนนัำน ชาวล้านนาเองเรียกเรือนชนิดนีำว่า
“เฮือนสมัยก๋าง” (เรือนสมัยกลาง) หมายถึงเรือนพืำนเมืองที่อยู่ในช่วงสมัยระหว่าง “เฮือนบ่าเก่า” (เรือนโบราณ)กับเรือนแบบสากลยุคใหม่ที่ชาวบ้านเรียกว่า “เฮือนสมัย”
(เรือนสมัยใหม่)
ภายในบริเวณบ้านของเรือนล้านนาแต่ละหลังจะมีเนืำอที่ว่างเป็นบ้านดินกว้าง ภาษาพืำนเมืองเรียกว่า “ข่วงบ้าน” เป็นลานอเนกประสงค์ที่เชื่อมทางเดินเข้าสู่ตัวบ้าน
และเชื่อมต่อมายังทางเดินสูล่ านดินข้างเคียงใช้เป็นที่เล่นของเด็ก ๆ และตากพืชผลทางการเกษตร ลานดินนีำเมื่อถึงคราวเซ่นสรวงผีบรรพบุรุษของกลุ่มชนที่นับถือ “ผีมดผีเม็ง”
2
จะใช้เป็นบริเวณปลูกปะรำา หรือ “ผาม” ในภาษาเหนือ เพื่อทำาพิธีฟ้อนผี หากบ้านไหนที่มีลูกชายบวชพระหรือบวชเณรก็จะสร้าง “ห้างซอ”
(เวทียกพืำนสูงประมาณเมตรกว่า ๆ) ไว้ตรงบริเวณลานดินที่ร่มรื่น เพื่อให้ “ช่างซอ” (กลุ่มนักขับลำานำาแบบหมอลำา) ขึนำ ไปขับลำานำากล่อมขวัญ “ลูกแก้ว” (นาค)
และเมื่อถึงคราวที่คนในครอบครัวเสียชีวิตลงก็จะใช้ลานดินนีำเป็นบริเวณตัำง “ประสาท” (บุษบกพืำนบ้านทำาด้วยไม้และกระดาษ) เพื่อตัำงศพและชักลากไปสู่ปา่ ช้า
(ที่ภาษาพืำนเมืองเรียกว่า “ป่าเฮ่ว”) ลานดินนีำเจ้าของบ้านจะต้องเก็บกวาดใบไม้แห้งและขยะให้เรียบร้อย
หากบ้านใดปล่อยสกปรกจะถูกตำาหนิจากเพื่อนบ้านว่าเป็นคนเกียจคร้าน บริเวณริมลานดินนิยมปลูกไม้ยืนต้นขนาดใหญ่รายล้อมไว้
ส่วนมากเป็นไม้ผลสำาหรับรับประทานและให้ร่มเงาแก่ลาน นอกจากนีำตามคาคบไม้ ชาวบ้านยังนิยมนำากล้วยไม้ป่ามาปลูกประดับเพื่อความสายงาม
โดยทัว่ ไปลานดินจะอยู่ส่วนหน้าของบริเวณบ้านชิดกับถนน ตัวบ้านจะปลูกร่นเข้ามาทางข้างหลังของลานดิน ลานหน้าบ้านนีำจะนิยมปลูกไม้ยืนต้นที่มีดอก
ส่วนบริเวณหลังบ้านสวนผลไม้ยืนต้น รวมถึงพืชสวนครัวและพืชคลุมต้น สำาหรับการแบ่งอาณาเขตของแต่ละบ้านใช้วิธีล้อมรัำวด้วยไม้ไผ่สานขัดกันเป็นตาโปร่ง
มีการเปิดช่องทะลุสู่บริเวณบ้านข้างเคียงต่อเนื่องกัน โดยรัวำ ที่กัำนอาณาเขตบ้านแบ่งออกเป็น ๓ ชนิด คือ

๑. รัำวสลาบ เป็นรัำวไม้ไผ่ชนิดที่แข็งแรงที่สุด มีลักษณะเป็นรัำวไม้ไผ่ขัดและตามแนวตังขัดชิดกันแน่น นิยมใช้เป็นรัำวหน้าบ้านชิดถนน

๒. รัำวตาแสง เป็นรัวำ ไม้ไผ่ขัดกันเป็นตารูปตารางสี่เหลี่ยมโปร่งๆ ส่วนใหญ่ใช้เป็นรัำวข้างและรัำวหลังบ้าน

๓. รัำวตัำงป่อง เป็นรัำวโปร่งใช้ไม้รวกลำาเล็ก ๆ มาวางสอดกับเสารัำวไม้เนืำอแข็งในแนวนอน ห่างกันราวคืบกว่า ๆ


รัำวชนิดนีำเป็นรัำวชั่วคราวเพื่อรอเปลี่ยนรัำวตาแสงหรือรัำวสลาบในคราวต่อไป
ตามขอบรัำวนิยมปลูกไม้พุ่มไม้ดอก และไม้เลืำอยที่เป็นพืชกันได้เช่น บวบ ตำาลึง ถั่วพู มะระพืำนเมือง ฯลฯ มีกระถินและชะอมปลูกแซมเป็นระยะ
ส่วนรัำวข้างบ้านนิยมปลูกไผ่เลีำยงและไผ่รวกเป็นแนวกัำนอาณาเขตภายในบริเวณบ้านจะประกอบด้วยตัวเรือน ยุ้งข้าว บ่อนำำา ครกตำาข้าว และห้องอาบนำำาที่ชาวเหนือเรียกว่า
“ต๊อมอาบนำำา” ใกล้กับบ่อนำำาท้ายบ้านจะเป็นอาหารของวัวควาย บริเวณคอกวัวควายนีำภาษาพืำนเมืองเรียกว่า “แล่งวัวควาย” สำาหรับบ้านในย่านเขตเมืองจะไม่มีแล่งวัวควาย
เพราะไม่ได้ทำานาตรงบริเวณรัำวบ้าน ใกล้ประตูเข้าบ้านจะสร้างเป็นเรือนหรือชัำนเล็ก ๆ สำาหรับวางหม้อนำำาพร้อมทัำงกระบวย เพื่อให้ผสู้ ัญจรไปมาได้ตักดื่ม ถือเป็นการสร้างบุญกุศล
ซึ่งภาษาเหนือเรียกว่า “ตานนำำา” ส่วนบริเวณที่ดินด้านหัวนอนจะตัำงศาลผีบรรพบุรษุ ไว้เรียกว่า”หอผีปู่ย่า” ซึ่งจะมีเฉพาะบางบ้านเท่านัำน บริเวณท้ายบ้านเป็นสวนครัวหรือ “สวนฮีำ”
มีการกัำนรัำวไม้ไผ่สานเพื่อป้องกันเป็ด ไก่ สุนัข เข้าไปทำาลายพืชผล บริเวณรอบ ๆ บ่อนำำาจะปลูกไม้พุ่มไม้ดอก และพืชคลุมดินที่ใช้ปรุงอาหาร
ส่วนใหญ่เป็นผักที่ใช้รับประทานกับลาบ เช่น ชะพลู สะระแหน่ ผักไผ่ ฯลฯ ซึ่งนอกจากเป็นการประดับบริเวณให้สวยงามและใช้บริโภคแล้วยังใช้เป็นส่วนบังสายตาในขณะอาบนำำา
โดยมีการทำาร่องนำำาจากที่อาบนำำาให้ไหลเข้าสู่บริเวณสวนครัว นอกจากนัำน ตามบริเวณขอบบ่อยังปลูกข่า ไพล กระชาย ขมิำน สลับไว้บริโภคและดูดซับนำำาทิำงจากบริเวณอาบนำำา
ทำาให้สภาพแวดล้อมไม่เกิดการเน่าเสีย อีกทัำงมีการปลูกไม้ผลยืนต้นบริเวณบ่อนำำาบังแสงแดดส่องเพื่อรักษานำำาในบ่อให้เย็นอีกด้วย
เรือนล้านนาไทยทัำง ๓ ประเภทที่กล่าวข้างต้น ไม่ว่าจะมีขนาดใดก็ตาม จะมีลักษณะทั่ว ๆ ไปอันเป็นเอกลักษณ์ของเรือนล้านนา โดยมีสว่ นประกอบที่สำาคัญต่าง ๆ
ดังต่อไปนีำ

๑. บันไดและเสาแหล่งหมา
เรือนล้านนาไทยทัำง ๓ ประเภท ตัวบันไดเรือนจะหลบอยู่ใต้ชายคาบ้านซ้ายมือเสมอ จึงต้องมีเสาลอยรับโครงสร้างหลังคาด้านบนตัำงลอยอยู่
แต่โดยทั่วไปเรือนไม้มักจะยื่นโครงสร้างออกมาอีกส่วนหนึ่งโดยทำาเป็นชายคลุมบันไดหรือเป็นโครงสร้างลอยตัว ส่วนเรือนแฝดแระเภทมีชานเปิดหน้าเรือน
ไม้หลบบันไดเข้าชายคา แต่จะวางบันไดชนชานโล่งหน้าเรือนอย่างเปิดเผย
เสาลอยโดด ๆ ต้นเดียวที่ใช้รับชายคาทางเข้านีำเรียกว่า”เสาแหล่งหมา” ซึ่งมาจากการที่ชาวเหนือนำาหมามาผูกไว้ที่เสานีำนั่นเอง

๒. เติ๋น

จากบันไดขึำนไปมักมีชานบันได ซึ่งเป็นบริเวณที่จะเป็นส่วนเชื่อมพืำนที่ต่าง ๆ ของเรือน ถัดจากชานจะเป็นบริเวณห้องโถงเปิดโล่ง ยกสูงจากระดับชานประมาณ ๑-๒ คืบ


เป็นส่วนที่อยู่ใต้ชายคา มีเนืำอที่ ๒ ห้องเสา บริเวณนีำเป็นบริเวณอเนกประสงค์ ภาษาพืำนเมืองเรียกว่า “เติ๋น” เติ๋นจะใช้เป็นทัำงที่นั่งเล่น รับแขก รับประทานอาหาร
ทำาบุฯเลีำยงพระในงานมงคล ใช้ประกอบพิธีกรรมในงานศพ หรือในกรณีที่บ้านนีำมีลูกสาว เวลาคำ่าคืนพวกหนุ่ม ๆ ก็จะมาแอ่วสาวที่เติ๋นนีำ หรือในกรณ์เรือนที่มีห้องนอนเดียว
จะใช้เติ๋นเป็นที่นอนของลูกชาย ส่วนลูกสาวจะนอนกับพ่อแม่ แต่ถ้าเป็นเรือนขนาดเล็กหรือเรือนไม้มักจะตัำงร้านนำำาในบริเวณเติ๋นนีำด้วย
โดยทัว่ ไปบริเวณเติ๋นของแต่ละบ้านจะเป็นเนืำอที่โล่งไม่มีการนำาของต่าง ๆ มาเก็บไว้ในบริเวณนีำ แต่จะสร้างที่เก็บของที่ไม่ค่อยได้ใช้ในชีวิตประจำาวัน เช่น ขันโตก หม้อ กระบุง
ตะกร้า ฯลฯ ไว้บนเพดานโปร่งใต้หลังคาเติ๋น โดยนำาไม้ไผ่มาทำาเป็นตะแกรงโปร่ง ลายตารางสี่เหลี่ยมยืดแขวนกับขื่นจันทันปละแปหัวเสาของเรือน
เพดานตะแกรงโปร่งนีำภาษาพืำนเมืองเรียกว่า “ควั่น” ทางตะวันออกของเติ๋นจะเป็นหิำงพระ บนหิำงพระนอกจากวางพระพุทธรูปแล้ว ยังมีตะกรุด ยันต์
และสมุดข่อยที่เขียนวรรณกรรมของชาดก รวมถึงตำาราฤกษ์ยามทางโหราศาสตร์ ตำารายา รวมอยู่ด้วย นอกจากนีำ ในสมัยก่อนบริเวณฝาห้องนอนชิดกับหิำงพระ
จะมีภาพเขียนรูปพระธาตุเจดีย์สำาคัญ พร้อมกับภาพปีเกิดของเจ้าบ้านแขวนไว้ภาษาเหนือเรียกว่า “รูปตัวเปิ้ง” ซึ่งเป็นความเชื่อของชาวเหนือที่ถือว่าคนที่เกิดปีต่างๆ
จะต้องไหว้พระธาตุประจำาปีเกิดของตัวเองเพื่อความเป็นสิริมงคล

๓. ร้านนำำา
3
จากชานโล่งหน้าบ้านหรือชานใต้หลังคาตรงริมขอบชานด้านใดด้านหนึ่ง จะมีหิำงสำาหรับวางหม้อนำำาดื่ม พร้อมที่แขวนกระบวยหิำงนำำา สูงจากพืำนชานประมาณ
๘๐-๑๐๐ เซนติเมตร หากหิำงนำำาอยู่ที่ชานโล่งแจ้งเจ้าของบ้านจะทำาหลังคาคลุมลักษณะคล้ายเรือนเล็ก ๆ เพื่อไม่ให้แสงแดดส่องลงที่หม้อนำำา เป็นการรักษาความเย็นของนำำาดื่ม
หิำงนำำานีำเรียกว่า”ร้านนำำา” หรือภาษาเหนือว่า “ฮ้านนำำา” ร้านนำำาของเรือนล้านนาถือว่าเป็นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมด้านการอยู่อาศัยของชาวล้านนาโดยเฉพาะ

๔. ห้องนอน
ถัดจากเติ๋นจะเป็นห้องนอนซึ่งเป็นห้องที่มีฝาปิดล้อมทัำง ๔ ด้านมีประตูทางเข้า เหนือช่องนีำมีไม้แกะสลักลวดลายสวยงาม เป็นแผ่นไม้ที่ชาวล้านนาเชื่อว่าเป็นแผ่นไม้ศักดิ์สิทธิ์
ติดไว้เพื่อป้องกันสิ่งเลวร้ายต่าง ๆ ทีจ่ ะผ่านเข้าสู่ห้องนอนเรียกว่า “หำายน”
ตรงกรอบประตูลา่ งมีแผ่นธรณีประตูสูงกว่าขอบประตูปกติ เรียกว่า “ข่มประตู” ทำาหน้าที่เป็นกรอบช่องประตู และเป็นเส้นกัำนอาณาเขตระหว่างห้องนอนกับเติ่น สำาหรับห้องนอน
ชาวล้านนาถืออย่างเคร่งครัดว่า เป็นบริเวณเฉพาะของสมาชิกภายในครอบครัว บุคคลภายนอกหรือแขกห้ามเข้าเด็ดขาด
หากก้าวเลยขมประตูเข้ามาเพียงเล็กน้อยก็ถือว่าเป็นการ “ผิดผี” คือกระทำาผิดต่อผีบรรพบุรุษจะต้องปรับโทษ พร้อมทัำงทำาพิธขี อขมา
ห้องนอนที่อยู่ถัดจากบริเวณเติ๋นเป็นห้องขนาดใหญ่ เมื่อเทียบบริเวณอื่นของเรือน กินเนืำอที่ ๓ ห้องเสา โดยเฉพาะเรือนกาแลและเรือนไม้ส่วนเรือนชนบทจะกินเนืำอที่ ๒ ห้องเสา
ทัำงนีำขนาดห้องจะขึำนอยู่กับขนาดของเรือนแต่จะหลังว่าใช้ชื่อและคานยาวกี่ศอก ห้องนอนในเรือนล้านนาจะเป็นห้องโล่ง ๆ
สมาชิกของครอบครัวจะนอนรวมกันในห้องนีำการนอนจะแบ่งเนืำอที่ตามห้องเสา ห้องเสาช่วงในสุดเป็นบริเวณที่นอนหัวหน้าครอบครัวและภรรยา
ถัดมาเป็นบริเวณหลับนอนของลูก ๆ หากลุกคนใดแต่งงานไปก็จะเลื่อนมานอนในห้องเสาถัดไป การแยกกลุ่มนอนอาศัยการปูเสื่อปูที่นอน การกางมุ้งของแต่ละกลุ่ม
และใช้ผ้าม่านแบ่งกัำนบริเวณนอนของแต่ละกลุ่มให้มิดชิด ม่านกัำนนีำเรียกว่า “ผ้ากัำง”
เวลานอนสมาชิกทุกคนจะหันหัวไปทางทิศตะวันออกห้องนอนซีกตะวันออกทัำงหมดใช้เป้นบริเวณนอน ส่วนซีกตะวันตกบริเวณปลายตีนนอนจะใช้เป็นบริเวณเก็บของต่าง ๆ
ของสมาชิกในครัวเรือน ในการแบ่งซีกส่วนที่นอนกับที่เก็บของจะแบ่งโดยไม้หนาขนาดกว้างประมาณ ๗-๘ นิวำ
วางผ่ากลางตัวเรือนยาวตลอดความยาวของเรือนระดับเสมอพืำนเรียกว่า “แป้นต้อง” ซึ่งทำาหน้าที่ป้องกันการสั่นสะเทือนของพืำน เวลาเดินบริเวณซีกปลายเท้า
เพื่อไม่ให้รบกวนผู้ที่กำาลังนอนอยู่ สำาหรับประตูเข้าห้องนอนจะมี ๒ ประตุ คือ ประตูเข้าจากเติ๋น และประตูข้างซึ่งอยู่ที่ฝาด้านปลายเท้าของเรือนนอน
อยู่ช่วงห้องเสาที่ชิดกับเติ๋นเป็นประตูเปิดจากส่วนนอนไปสู่ครัว

๕. ห้องครัว
บริเวณห้องครัวจะอยู่ทางทิศตะวันตกของห้องนอนเสมอ เรือนครัวที่แยกออกไปอีกหลังหนึ่งจะมีเฉพาะเรือนกาแลและเรือนไม้จริงเท่านัำน
โดยจะวางขนานกับเรือนใหญ่หรือเรือนนอน มีช่องทางเดินแยกเรือนครัวออกจากเรือนนอน ชายคาของเรือนนอนกับเรือนครัวจะมาจรดกันเหนือช่องทางเดินเรียกว่า “ฮ่อมริน”
โดยจะมีรางนำำาสำาหรับรองรับนำำาฝนจากหลังคา แต่เดิมรางนำำาจะเป็นซุงไม้ขนาดใหญ่มีความยาวเท่ากับตัวเรือน มาในชัำนหลังจึงใช้ไม้กระดานประกบกันเป็นรางนำำาแทน
สำาหรับเรือนไม้จริงตรงกลางยอดสันหลังคาจะมีหลังคาขนาดเล็กซ้อนอยู่ เพื่อให้มีช่องระหว่างหลังคา สำาหรับระบายควันไฟจากเตาขณะหุงต้มอาหาร
ส่วนด้านหลังของเรือนครัวจัดให้มีชานเล็ก ๆ วางหม้อนำำาขนาดใหญ่หลายใบ เป็นนำำาสำาหรับใช้ล้างถ้วยล้างชาม
ชาวล้านนาเชื่อว่า ผีบรรพบุรุษมีส่วนดลบันดาลความสุขสวัสดีให้แก่ลูกหลาน หากลูกหลานไม่ปฏิบัติตาม “ฮีตฮอย” (จารีต) ทีบ่ รรพบุรุษวางไว้ย่อมเกิดความวิบัติ
ซึ่งถือว่าเป็นการ “ผิดผี” การบันถือผีดังกล่าวนีำมีบทบาทสำาคัญต่อการแบ่งเนืำอที่ภายในเรือนพักอาศัยอย่างชัดเจนกล่าวคือ “ผีปู่ย่า” เป็นผีบรรพบุรุษของแต่ละตระกูล
ชาวล้านนาเชื่อว่าสิงสถิตอยู่ภายในบ้านเรือน บางครัำงก็เรียกว่า “ผีเรือน” ผีปู่ย่านีำจะคุ้มครองเครือญาติในกลุ่มตระกูลเดียวกันเท่านัำน กลุ่มตระกูลที่มีผีปู่ย่าเดียวกันเรียกว่า
“ถือผีเดียวกัน” ที่สิงสถิตของผีปู่ย่าอยู่ที่ศาล หรือ “หอผี” ตังำ อยู่ในที่ดินด้านหัวนอนในหอผี วางเครื่องบูชาอันได้แก่ ขัน ดอกไม้ ธูปเทียน เชี่ยนหมาก นำำาต้น (คนโทนำำา)
บ้านที่มีหอผีเรียกว่า “บ้านเก๊าผี” เป็นบ้านของหญิงในตระกูลที่อาวุโสที่สุด เมื่อคนในตระกูลแยกออกไปตัำงเรือนเป็นครอบครัวใหม่ก็จะแบ่งเอาผีไป
ด้วยการแบ่งเอาดอกไม้บูชาผีที่หอผีไปไว้ที่บ้านเรือนตนโดยไปวางไว้ด้านหัวนอนใกล้กับเสามงคล ผู้ที่แยกผีเรือนไปอยู่บ้านอื่นนอกจากบ้านเก๊าผีจะต้องเป็นผู้หญิง
เพราะถือเป็นการสืบทอดทางฝ่ายหญิงเท่านัำน ฉะนัำน ภายในห้องนอนตามคติล้านนาถือว่าเป็นที่สิงสถิตของผีปู่ย่าด้วย
และถือเป็นบริเวณเฉพาะของกลุ่มเครือยาติที่ถือผีเดียวกันกล่าวคือเป็นบริเวณหวงห้ามสำาหรับบุคคลภายนอกตระกูลที่ไม่ใช่ผีเดียวกัน การแบ่งเขตหวงห้ามแบ่งโดย “ข่มประตู”
(ธรณีประตู)หากบุคคลภายนอกล่วงลำำาเกินข่มประตู ถือเป็นการ “ผิดผี” เชื่อว่าจะทำาให้ผีโกรธและจะลงโทษผู้ล่วงละเมิดให้มีอันเป็นไป จะต้องทำาพิธี “เสียผี” คือขอขมาต่อผีปู่ย่า
ด้วยการนำาเครื่องสังเวยและเงินค่าปรับโทษมาขมาต่อผีปู่ย่ายังบ้านที่ตนล่วงละเมิด โดยเจ้าของบ้านจะทำาพิธีขอขมาภายในห้องนอน

เรือนไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
4
การสร้างบ้านของชุมชนในภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้ตัำงแต่สมัยโบราณมักเลือกทำาเลที่ตัำงอยู่ตามที่ราบลุ่มที่มีแม่นำาสำาคัญ ๆ ไหลผ่าน เช่น แม่นำาโขง แม่นำามูล
แม่นำาชี แม่นำาสงคราม ฯลฯ รวมทัำงอาศัยอยู่ตามริมหนองบึง ถ้าตอนใดนำำาท่วมถึงก็จะขยับไปตัำงอยู่บนโคกหรือเนินสูง ดังนัำนชื่อหมู่บ้านในภาคอีสานจึงมักขึำนต้นด้วยคำาว่า “โคก
โนน หนอง” เป็นส่วนใหญ่
ลักษณะหมู่บ้านทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรือภาคอีสานนัำน มักจะอยู่รวมกันเป็นกระจุก ส่วนที่ตัำงบ้านเรือนตามทางยาวของลำานำำานัำนมีน้อย
ผิดกับทางภาคกลางที่มักตัำงบ้านเรือนตามทางยาว ทัำงนีำเพราะมีแม่นำาลำาคลองมากกว่า หนุ่มสาวชาวอีสานเมื่อแต่งงานกันแล้ว ตามปกติฝา่ ยชายจะต้องไปอยู่บ้านพ่อตาแม่ยาย
ต่อเมื่อมีลูกจึงขยับขยายไปอยู่ที่ใหม่เรียกว่า “ออกเอือน” แล้วหักล้างถางพงหาทีทำานา ดังนัำน ที่นาของคนชัำนลูกชัำนหลานจึงมักไกลออกจากหมู่บ้านไปทุกที
และเมื่อบริเวณเหมาะสมจะทำานาหมดไป เพราะพืำนที่ราบที่มีแหล่งนำำามีจำากัด คนอีสานชัำนลูกหลานก็มักชวนกันไปตัำงบ้านใหม่อีก
หรือถ้าที่ราบในการทำานาบริเวณใดกว้างไกลไปมาลำาบาก ก็จะชวนกันไปตังบ้านใหม่ใกล้เคียงกับนาของตน ทำาให้เกิดการขยายตัวหลายเป็นหมู่บ้านขึำน
การตัำงถิ่นฐานบ้านเรือนของคนอีสานมักเลือกทำาเลที่เอืำอต่อการยังชีพ ซึ่งมีองค์ประกอบทั่วไปดังนีำ
๑. แหล่งนำำา นับเป็นสิ่งสำาคัญอันดับแรก อาจเป็นหนองนำำาใหญ่ หรือห้วย หรือลำานำำาที่แยกสาขามาจากแม่นำาใหญ่ ที่มีนำาเฉพาะฤดูฝน
ส่วนมากเป็นที่ราบลุ่มสามารถทำานาและเลีำยงสัตว์ได้ในบางฤดูเท่านัำน
ชื่อหมู่บ้านมักขึำนต้นด้วยคำาว่า “เลิง วัง ห้วย กุด หนอง และท่า” เช่น เลิงนกทา วังสามหม้อ ห้วยยาง กุดนาคำา หนองบัวแดง ฯลฯ
๒. บริเวณที่ดอนเป็นโคกหรือที่สูงนำำาท่วมไม่ถึง สามารถทำาไร่และมีทุ่งหญ้าเลีำยงสัตว์ มีทัำงที่ดอนริมแม่นำาและที่ดอนตามป่าริมเขา
แต่มีนำาซับไหลมาบรรจบเป็นหนองนำำา ชื่อหมู่บา้ นมักขึำนต้นด้วยคำาว่า “โคก ดอน โพน และโนน” เช่น โคกสมบูรณ์ ดอนสวรรค์ โพนยางคำา ฯลฯ
๓. บริเวณป่าดง เป็นทำาเลที่ใช้ปลูกพืชไร่และสามารถหาของป่าได้สะดวก มีลำาธารไหลผ่าน
เมื่ออพยพมาอยู่กันมากเข้าก็กลายเป็นหมู่บ้านและมักเรียกชื่อหมู่บ้านขึำนต้นด้วยคำาว่า “ดง ป่า และเหล่า” เช่น โคกศาลา ป่าต้นเปือย เหล่าอุดม ฯลฯ
๔. บริเวณที่ราบลุ่ม เป็นพืำนที่เหมาะในการทำานาข้าว และทุ่งหญ้าเลีำยงสัตว์ในหน้าแล้ง ตัวหมู่บ้านจะตัำงอยู่บริเวณขอบหรือแนวของที่ราบติดกับชายป่า
แต่นำาท่วมไม่ถึงในหน้าฝน บางพืำนที่เป็นที่ราบลุ่มมีนำาขังตลอดทัำงปี เรียกว่า “ป่าบุ่งป่าทาม” เป็นต้น
๕. บริเวณป่าละเมาะ มักเป็นทีส่ าธารณะสามารถใช้เลีำยงสัตว์และหาของป่าเป็นอาหารได้ ตลอดจนมีสัตว์เล็กสัตว์น้อยที่นำามาเป็นอาหารยังชีพ
รวมทัำงสมุนไพรใช้รักษาโรค และเป็นสถานที่ยกเว้นไว้เป็นดอนปู่ตา ตามคติความเชื่อของวัฒนธรรมกลุ่มไต-ลาว

การเลือกภูมิประเทศเพื่อตัำงหมู่บ้านในภาคอีสานจะเห็นได้ว่ามีหลักสำาคัญอยู่ ๓ ประการ คือ ต้องเลือกทำาเลที่ประกอบด้วย

๑. นำำา เพื่อการยังชีพและประกอบการเกษตรกรรม

๒. นา เพื่อการปลูกข้าว (ข้าวเหนียว) เป็นอาหารหลัก

๓. โนน เพื่อการสร้างบ้านแปลงเมือง ทีน่ ำาท่วมไม่ถึง


ส่วนคติความเชื่อของชาวอีสานในการดำาเนินชีวิต ชาวอีสานมีความเชื่อที่ได้รับการสิบทอดมาจากบรรพบุรุษกล่าวคือ ความเชื่อในอำานาจลีำลับที่เหนือธรรมชาติ
และเชื่อในการครองเรือน การทำามาหาเลีำยงชีพ สิ่งใดที่โบราณห้ามว่าเป็นโทษ และทำาความเดือนร้อนมาให้ก็จะละเว้นไม่ยอมทำาสิ่งนัำน
สำาหรับความเชื่อในการตัำงหมู่บ้านก็ไม่ต่างกันนัก ชาวอีสานมีการนับถือ “ผีบ้าน “ และแถนหรือ “ผีฟ้า”
มีการเซ่นสรวงดวงวิญญาณบรรพบุรุษเพื่อให้ช่วยปกปักรักษาลูกหลาน มีการตัำง “ศาลเจ้าปู่” ไว้ที่ดอนปู่ตา ซึ่งมีชัยภูมิเป็นโคก นำำาท่วมไม่ถึง มีต้นไม่ใหญ่หนาทึบ มีการก่อสร้าง
“ตูบ” เป็นที่สถิตของเจ้าปูท่ ัำงหลาย ตลอดจนการตัำง “บือบ้าน” (หลักบ้าน) เพื่อเป็นสิริมงคลของหมู่บ้าน และมีการเซ่น “ผีอาฮัก”
คือเทพารักษ์ให้ดูแลคุ้มครองผู้คนในหมู่บ้านให้อยู่ดีมีสุขตลอดไป พิธีเลีำยง “ผีปู่ตา” จะกระทำาในเดือน ๗ คำาว่า “ปู่ตา” หมายถึง ญาติฝ่ายพ่อ (ปู่-ย่า) และญาติฝ่ายแม่ (ตา-
ยาย) ซึ่งทัำงสีค่ นนีำเมื่อยังมีชีวติ อยู่ก็เป็นที่เคารพนับถือของลูกหลาน ครัำนเมื่อตายไปจึงปลูกหอหรือที่ชาวอีสานเรียก “ตูบ” มักใช้เสา ๔ ต้น หลังคาจั่วพืำนสูง
โดยเลือกเอาสถานที่เป็นดงใกล้บ้านมีต้นไม้ใหญ่และสัตว์ป่านานาชนิดเรียกว่า “ดงปูต่ า” ถือเป็นที่ศักดิ์สิทธิ์ ใครไปรุกลำำาตัดไม้หรือล่าสัตว์ไม่ได้
หรือแม้แต่แสดงวาจาหยาบคายก็ไม่ได้ ปูต่ าจะลงโทษกระทำาให้เจ็บหัวปวดท้อง และเมื่อมีการเจ็บไข้ได้ป่วยมีคนล้มตายผิดปกติเกิดขึำนในหมู่บ้านชาวอีสานถือกันว่า
“หลักเหงี่ยงหงวย” ต้องทำาตอกหลักบ้านใหม่ให้เที่ยงตรง มรการสวดมนต์เลีำยงพระสงฆ์ เซ่นสรวงเทพาอารักษ์ แล้วกาหลักไม้แก่นมาปักใหม่
ซึ่งต้องมีคาถาหรือยันต์ใส่พร้อมกับสวดญัตติเสาก่อนเอาลงดินในบริเวณกลางบ้าน ทัำงนีำเพราะชาวอีสานมีความเชื่อในการตัำง “หลักบ้าน”
เพราะหลักบ้านเป็นองค์ประกอบที่สำาคัญของผังชุมชนระดับหมู่บ้าน และเปรียบเสมือนหัวใจของบ้าน เมื่อชุมชนเติบโตขึำน “หลักบ้าน” ก็พัฒนาไปสู่ “หลักเมือง”
ดังที่ปรากฏอยู่ทั่วไปในแระเทศไทย หลักบ้านมักสร้างด้วยไม้มงคล เช่น ไม้คูณ ไม้ยอ มีทัำงหลักประธานหลักเดียวและมีพร้อมหลักบริวารรายล้อม ส่วนรูปแบบของหลักบ้านนัำน
มักควัน่ หัวไม้เป็นเสาทรงบัวตูมหยาบ ๆ บางแห่งก็ถางให้เป็นปลายแหลม แล้วทำาหยักเป็น “เอวขัน” ไว้ส่วนล่าง
ความเชื่อในการสร้างเรือนอีสาน
อันดับแรกต้องพิจารณาสถานที่ ๆ จะสร้างเรือนก่อนโดยต้องเลือกเอาสถานที่ปลอดโปร่ง ไม่มีจอมปลวก ไม่มีหลุมผี ไม่มีตอไม้ใหญ่
และต้องดูความสูงตำ่าลาดเอียงไปทางทิศใดและจะเป็นมงคลหรือไม่ ดังนีำ
5
๑. พืำนดินใด สูงหนใต้ ตำ่าทางเหนือ เรียกว่า “ไชยะเต ดีหลี”

๒. พืำนดินใด สูงหนตะวันตก ตำ่าทางตะวันออก เรียกว่า “ยสะศรีดีหลี”

๓. พืำนดินใด สูงทางอีสาน ตำ่าทางหรดี เรียกว่า “ไม่ดี”

๔. พืำนดินใด สูงทางอาคเนย์ ตำ่าทางพายัพ เรียกว่า “เตโซ” เฮือนนัำนมิดี เป็นไข้ พยาธิฮ้อนใจ

เมื่อเลือกได้พืำนที่ปลูกเรือนแล้ว จะมีการเสี่ยงทายพืำนที่นัำนอีกครัำงหนึ่ง โดยจัดข้าว ๓ กระทง คือ ข้าวเหนียว ๑ กระทง, ข้าวเหนียวดำา ๑ กระทง และข้าวเหนียวแดง
๑ กระทง นำาไปวางไว้ตรงหลักกลางที่ดินเพื่อให้กากิน ถ้ากากินข้าวดำา ท่านว่าอย่าอยู่เพราะที่นัำนไม่ดี ถ้ากากินข้าวแดง ท่านว่าไม่ดียิ่งเป็นอัปมงคลมาก ถ้าการกินข้าวขาว
ท่านว่าดีหลี จะอยู่เย็นเป็นสุข ให้รับเฮ็ดเรือนสมสร้างให้เสร็จเร็วไว การเลือกพืำนที่ที่จะปลูกเรือนอีกวิธีหนึ่งคือ การชิมรสของดิน โดยขุดหลุมลึกราวศอกเศษ ๆ
เอาใบตองปูไว้ก้นหลุม แล้วหาหญ้าคาสดมาวางไว้บนใบตอง ทิำงไว้ค้างคืนจะได้ไอดินเป็นเหงื่อจับอยู่หน้าในตอง จากนัำนให้ชิมเหงื่อที่จับบนใบตอง หากมีรสหวาน
เป็นดินดีพออยู่ได้ มีรสจืด เป็นดินที่เป็นมงคล จะอยู่เย็นเป็นสุข มีรสเค็ม เป็นอัปมงคล ใครอยู่มักไม่ยั่งยืน มีรสเปรีำยว พออยู่ได้แต่ไม่ใคร่ดีนัก จะมีทุกข์เพราะเจ็บไข้อยู่เสมอ
นอกจากนีำ ยังมีความเชื่อเรื่องกลิ่นของดินอีกด้วย โดยการขุดดินลึกราว ๑ ศอก เอาดินขึำนมาดมกลิ่นว่าเป็นอย่างไร ซึ่งเชื่อกันว่า ถ้าดินมีกลิ่นหอม ถือว่าดินนัำนอุดมดี
เป็นมงคลอยู่เย็นเป็นสุข แต่ถ้าดินมีกลิ่นเย็น กลิ่นเหม็น กลิ่นคาว ถือว่าดินนัำนไม่ดี ใครปลูกสร้างบ้านอยู่เป็นอัปมงคล การดูพืำนที่ก่อนการสร้างเรือน
ชาวอีสานแต่โบราณถือกันมาก แต่ในปัจจุบันได้ปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับวิถีชีวิต โดยยังใช้คติเดิมแต่มีการเลี่ยงหรือการแก้เคล็ด เช่น การชิมดิน
หากเป็นรสเค็มหรือเปรีำยวก็แกเคล็ดโดยการบอกว่าจืด ส่วนการดมกลิ่นดิน การมีกลิ่นเหม็นคาวก็จะบอกเอาเคล็ดว่าหอม เป็นต้น

ฤกษ์ยามในการปลูกเรือน
ฤกษ์เดือน

๑. เดือนเจียง (เดือนอ้าย) นาคนัำนนอนหลับหากปลูกเรือนอยู่มักตาย

๒. เดือนยี่ นาคนอนตื่น ปลูกเรือนอยู่ดี มีสุข

๓. เดือนสาม นาคหากินทางเหนือ มิดี อยู่ฮ้อนไฟจักไหม้

๔. เดือนสี่ นาคหากินอยู่เรือน ปลูกเรือนอยู่ดีมีมงคล

๕. เดือนห้า นาคพ่ายครุฑหนี ปลูกเรือนร้อนนอกร้อนใจ มิดี

๖. เดือนหก จะบริบูรณ์ด้วยทรัพย์สินเงินทอง มิตรสหายมาก

๗. เดือนเจ็ด นาคพ่ายหนี จักได้พรากจากเรือนมิดี

๘. เดือนแปด นาคเห็นครุฑ จักได้เสียของมิรู้แล้ว

๙. เดือนเก้า นาคประดับตน ปลูกเรือนมีข้าวของกินมิรู้หมด

๑๐. เดือนสิบ นาคถอดเครื่องประดับ ปลูกเรือนเข็ญใจ และคนในเรือนมักเจ็บไข้ตาย

๑๑. เดือนสิบเอ็ด จะเกิดทุกข์ภัยอันตรายต่าง ๆ มักจะมีคนฟ้องร้องกล่าวหา จักมีโทษทัณฑ์

๑๒. เดือนสิบสอง จะได้ทรัพย์สิน เงินทอง ข้าวของ และคนใช้ดีหลีแล

ฤกษ์วัน

๑. วันอาทิตย์ ปลูกเรือนจะเกิดทุกข์อุบาทว์
6
๒. วันจันทร์ ทำาแล้ว ๒ เดือนจะได้ลาภผ้าผ่อนและของชาวเหลือง เป็นที่พึงพอใจ

๓. วันอังคาร ทำาแล้ว ๓ วันไฟจะไหม้หรือจะเจ็บไข้

๔. วันพุธ ปลูกเรือนจะได้ลาภเครื่องอุปโภคมีผา้ ผ่อน เป็นต้น

๕. วันพฤหัสบดี ปลูกเรือนจะเกิดสุขกายสบายใจ ทำาแล้ว ๕ เดือนจะได้โชคลาภมาก

๖. วันศุกร์ ปลูกเรือนจะมีความทุกข์และความสุขกำำากึ่งกันทำาแล้ว ๓ เดือนจะได้ลาภเล็กน้อย

๗. วันเสาร์ ปลูกเรือนจะเกิดพยาธิ หรือเลือดตกยางออก ทำาแล้ว ๔ เดือนจะลำาบาก ห้ามไม่ให้ทำาเล

ลักษณะเรือนไทยอีสาน

คำาว่า “บ้าน” กับ “เฮือน” (ความหมายเช่นเดียวกับ “เรือน”) สำาหรับความเข้าใจของชาวอีสานแล้วจะต่างกัน คำาว่า “บ้าน” มักจะหมายถึง “หมู่บ้าน”
มิใช่บ้านเป็นหลัง ๆ เช่น บ้านโนนสมบูรณ์ บ้านนาคำาแคนหรือบ้านดงมะไฟ เป็นต้น ส่วนคำาว่า “เอือน” นัำน ชาวอีสานหมายถึงเรือนที่เป็นหลัง ๆ นอกจากคำาว่า “เฮือน” แล้ว
อีสานยังมีสิ่งปลูกสร้างที่มีลักษณะการใช้สอยใกล้เคียงกัน แต่รูปแบบแตกต่างกันไป เช่น คำาว่า “โฮง” หมายถึงที่พักอาศัยที่ใหญ่กว่า “เฮือน” มักมีหลายห้อง
เป็นที่อยู่ของเจ้าเมืองหรือเจ้าครองนครในสมัยโบราณ คำาว่า “คุ้ม” หมายถึง บริเวณที่มี “เฮือน” รวมกันอยู่หลาย ๆ หลังเป็นหมู่อยู่ในละแวกเดียวกัน เช่น คุ้มวัดเหนือ คุ้มวัดใต้
และคุ้มหนองบัวเป็นต้น คำาว่า “ตูบ” หมายถึง กระท่อมที่ปลูกไว้เป็นที่พักชั่วคราว มุงด้วยหญ้าหรือใบไม้ ชาวอีสาน
มีความเชื่อในการสร้างเรือนให้ดา้ นกว้างหันไปทางทิศตะวันออกและตะวันตก ให้ดา้ นยาวหันไปทางทิศเหนือและใต้ ซึ่งเป็นลักษณะที่เรียกว่า วางเรือนแบบ “ล่องตาเว็น”
(ตามตะวัน) เพราะถือว่าหากสร้างเรือนให้ “ขวางตาวัน แล้ว “ขะลำา” คือเป็นอัปมงคลทำาให้ผู้อยู่ไม่มีความสุข บริเวณรอบ ๆ เรือนอีสานไม่นิยมทำารัวำ
เพราะเป็นสังคมเครือญาติมักทำายุ้งข้าวไว้ใกล้เรือน บางแห่งทำาเพิงต่อจากยุ้งข้าว มีเสารับมุงด้วยหญ้าหรือแป้นไม้ เพื่อเป็นทีต่ ิดตัำงครกกระเดื่องไว้ตำาข้าว
ส่วนใต้ถุนบ้านซึ่งเป็นบริเวณที่มีการใช้สอยมากที่สุด จะมีตัำงแต่ตัำงหูกไว้ทอผ้า กี่ทอเสื่อแคร่ไว้ปั่นด้าย และเลีำยงลูกหลาน นอกจากนัำนแล้ว ใต้ถุนยังใช้เก็บไหหมักปลาร้า
และสามารถกัำนเป็นคอกสัตว์เลีำยง ใช้เก็บเครื่องมือเกษตรกรรม ตลอดจนใช้จอดเกวียน
การจัดวางแผนผังของห้องและองค์ประกอบต่าง ๆ ในเรือนไทยอีสานมีดังนีำ
๑. เรือนนอนใหญ่ จะวางจั่วรับทิศตะวันออก-ตะวันตก (ตามตะวัน) ส่วนมากจะมีความยาว ๓ ช่วงเสา เรียกว่า “เรือนสามห้อง” ใต้ถุนโล่ง ชัำนบนแบ่งออกเป็น ๓
ส่วน คือ
๑.๑. ห้องเปิง เป็นห้องนอนของลูกชาย มักไม่กัำนห้องด้านหัวนอนมีหิำงประดิษฐานพระพุทธรูปหรือสิ่งเคารพบูชา เช่น เครื่องราง ของขลัง เป็นต้น
๑.๒. ห้องพ่อ-แม่ อาจกัำนเป็นห้องหรือบางทีก็ปล่อยโล่ง
๑.๓. ห้องนอนลูกสาว มีประตูเข้ามีฝากัำนมิดชิด หากมีลูกเขยจะให้นอนในห้องนีำ ซึ่งชาวอีสานเรียกว่า “ห้องส่วม”
ส่วนชัำนล่างของเรือนนอนใหญ่อาจใช้สอยได้อีกกล่าวคือ กัำนเป็นคอกวัวควาย ตัำงแคร่นอนพักผ่อนในตอนกลางวัน และทำาหัตถกรรมจักสานถักทอของสมาชิกในครอบครัว
เก็บอุปกรณ์การทำานาทำาไร่ เช่น จอบ เสียม คราด ตลอดจนเกวียน เป็นต้น
๒. เกย (ชานโล่งมีหลังคาคลุม) เป็นพืำนที่ลดระดับลงมาจากเรือนนอนใหญ่ มักใช้เป็นที่รบั แขก ที่รบั ประทานอาหาร
และใช้เป็นที่หลับนอนของลูกชายและแขกเหรื่อที่กลับมาจากงานบุญในตอนคำ่าคืน ส่วนของใต้ถุนจะเตีำยกว่าปกติ ซึ่งอาจใช้เป็นที่เก็บฟืนหรือสิ่งของที่ไม่ใหญ่โตนัก
๓. เรือนแฝด เป็นเรือนทรงจั่วเช่นเดียวกับเรือนนอน ในกรณีที่พืำนทัำงสองหลังเสมอกัน โครงสร้างทัำงคานพืำนและขื่อหลังคาจะฝากไว้กับเรือนนอน
แต่หากเป็นเรือนแฝดลดพืำนลงมากกว่าเรือนนอนก็มักเสริมเสาเหล็กมารับคานไว้อีกแถวหนึ่งต่างหาก
๔. เรือนโข่ง มีลักษณะเป็นเรือนทรงจั่วเช่นเดียวกับเรือนนอนใหญ่แต่ต่างจากเรือนแฝดตรงที่โครงสร้างของเรือนโข่งจะแยกออกจากเรือนนอน โดยสิำนเชิง
สามารถรืำอถอนออกไปปลูกใหม่ได้โดยไม่ประทบกระเทือนต่อเรือนนอน การต่อเชื่อมของชายคาทัำง ๒ หลัง ใช้รางนำำา โดยใช้ไม้กระดาน ๒
แผ่นต่อกันเป็นรูปตัววีแล้วอุดด้วยชันผสมขีำเลื่อย ในกรณีที่เรือนไม่มีครัวก็สามารถใช้พืำนที่ส่วนเรือนโข่งนีำทำาครัวชั่วคราวได้
๕. เรือนไฟ (เรือนครัว) ส่วนมากจะเป็นเรือน ๒ ช่วงเสา มีจั่วโปร่งเพื่อระบายควันไฟ ฝานิยมใช้ไม้ไผ่สานลายทแยงหรือลายขัด
๖. ชานแดด เป็นบริเวณนอกชานเชื่อมระหว่างเกย เรือนแฝดกับเรือนไฟ มีบันไดขึำนด้านหน้าเรือนมี “ฮ้างแอ่งนำำา” (้ำร้านหม้อนำำา) อยู่ตรงขอบของชานแดด
บางเรือนที่มีบันไดขึำนลงทางด้านนหลังจะมี “ชานมน” ลดระดับลงไปเล็กน้อยโดยอยู่ก้านหน้าของเรือนไฟเพื่อใช้เป็นทีล่ ้างภาชนะตัำงโอ่งนำำาและวางกระบะปลูกพืชผักสวนครัวต่าง

รูปแบบของเรือนไทยอีสานสามารถแบ่งได้ตามประเภทของการพักอาศัยที่ตอบสนองประโยชน์ใช้สอยในวาระต่าง ๆ กัน ดังต่อไปนีำ
7
๑. ประเภทชั่วคราว หรือใช้เฉพาะฤดูกาล ได้แก่ “เถียงนา” หรือ “เถียงไร่” ส่วนใหญ่จะยกพืำนสูง เสาเรือนใช้ไม้จริง
ส่วนโครงใช้ไม้ไผ่หลังคามุงหญ้าหรือแป้นไม้ที่รืำอมาจากเรือนเก่า พืำนเป็นไม้ไผ่สับ ในกรณีที่ไร่นาอยู่ไม่ไกลจากเรือนพักสามารถไปกลับได้ภายในวันเดียวจะไม่นิยมกัำนฝา
หากต้องค้างคืนก็มักกัำนฝาด้วย “แถบตอง” คือสานไม้ไผ่เป็นตารางขนาบใบต้นเหียงหรือใบต้นพลวง ซึ่งจะทนทานอยู่ราว ๑-๒ ปี
๒. ประเภทกึ่งถาวร เป็นเรือนขนาดเล็กที่ไม่มั่นคงแข็งแรงนักชาวอีสานเรียกว่า “เรือนเหย้า” หรือ “เฮือนย้าว” เป็นการเริ่มต้นชีวติ การครองเรือน และค่อย ๆ
เก็บหอมรอมริบไปสู่การมีเรือนถาวรในที่สุด ผูท้ ี่จะมี “เรือนเหย้า” นีจำ ะเป็นเขยของบ้านที่เริ่มแยกตัวออกไปจากเรือนใหญ่ (เรือนพ่อแม่) เพราะในแง่ความเชื่อของชาวอีสาน
เรือนหลังเดียวไม่ควรให้ครอบครัวของพี่น้องอยู่ร่วมกันหลายครอบครัวในบ้านหลังหนึ่ง ๆ ควรมีเขยเดียวเท่านัำน การมีเขนมากกว่าหนึ่งคนมาอยู่ร่วมชายคาเดียวกันถือว่าจะเกิด
“ขะลำา” หรือสิ่งอัปมงคล เรือนประเภทนีำวสั ดุก่อสร้างมักไม่พิถีพิถันนัก อาจเป็นแบบ “เรือนเครื่องผูก” หรือเป็นแบบผสมของ “เรือนเครื่องสับ” ก็ได้
เรือนประเภทกึ่งถาวรนีำสามารถแบ่งได้เป็น ๓ ประเภท คือ
๒.๑ เรือนเหย้ากึ่งถาวรชนิด “ตูบต่อเล้า” เป็นเรือนที่อิงเข้ากับตัวเล้าข้าว ซึ่งมีอยูเ่ กือบทุกครัวเรือน
มีลักษณะคล้ายเพิงหมาแหงนทั่วไปด้านสูงจะไปอาศัยโครงสร้างของเล้าข้าวเป็นตัวยึด ต่อหลังคาลาดตำ่าลงไปทางด้านข้างของเล้า แล้วใช้เสาไม้จริงตัำงรับเพียง ๒-
๓ ต้น มุงหลังคาด้ายหญ้าหรือสังกะสี ยกพืำนเตีำย ๆ กัำนฝาแบบชั่วคราว อาศัยกันไปก่อนสักระยะหนึ่ง พอตัำงตัวได้ก็จะย้ายไปปลูกเรือนใหญ่ถาวรอยู่เอง
ตรงส่วนที่เป็น “ตูบต่อเล้า” นีำก็ทิำงให้เป็นที่นอนเล่นของพ่อแม่ต่อไป
๒.๒ เรือนเหย้ากึ่งถาวรชนิด “ดัำงต่อดิน” เป็นเรือนพักอาศัยที่แยกตัวออกจากเรือนใหญ่ทำานองเดียวกับ “ตูบต่อเล้า” แต่จะดูเป็นสัดส่วนมากกว่า
ขนาดของพืำนที่ค่อนข้างน้อย กว้างไม่เกิน ๒ เมตร ยาวไม่เกิน ๕ เมตร นิยมทำา ๒ ช่วงเสา คำาว่า “ดัำงต่อดิน” เป็นคำาเรียกของชาวไทยอีสานที่หมายถึง
ตัวเสาดัำงจะฝังถึงดิน และใช้ไม้ท่อนเดียวตลอดสูงขึำนไปรับอกไก่
วิธีสร้าง “ดัำงต่อดิน” มักใช้ผูกโครงสร้างเหมือนกับเรือนเครื่องผูกตัวเสาและเครื่องบนนิยมใช้ไม้จริงทุบเปลือก
หลังคามุงด้วยหญ้าคาที่กรองเป็นตับแล้วเรียกว่า “ไพหญ้า” หรือใช้แป้นไม้ที่รืำอมาจากเรือนใหญ่
ฝาเรือนมักใช้ฝาแถบตองโดยใช้ใบกุงหรือใบชาดมาประกบกับไม้ไผ่สานโปร่งเป็นตาราง หรือทำาเป็นฝาไม้ไผ่สับฟากสานลายขัดหรือลายสองทแยงตามแต่สะดวก
ส่วนพืำนนิยมใช้พืำนสับฟากหรือใช้แผ่นการดานปูรอง โดยใช้ไม้ไผ่ผ่าซีกมามัดขนาบกันแผ่นกระดานขยับเลื่อน
๒.๓ เรือนเหย้ากึ่งถาวรชนิด “ดัำงตัำงคาน” ยังอยู่ในประเภทของเรือนเครื่องผูก มีความแตกต่างจากเรือน “ดัำงต่อดิน”
ตรงที่เสาดัำงต้นกลางจะลงมาพักบนคานสกัดไม่ต่อลงไปถึงดิน ส่วนการใช้วัสดุมุงหลังคา ฝาและพืำนเรือนจะใช้เช่นเดียวกับเรือนประเภท “ดัำงต่อดิน”
๓. ประเภทถาวร ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็น “เรือนเครื่องสับ” สังเกตได้จากการเลือกใช้วัสดุ รูปแบบของการก่อสร้าง ประโยชน์ใช้สอยและความประณีตทางช่าง
อาจจำาแนกเรือนถาวรได้เป็น ๓ ชนิด ดังนีำ
๓.๑. ชนิดเรือนเกย มีลักษณะใต้ถุนสูง หลังคาทรงจั่ว เสาใช้ไม้กลม ๘ เหลี่ยม หรือเสา ๔ เหลี่ยม ตัวเรือนประกอบด้วยเรือนใหญ่ เกย ชานแดด เรือนไฟ และฮ้างแอ่งนำำา
(ร้านหม้อนำำา)
๓.๒. ชนิดเรือนแฝด มีลักษณะใต้ถุนสูงและใช้เสากลมหรือเสาเหลี่ยมเช่นเดียวกัน ตัวเรือนประกอบด้วยเรือนใหญ่ เรือนแฝด เกย ชานแดด เรือนไฟ
ฮ้างแอ่งนำำา
๓.๓. ชนิดเรือนโข่ง มีลักษณะใต้ถุนสูงและใช้เสากลมหรือเสาเหลี่ยม มีจั่วแฝดอยู่ชิดติดกัน ไม่นิยมมีเกย เรือนชนิดนีำประกอบด้วย เรือนใหญ่ เรือนโข่ง
ชานแดด เรือนไฟ และฮ้างแอ่งนำำา

เรือนไทยภาคกลาง

ในจดหมายเหตุของแกมป์เฟอร์ ชาวเยอรมัน ซึ่งมากับเรือชาวฮอลันดาเมื่อ พ.ศ. ๒๒๓๓


ได้กล่าวถึงเรือนไทยในสมัยอยุธยาไว้ว่าบ้านคนธรรมดานัำนเป็นบ้านกระท่อม ปลูกด้วยไม้ไผ่ พืำนปูกระดานหลังคามุงจากหยาบๆ
8
พวกขุนนางหรือเสนาบดีและข้าราชบริพารในราชสำานักจะปลูกบ้าน วัง หรือตำาหนักอยู่ต่างหาก และบ้านซึ่งปลูกตามริมฝั่งแม่นำาปลูกบนเสาสูงถึงฟาทอม (๑
ฟาทอมเท่ากับ ๖ ฟุต) เพื่อมิให้กระแสนำำาหน้านำำาท่วมถึงและจากจดหมายเหตุของโยส เซาเต็น พ่ อค้าชาวฮอลันดา ที่เข้ามาในสมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม
และสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ก็ได้กล่าวถึงเรือนไทยสมัยอยุธยาไว้ดังนีำ
“บ้านของชาวสยามสร้างด้วยไม้หรือไม้ไผ่ตามแบบของอินเดีย หลังคาบ้านนัำนใช้จากหรือกระเบืำองมุง เขามักยกพืำนให้สูงกว่าพืำนดินราว ๓ หรือ ๔ ฟุต
บ้านหลังหนึ่งๆ มีประตูหนึ่งบาน หน้าต่างหลายบาน เครื่องแต่งบ้านนัำนมีน้อย มีเท่าที่จำาเป็นสำาหรับการหลับนอน บริโภคอาหารและการหุงต้มเท่านัำน คือ เสื่อ หมอน โตก ขัน
และถ้วยชาม”
โดยสรุปเรือนไทยในสมัยอยุธยาคงเป็นเรือนไม้ชัำนเดียว ยกพืำนสูง ใต้ถุนโปร่ง มักสร้างเป็น ๓ คูหา ฝาทำาเป็นกรอบใส่ลูกฟัก หรือที่เรียกว่า “ปะกน”
คูหาหนึ่งมีหน้าต่างขนาดเล็กและแคบเปิดเข้าภายใน บนเดือยไม้ประตูก็สร้างวิธีเดียวกัน โดยตัำงอยู่บนพรึง และมีระเบียงสร้างขนานไปตามความยาวของตัวเรือน หลังคาสูงชัน
และคลุมลงมาถึงส่วนที่เป็นระเบียง
หลังคามุงด้วยกระเบืำองดินเผา แผ่นไม้หรือจาก ติดปัน้ ลมบนหัวแปที่หน้าจั่วของหลังคา และมีชานติดต่อถึงครัวและห้องนำำา ถ้าอยู่รวมกัน ๒ ครัว ก็สร้างเรือนเพิ่มขึำนอีกหลังหนึ่ง
และมีอาคารอื่นๆ อีก เช่น หอกลาง ศาลาพักร้อนในสวน เป็นต้น
ส่วนบ้านของขุนนางผู้ใหญ่ ลาลูแบร์ บันทึกไว้ว่า เป็นเรือนหลังใหญ่ แต่ในเรือนหลังนีำเป็นที่อยู่อาศัยเฉพาะเจ้าบ้าน ภรรยาหลวงกับบุตรธิดาเท่านัำน ส่วนภรรยาน้อยคนอื่นๆ
บุตรธิดาของตน และพวกทาสจะมีเรือนหลังเล็กๆ แยกกันอยู่ต่างหาก แต่อยู่ภายในวงล้อมรัำวไม้ไผ่ร่วมกับเรือนเจ้าของบ้าน แม้ว่าจะแยกกันเป็นหลายครัวก็ตาม นอกจากนีำ
ในหนังสือจดหมายเหตุรายวันของบาทหลวงเดอชัวส์ กล่าวถึงเรือนรับรองแขกเมืองไว้วา่
“พอเที่ยงวันก็ถึงเรือนหลังหนึ่งซึ่งเป็นเรือนหลังแรก เรือนที่สร้างเป็นแบบเดียวกันนีำมีอยู่ ๗ หลัง ปลูกไว้เคียงกันสำาหรับคณะทูตพัก ทำาด้วยไม้ไผ่ทุกหลัง
ห้องหนึ่งจัดเป็นห้องประชุม อีกห้องหนึ่งเป็นห้องสำาหรับราชทูต ห้องที่ ๓ สำาหรับพวกในงบทูต ส่วนข้าพเจ้านัำนพักอยู่ที่ห้องเล็กห้องหนึ่ง
ซึ่งตกแต่งไว้ค่อนข้างจะสวยงามอยู่สักหน่อย สังฆราช เดอเมเตลโลโปลิส ไม่ชอบนอนเตียงทอง เขาไปเอาไม้กระดานเรือบัลลังก์มาสองสามแผ่น
มาวางเรียงกันเข้าแล้วก็เลยนอนตากลมอยู่กลางหาวตลอดคืน ห้องหับทุกๆ ห้องตกแต่งไว้เหมือนๆ กัน มีเตียงจีน พรมเปอร์เชีย และฉากญี่ปุ่น …”
ด้วยลาลูแบร์ ชาวฝรั่งเศส ที่เข้ามากรุงศรีอยุธยาในแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ก็ให้รายละเอียดของเรือนรับรองแขกเมืองไว้ว่า
“เรือนนัำนสร้างบนเสาปูฟากและลาดด้วยเสื่อกก ไม่เพียงแต่จะใช้เป็นพืำนเรือนเท่านัำน ยังเป็นพืำนเฉลียงอีกด้วย ห้องโถงและห้องในนัำนแขวนผ้ามีดอกดวง
เพดานใช้ผ้ามัสลินขาว ริมเฉลียงเพดานลาดลง พืำนเรือนในห้องนัำนลาดเสื่อกกสาน ลายละเอียดและเป็นมันลื่นกว่าที่ใช้ลาดพืำนเฉลียง
และภายในห้องนอนเอกอัครราชทูตพิเศษนัำนยังลาดพรมเจียมทับเสื่ออีกชัำนหนึ่ง ความสะอาดสะอ้านมีอยู่ในที่ทวั่ ไป
ส่วนชาวยุโรป ชาวจีน และแขกมัวร์ ที่เข้ามาอยู่ในกรุงศรีอยุธยา ต่างสร้างบ้านเรือนของตนเป็นตึกตามแบบนิยมและศิลปะของชาติตน”
สรุปแล้วบ้านเมืองไทยแต่เดิมอุดมสมบูรณ์ด้วยป่าไม้นานาชนิด การสร้างบ้านจึงใช้ไม้ในการก่อสร้างเป็นส่วนมาก เรือนไทยในอดีตจึงนิยมทำาปั้นลมแทนช่อฟ้า
ใบระกา หางหงส์ หน้าจั่วก็มิได้จำาหลักลวดลายเยี่ยงหน้าบัน ยกเว้นแต่โบสถ์วิหารการเปรียญเท่านัำน เป็นการทำาถวายสงฆ์หรือถวายเป็นพุทธบูชา
และการก่อสร้างแบบก่ออิฐถือปูนมักเป็นตำาหนัก พระมหาปราสาท พระอุโบสถ และวิหาร
ลักษณะเรือนไทยภาคกลาง
เรือนไทยภาคกลางที่เป็นเรือนหอของครอบครัวที่ก่อสร้างลงตัวขึำนใหม่ ประกอบด้วยเรือนนอนซึ่งมีห้องนอนและห้องโถงหนึ่งหลังเรือนมี ๓ ช่วงเสา ๒
ช่วงเสาเป็นห้องนอน อีก ๑ ช่วงเสาเป็นห้องโถง มีไว้สำาหรับเลีำยงพระ รับแขก รับประทานอาหาร และพักผ่อน เมื่อครอบครัวขยายตัว ลูกชายหรือลูกสาวโตขึำนและมีครอบครัว
โดยตกลงว่าจะอยู่กับพ่อแม่ของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งแล้ว พ่อแม่จะปลูกเรือนให้อยู่อีกหลังหนึ่งต่างหาก อาจสร้างขึำน ตรงกันข้ามกับเรือนพ่อแม่ โดยมีชานเป็นตัวเชื่อม
เกิดเป็นเรือนหมู่ขึำน เรือนหมู่คือ เรือนปลูกอยู่ในที่เดียวกันมีหลายหลัง ในระยะต่อมาเมื่อมีความเจริญแล้ว อาจมีนอกชานแล่นกลางติดต่อกันได้ตลอด
เรือนเหล่านีหำ ลังหนึ่งเป็นเรือนเดิมซึ่งพ่อแม่อยู่ นอกนัำนเป็นเรือนหลังย่อมกว่า เป็นที่อยู่ของบุตรสาวที่ออกเรือนไปแล้ว ส่วนจำานวนเรือนว่ามีกี่หลังนัำน
ก็สุดแล้วแต่จำานวนบุตรสาวที่มีเรือนไปแล้ว โดยจะปลูกเรียงกันถัดจากเดิมออกมาทางด้านหน้าทัำงสองข้าง เรือนหลังเดิมเรียกว่า “หอกลาง” ส่วนเรือนนอกเรียกว่า “หอรี”
เพราะปลูกไปตามยาว
ถ้ามีเรือนปลูกอีกหลังหนึ่งเป็นด้านสกัดก็เรียกว่า “หอขวาง” ตามปกติมักกัำนฝาทัำงสามด้าน เปิดโล่งไว้แต่ด้านหน้า สำาหรับเป็นที่รับแขกเป็นทำานองเดียวกับเรือน “พะไล”
ถ้าเรือนหมู่นีำเป็นของคหบดี มักมีเรือนโถงปลูกขึำนหลังหนึ่งที่ตรงกลางชาน สำาหรับเอาไว้นั่งเล่นหรือใช้เป็นสถานที่เวลามีงาน เช่น สวดมนต์เลีำยงพระ
สำาหรับหอนั่งไม่จำาเป็นต้องปลูกอยู่กลางชานเสมอไป จะใช้เรือนที่ยังไม่มีคนอยู่และเปิดเป็นห้องโถงใช้เป็นหอนั่งก็ได้ นอกจากนีำอาจมีเรือนหลังเล็กๆ สำาหรับเลีำยงนก
ซึ่งปลูกไว้ตรงไหนก็ได้ตามความเหมาะสมเรือนแบบนีำเรียกว่า “หอนก” ส่วนด้านหลังของหอนั่งมักปลูกเป็นร้านต้นไม้ส่วนใหญ่นิยมปลูกไม้เถาที่ดอกมีกลิน่ หอม
อย่างไรก็ตามโดยทั่วไปเรือนไทยภาคกลางนิยมปลูกเป็น ๓ ห้องนอน และไม่นิยมปลูกเรือน ๔ ห้อง เพราะถือว่าเรือนอยู่สี่ห้องได้เดือดร้อนรำาคาญ
ถ้าเป็นคหบดีนิยมปลูกเรือนตามตะวันเป็นเรือนแฝด มีชานบ้านแล่นกลาง หลังหนึ่งเป็นเรือนพักอาศัยมี ๓ ห้อง เป็นห้องนอน ห้องเก็บของ และห้องพระ
อีกหลังหนึ่งที่สร้างขึำนก็ทำาแบบเดียวกันให้เป็นที่อยู่ของบิดามารดาหรือปู่ย่าตายาย กลางชานทีแ่ ล่นกลางเรือนนิยมสร้างเป็นเรือนโปร่ง บนนอกชานนัำนครึ่งหนึ่งเรียกกันว่า
“หอนั่งหรือหอกลาง” ใช้เป็นทีส่ ำาหรับนั่งพักผ่อนยามเสร็จธุระการงานในยามเย็นหรือยามคำ่าคืนก่อนจะเข้า นอน ส่วนเรือนครัวจะเชื่อมต่อกับเรือนนอนด้วยชาน
ชายคาของเรือนทำารางไม้รองนำำาฝน ปลายรางมีตุ่มตัำงไว้ ๑ ลูก เรือนครัวนีำมีหน้าต่างด้านข้างและด้านหน้าเหนือเตาไฟ เพื่อเปิดระบายควันไฟยามทำาครัว
มิให้ควันไฟจับรมควันจนดำา

องค์ประกอบต่างๆ ของเรือนไทยภาคกลางมีดังนีำ
9
งัว ไม้ท่อนกลมยาว ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ๑๕ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๕๐-๗๐ เซนติเมตร
ใช้ไม้ทองหลางวางขวางกับปลายเสา ทำาหน้าที่เป็นหมอนรองรับนำำาหนักจากกงพัดถ่ายลงดิน
ลักษณะการทำางานเหมือนกับฐานรากของอาคารในปัจจุบัน ซึ่งมีไว้เพื่อกันเรือนทรุด

กงพัด ไม้เหลี่ยมขนาด ๕ X ๑๕ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๕๐-๗๐ เซนติเมตร สอดในรูซึ่งเจาะที่โคนเสาเรือน


หรือจะใช้คู่ตขี นาบขวางกับเสา โดยบากเสาให้เป็นบ่ารองรับยึดด้วยสลักไม้แสม เส้นผ่าศูนย์กลางสลักประมาณ ๒
เซนติเมตร ปลายทัำงสองของกงวางอยู่บนงัวทำาหน้าที่ถ่ายนำำาหนักจากเสาลงสู่งัว

แระ (ระแนะ) แผ่นไม้กลมแบนขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ๓๐-๕๐ เซนติเมตร หนาประมาณ ๕-๗ เซนติเมตร


ใช้วางก้นหลุมทำาหน้าที่ถ่ายนำำาหนักจากเสาสู่พืำนดิน กันเรือนทรุด นิยมใช้ไม้ทองหลางแระและกงพัด-
งัวทำาหน้าที่เป็นฐานรากอย่างเดียวกัน ถ้าใช้กงพัด-งัวก็ไม่ใช้แระ ซึ่งกงพัด-งัวมักใช้ในบริเวณที่ลุ่มริมนำำา
เพราะรับนำำาหนักได้ดีกว่าแระ แต่การใช้แระสะดวกกว่ากงพัด-งัว

เสาเรือน ไม้ท่อนกลมยาวตลอดลำาต้น ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางที่โคนประมาณ ๒๕ เซนติเมตร ทีป่ ลายประมาณ ๒๐


เซนติเมตร ใช้ไม้เต็ง รัง มะค่า หรือแดง การคัดเลือกเสาต่างๆ ที่จะนำามาเป็นเสาเรือนต้องเป็นเสาที่ดี
มีตาเสาอยู่ในตำาแหน่งที่ถูกต้องถูกโฉลก การเจาะรูเสาเพื่อใส่รอดหรือใส่เต้าก็ต้องมีวิธีที่ถูกต้องในการวัด
เจ้าของเรือนจะได้อยู่เย็นเป็นสุข
เสาเรือนสามารถแบ่งออกได้ดังนีำ
๑. เสาหมอ คือเสาที่ใช้รองรับรอด และราเฉพาะในบริเวณพืำนที่นัำนทรุดหรือผุ มีขนาดเล็กกว่า เสาจริงเล็กน้อย และช่วงสัำน เสาหม้อสูงจากพืำนดินถึงระดับใต้พืำนดิน
๒. เสานางเรียง คือเสาที่รองรับหลังคากันสาดที่ยื่นยาวมาก โดยจะอยู่ทางด้านข้างของเสาเรือน เสานางเรียงนีำทำาหน้าที่เช่นเดียวกับไม้คำายัน
๓. เสาเอก เป็นเสาต้นแรกของเรือนที่จะยกขึำน ซึ่งเกี่ยวข้องกับพิธีทางไสยศาสตร์ มีการกำาหนดฤกษ์ยาม ทิศทาง ตามแต่หมอจะเป็นผู้ดูให้
๔. เสาโท คือเสาเรือนที่ยกขึนำ เป็นอันดับที่สองต่อจากเสาเอก แต่การยกต้องเวียนไปทางขวามือเสมอ
๕. เสาตรี เสาพล เป็นเสาทั่วไปที่นับเวียนขวาเลยเสาเอกและเสาโทไปแล้ว
๖. เสาตอม่อ คือเสาจากใต้ระดับพืำนดินถึงระดับพืำนชาน เป็นเสาที่ไม่สูงเลยจากพืำนขึำนไป
๗. รอด เป็นไม้สี่เหลี่ยมขนาดประมาณ ๕ X ๒๐-๒๕ เซนติเมตร นิยมใช้ไม้เนืำอแข็ง เช่น เต็ง รัง เป็นต้น ทำาหน้าที่รองรับพืำน
นั่งอยู่บนเสาที่เจาะทะลุกึ่งกลางทัำงสองด้าน และยื่นเลยเสาออกไปข้างละประมาณ ๒๐-๒๕ เซนติเมตร ในปัจจุบันเรียกส่วนนีำของโครงสร้างเรือนว่า “คาน”
๘. รา ไม้เหลี่ยมขนาดประมาณ ๕ X ๒๐-๒๕ เซนติเมตร ใช้ไม้เนืำอแข็ง เช่น เต็ง รัง ทำาหน้าที่เช่นเดียวกับรอด แต่แขวนอยู่กับพรึงซึ่งช่วยให้พืำนแข็งแรง
ไม่ตกท้องช้าง
๙. ตง เรือนบางหลังหาไม้พืำนยาวไม่ได้ ต้องใช้พืำนสัำนขวางกับตัวเรือน จำาเป็นต้องมีตงมารองรับ ตงคือไม้เหลี่ยมขนาดประมาณ ๔ X ๕ เซนติเมตร
ระยะห่างประมาณ ๓๐-๔๐ เซนติเมตร ใช้ไม้เนืำอแข็ง เช่น เต็ง รัง มะค่า หรือแดง วางพาดระหว่างช่วงรอด ถ้าเรือนปูพืำนขวางและมีตงมักไม่ใช้รา
๑๐. พรึง ไม้สักสี่เหลี่ยมขนาดประมาณ ๕ X ๒๐ เซนติเมตร
ทำาหน้าที่รัดเสาส่วนที่ติดกับพืำนทัำงสี่ด้านให้อยู่ภายในขอบเขตที่กำาหนดและยังทำาหน้าที่รับฝาตลอดทุกด้าน พรึงติดอยู่กับเสาด้วยตะปูจีน ทำาหน้าที่รบั นำำาหนักจากรา
๑๑. พืำน ไม้สักเหลี่ยมแบนขนาดประมาณ ๕ X ๔๐-๔๕-๕๐ เซนติเมตร เรือนไทยนิยมไม้พืำนกว้างมาก ปูบนตงหรือบนรอด เพื่อเป็นที่พักผ่อนอยู่อาศัย
ระหว่างแผ่นต่อแผ่นของพืำนมีเดือยไม้แสมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ๑ เซนติเมตร ตอกยึดพืำน ระยะห่างเดือยประมาณ ๑-๒ เมตร บางคนใช้เดือยแบนขนาด ๑ X ๒.๕ เซนติเมตร
เรียกว่า “ลิำนกระบือ” สำาหรับพืำนที่ใช้ปูนอกชานนัำน จะปูเว้นร่องให้นำาตกเพื่อกันพืำนผุ ร่องพืำนชานนีำมีความกว้างประมาณ ๑ เซนติเมตร
๑๒. ฝักมะขาม ไม้ขนาด ๓.๕ X ๓.๕ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๑๕ เซนติเมตร
รูปร่างโค้งงอคล้ายฝักมะขามตอกติดกับเสาใต้พืำนเรือนทำาหน้าที่รองรับแผ่นพืำนที่ชนกับเสาและขาดจากกัน ไม่มีสว่ นของรอดรองรับจึงใช้ฝักมะขามรับพืำนแผ่นนีำแทนรอด
๑๓. ฝา เป็นผืนผนังที่ประกอบกันเข้าเป็นแผ่นจากชิำนส่วนเล็กๆ ของไม้จากหรือไม้ใบบางชนิด โดยมีโครงขอบฝาเป็นไม้จริง
หรือไม้ไผ่ทำาหน้าที่เป็นเสมือนเปลือกหุ้มที่วา่ งภายในห้อง ทำาให้เกิดขอบเขต ฝาส่วนด้านสกัด (ขื่อ) หัวท้าย เรียกฝาทัำงแผงว่า “ฝาอุดหน้ากลอง” หรือ “ฝาหุ้มกลอง”
ส่วนฝากัำนห้องภายในระหว่างห้องนอกกับห้องโถงเรียกว่า “ฝาประจันห้อง”
10
๑๔. กันสาด เป็นส่วนหนึ่งของหลังคาที่ยื่นออกไปโดยรอบ ลดระดับจากหลังคาลงมา แต่ทำามุมน้อยกว่าหลังคา
กันสาดประกอบไปด้วยจันทันกันสาด แปกลอน และวัสดุมุง ปลายจันทันข้างหนึ่งตอกยึดอยู่กับเต้าด้วยสลักไม้ (ค้างคาว) อีกข้างหนึ่งรองรับด้วยคำำายันหรือเสานางเรียง
กันสาดนีำทำาหน้าที่ป้องกันแดดส่องและฝนสาด
๑๕ เต้า ไม้เหลี่ยมขนาด ๕ X ๑๐ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๗๐ เซนติเมตร โดยสอดทะลุเสาห่างจากปลายเสา ๕๐-๖๐ เซนติเมตร
ทำาหน้าที่ยื่นจากเสาออกไปเพื่อรับนำำาหนักเชิงชายและปลายของหลังคาและเป็นที่ยึดเกาะของจันทันกันสาด เต้าที่อยู่ตรงมุมเรือนมีอยู่ ๒ ตัวเรียกว่า “เต้ารุม”
เต้าที่ไม่อยู่ตรงมุมและมีตัวเดียวเรียกว่า “เต้าราย” เต้าจะมีปลายข้างหนึ่งเล็กและโคนใหญ่ เมื่อสอดเต้าผ่านเสาที่เจาะรูพอดีกับเต้าเสาและเต้าระดับแน่นพอดีระยะที่ต้องการ
๑๖. สลัก-เดือย เป็นไม้สี่เหลี่ยมสอดทะลุระหว่างโคนเต้ากับจันทันกันสาด ทำาหน้าที่ยึดเกาะเต้ากับจันทันกันสาดให้ติดกัน มีขนาด ๑.๕-๒ X ๕ เซนติเมตร
ยาวประมาณ ๓๐ เซนติเมตร สลักที่ยนื่ เลยเต้าขึำนไปเสียบด้วยเดือยไม้ขนาด ๒ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๑๐ X ๑๒ เซนติเมตร
๑๗. ค้างคาว เป็นไม้เหลี่ยมกว้างประมาณ ๘ X ๑๐ เซนติเมตร เจาะช่องกลางกว้างกว่าขนาดของจันทันกันสาดและเต้าเล็กน้อย
เพื่อให้องค์ประกอบทัำงสองสามารถสอดผ่านค้างคาวได้ แล้วใช้ยึดด้วยเดือยไม้ขนาด ๒ เซนติเมตร ยาว ๑๕ เซนติเมตร ทำาหน้าที่เหมือนสลักเดือย
๑๘. หัวเทียน เป็นส่วนหนึ่งของเสาอยู่ตรงปลาย ควั่นเป็นแท่งกลมยาวประมาณ ๑๐ X ๑๑ เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ ๔ เซนติเมตร
มีหน้าที่ยดึ ปลายขื่อให้ติดกับเสา โดยเจาะแผ่นขื่อเป็นรูกว้างกว่าหัวเทียนพอสวมเข้าได้ เพื่อช่วยยึดหัวเสาทัำงสองข้าง
๑๙. ขือ่ เป็นไม้สักแผ่นสี่เหลี่ยมขนาด ๕ X ๒๐ เซนติเมตร มีหน้าที่ยึดหัวเสาทัำงสองข้างเข้าหากัน เจาะรูที่ปลายทัำงสองของขื่อให้กว้างกว่าหัวเทียนเล็กน้อย
และสวมขื่อเข้ากับหัวเทียน ขื่อมี ๒ ชนิด ได้แก่ ขื่ออยู่กลางห้องมีขนาดเท่ากับหัวเสา และขื่ออยู่หัวท้ายของเรือนติดกับฝาหุ้มกลอง มีขนาดใหญ่กว่าหัวเสาเท่ากับ ๕ X ๒๕
เซนติเมตร ปลายบนด้านนอกของขื่อนีำปาดเฉียงลงเพื่อรับกลอนปีกนก เรียกขื่อนีำว่า “ขื่อเพล่” ซึ่งมีหน้าที่ช่วยหยุดหรือจับฝาอุดหน้ากลองด้านบน
ซึ่งฝาด้านยาวนัำนแปหัวเสาทำาหน้าที่ช่วยยึดอยู่
๒๐. ตังำ มี ๒ ชนิดคือ ๑. ไม้เหลี่ยมแบนขนาดโคน ๕ X ๒๐ เซนติเมตร ปลายมีขนาด ๕ X ๑๒ เซนติเมตร
ทำาหน้าที่ยึดอกไก่กับขื่อปลายล่างของดัำงติดกับขื่อโดยเข้าเดือยเข็น ทังำ หมดนีำเรียกว่า “ตัำงแขวน” ๒. ไม้กลมยาวคล้ายเสา เส้นผ่าศูนย์กลาง ๒๐ เซนติเมตร
ตังำ อยู่กึ่งกลางรอดยาวถึงขื่อ เลยขื่อเป็นชนิดแบน เรียกส่วนกลมของดัำงนีำวา่ “เสาดัำง”
๒๑. อกไก่ ไม้สักเหลี่ยมรูปข้าวหลามตัด ยาวตลอดเรือนและยื่นหัวท้ายอีกข้างละประมาณ ๖๐-๗๕ เซนติเมตร มีหน้าที่ยึดหน้าจั่ว ดังำ และจันทัน
ตังำ อยู่บนยอดสุดของหลังคาและยังให้หลบหลังคานั่งทับ
๒๒. จันทัน ไม้เหลี่ยมแบนขนาด ๕ x ๒๕ เซนติเมตร แต่งรูปอ่อนช้อยตามแบบ อยู่ระหว่างสองข้างของสามเหลี่ยมโครงหลังคา
ทำาหน้าที่รบั นำำาหนักของหลังคาที่ถ่ายทอดมายังกลอน แป และจันทัน ตามลำาดับ จันทันนีำมีอยู่เฉพาะส่วนของห้องที่ไม่มีหน้าจั่ว และใช้กับดัำงแขวนเท่านัำน
ส่วนห้องที่มีหน้าจั่วให้แผงหน้าจั่วรับนำำาหนักหลังคาแทนจันทัน
๒๓. แป เฉพาะเรือนไทยมี ๒ ชนิด คือ ๑. แปหัวเสา ไม้เหลี่ยมขนาดประมาณ ๑๐ x ๑๐ เซนติเมตร ยาวตลอดหลังคา ทำาหน้าที่ยึดหัวเสาระหว่างห้องต่อห้อง
โดยการวางทับขื่อรับนำำาหนักจากกลอน แปหัวเสายังทำาหน้าที่ยึดและรับนำำาหนักของแผงหน้าจั่ว ช่วยเป็นส่วนหยุดของฝาตอนบนด้านยาวของเรือน ๒. แปลาน ไม้เหลี่ยม ๕ X
๑๐ เซนติเมตร พาดอยู่ระหว่างจันทันกับแผงหน้าจั่วยาวตลอดเรือนเท่ากับอกไก่ทำาหน้าที่รับนำำาหนักจากกลอนถ่ายสู่จันทัน
๒๔. กลอน ไม้เหลี่ยมแบนขนาด ๑.๕ X ๗.๕ เซนติเมตร วางขวางพาดอยู่กับแป ระยะห่างระหว่างกลอนประมาณ ๔๐ เซนติเมตร กลอนมีอยู่ ๒ ชนิด คือ ๑.
กลอนสำาหรับหลังคาจาก เป็นกลอนเรียบเจาะรูข้างหนึ่ง ระยะห่างของรู ประมาณ ๑๐ เซนติเมตร สำาหรับใช้ตอกร้อยมัดกับจาก ติดกับแปด้วยการตอกสลักไม้แสม
ปลายด้านบนเข้าเดือยหางเหยี่ยวติดกับอกไก่ ปลายด้านล่างตอกติดกับสะพานหนู ๒. กลอนสำาหรับมุมหลังคากระเบืำองเรียกว่า “กลอนขอ” เป็นรูปหยักบากเพื่อให้ระแนงวางทับ
ระยะห่างของช่วงบากประมาณ ๑๐-๑๒ เซนติเมตร มีทัำงแบบบากทุกช่วงกับแบบบาก ๑ ช่วง เว้น ๑ ช่วง สลับกันไป
กลอนขอนีำตอกติดกับแปโดยตะปูเหลี่ยมแบนแต่ไม่ตอกทุกช่วง ตอกเป็นจังหวะห่างๆ
๒๕. ระแนง ไม้เหลี่ยมขนาด ๒.๕ X ๒.๕ เซนติเมตร วางตามยาวของหลังคา ขนานกับอกไก่ใช้สำาหรับหลังคาเรือนที่มุงด้วยกระเบืำองระยะห่างของระแนงประมาณ
๑๐-๑๒ เซนติเมตรวางบนกลอนขอ ทำาหน้าที่รองรับกระเบืำอง และถ่ายนำำาหนักลงยังกลอน ยึดติดกับกลอนโดยใช้ไม้แสมเป็นสลักเดือย
๒๖. เชิงชาย ไม้เหลี่ยมขนาด ๕ X ๒๐ เซนติเมตร ติดอยู่ที่ปลายเต้า ยาวรอบชายคา ทำาหน้าที่รับตะพานหนู และรับนำำาหนักทัำงหมดจากปลายกลอน
๒๗. ตะพานหนู ไม้เหลี่ยมแบนขนาด ๑.๕ X ๗.๕ เซนติเมตร ติดอยู่ดา้ นบนของเชิงชาย และยึดปลายกลอน ใช้ช่วยรับส่วนยื่นของกระเบืำอง
หรือจากให้พ้นแนวของเชิงชาย ทำาให้นำาฝนไหลพุ่งออกไปด้านนอก จึงไม่ทำาให้เชิงชายผุกร่อน
๒๖. ปัน้ ลม คือ แผ่นไม้แบนขนาดหนา ๒.๕-๓ เซนติเมตร ติดอยู่ปลายแปหัวเสา แปลาน อกไก่
มีหน้าทีป่ ิดชายคาด้านสกัดหัวและท้ายกันลมตีจากหรือกระเบืำองส่วนล่างของปั้นลม แต่งรูปเป็นแบบตัวเหงาเรียกว่า “เหงาปั้นลม” หรือแต่งเป็นรูปหางปลา
การติดใช้ตะปูตอกจากใต้แปทะลุไปติดปั้นลม
11
๒๗. หน้าจั่ว แผงไม้รูปสามเหลี่ยม สร้างขึำนจากองค์ประกอบของชิำนไม้ในลักษณะต่างๆ
ใช้ประกบปิดตรงส่วนที่เป็นโพรงของหลังคาทางด้านสกัดหรือด้านชื่อของเรือน เพื่อป้องกันลม แดด และฝน มีหลายลักษณะดังนีำ
๑. จั่วลูกฟัก หรือจั่วพรหมพักตร์ แบ่งหน้าจั่วโดยมีแนวนอนและแนวตัำงสลับกัน คล้ายฝาปะกน แต่ขนาดใหญ่กว่าและขยายไปตามแนวนอน
๒. จั่วรูปพระอาทิตย์ มีรูปคล้ายพระอาทิตย์ครึ่งดวง เส้นรัศมีพระอาทิตย์ทำาด้วยไม้แบน และเว้นช่องให้อากาศถ่ายเท นิยมใช้กับจั่วเรือนครัวไฟ
๓. จั่วใบปรือ ตัวแผงประกอบด้วยแผ่นไม้ขนาดเล็กเรียงซ้อนทางแนวนอน นิยมใช้กับเรือนนอนเรือนครัวไฟ
ถ้าเป็นเรือนครัวไฟส่วนบนมักเว้นช่องให้อากาศถ่ายเทได้
๒๘. หลังคา เป็นชิำนส่วนที่เป็นผืน ทำาหน้าที่กันแดดและบังฝนให้กับตัวเรือน ใช้วัสดุหลายอย่างประกอบกันเข้า ได้แก่ กระเบืำอง จาก แฝก และหญ้าคา
วัสดุเหล่านีำหาได้ง่ายตามท้องถิ่นต่างๆ ถ้ามุงด้วยกระเบืำองจะดูดซึมความร้อนมากกว่ามุงด้วยจากหรือแฝก สำาหรับเรือนที่มุงด้วยกระเบืำอง จาก แฝก ส่วนบนสุดของหลังคาคือ
ส่วนสันอกไก่จะมีรอยร่อง จำาเป็นต้องมีชืำนส่วนปิดรอยนีำกันนำำาฝนรั่ว ถ้ามุงด้วยกระเบืำองใช้กระเบืำองครอบเป็นส่วนปิด หากมุงด้วยจากหรือแฝก
ใช้หลบจากหรือหลบแฝกเป็นส่วนครอบ เพื่อป้องกันไม่ให้นำาฝนรั่วไหลเข้ามา
๒๙. ไขรา ส่วนของหลังคาที่ยื่นจากฝาหรือจากหน้าจั่วออกไป หากไขราอยู่บริเวณกันสาดยื่นจากฝาเรียกว่า “ไขรากันสาด” หากตรงหน้าจั่วเรียกว่า “ไขราหน้าจั่ว”
หรืออยู่ตรงปีกนกเรียกว่า “ไขราปีกนก”
๓๐. คอสอง ส่วนบนของฝา ระยะตำ่าจากแปหัวเสาหรือชื่อลงมาประมาณ ๕๐ เซนติเมตรเป็นช่องลูกฟักสี่เหลี่ยม โดยรอบของเรือน
๓๑. ร่องตีนช้าง ส่วนล่างของฝาระหว่างบนพรึงถึงกรอบเช็ดหน้า (ใต้หน้าต่าง) เป็นช่องลูกฟักสี่เหลี่ยมคล้ายคอสอง ระยะของร่องตีนช้างประมาณ ๔๔ เซนติเมตร
มีรอบตัวเรือน
๓๒. ช่องแมวรอด ช่องระหว่างห้องนอนกับพืำนระเบียง หรือ ช่องว่างระหว่างพืำนระเบียงกับพืำนชาน ซึ่งมีระยะห่างประมาณ ๔๐ เซนติเมตร มีความยาวตลอดตัวเรือน
เพื่อเป็นที่ให้ลมพัดผ่านจากใต้ถุนขึำนบนเรือน และเป็นทีท่ ำาให้ลมภายในไหลผ่านช่องนีำได้ โดยใช้ไม้ขนาด ๑.๕ X ๗.๕ เซนติเมตร ตีอันเว้นอันปิดช่อง กันคนและสิ่งของตก
๓๓. ประตูห้อง เป็นทางเข้าออกระหว่างห้องนอน ห้องครัวกับระเบียง ประกอบไปด้วยกรอบเช็ดหน้า บานประตูและเดือย ธรณีประตูดาลคู่
ประตูนสีำ ่วนล่างกว้างและส่วนบนขอบเล็กกว่า
๓๔. ประตูรวัำ ชาน เป็นทางเข้าออกระหว่างชานกับบริเวณบ้านโดยมีบันไดเป็นตัวกลาง ลักษณะและส่วนประกอบเหมือนประตูห้อง
แต่มีซุ้มหลังคาข้างบนกันฝนสาดมาถูกบานประตู และเน้นทางขึำนให้มีความสำาคัญและน่าดูยิ่งขึำน
๓๕. หน้าต่าง เป็นส่วนประกอบของฝาเรือนทีท่ ำาติดเป็นส่วนเดียวกัน แต่เป็นช่องเจาะให้แสงสว่าง อากาศ ลมผ่านเข้าได้
รวมทัำงเป็นช่องให้สายตาของผู้อยู่ภายในห้องมองออกไปภายนอก ช่องนีำสามารถควบคุมการเปิดปิดได้โดยตัวบานซึ่งทัำงหมดประกอบไปด้วย
๑. กรอบเช็ดหน้า คือ วงขอบรอบนอกของบาน (วงกบ) เป็นไม้เหลี่ยมแบนขนาด ๓.๕ X ๑๒.๕ เซนติเมตร วางประกอบตามส่วนแบนเข้ามุม ๔๕ องศา
เซาะร่องบัวประดับ ส่วนล่างกว้างกว่าส่วนบน
๒. ตัวบาน ใช้แผ่นไม้หนาประมาณ ๓ เซนติเมตร แบ่งเป็น ๒ แผ่นต่อ ๑บาน มุมสุดบนและล่างมีเดือยเส้นผ่านศูนย์กลาง ๓ เซนติเมตร ยาว ๒.๕ เซนติเมตร
(แบบเดือยไม่ทะลุ) และยาว ๖ เซนติเมตร (แบบเดือยทะลุ) สอดใส่ในรูของธรณีหน้าต่างแทนบานพับ
๓. ธรณีหน้าต่าง ไม้เหลี่ยมขนาดหนา ๓-๕ X ๑๐ เซนติเมตร ยาวตลอดความกว้างของหน้าต่างและเลยออกไปข้างละ ๑๐ เซนติเมตร ติดกับผ้าด้วยตะปูจีน
หรือลิ่มไม้แสม
๔. หย่อง เป็นแผงไม้ที่ติดอยู่ตรงส่วนล่างของช่องหน้าต่าง แกะเป็นลวดลายหรือฉลุโปร่ง หนาประมาณ ๒ เซนติเมตร สูง ๒๐-๒๕ เซนติเมตร
๕. อกเลา ไม้เหลี่ยมสันขนาด ๓ X ๕ เซนติเมตร (เฉพาะหน้าต่าง) ยาวตลอดบาน ติดอยู่กับบาน ติดอยู่กับบานหน้าต่างบานหนึ่ง เพื่อบังช่องหน้าต่างทัำงสอง
๖. ดาลเดี่ยว ทำาหน้าที่เป็นกลอนติดอยู่ส่วนกลางของบานหน้าต่าง เป็นไม้เหลี่ยมขนาด ๓ X ๕ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๓๐ เซนติเมตร
มีไม้รัดทาบกับตัวบานข้างละอัน
๗. กบ เป็นกลอนของหน้าต่าง แต่ติดอยู่ส่วนล่าง เป็นไม้แบนขนาดหนา ๑ X ๕ เซนติเมตร สูงประมาณ ๑๐ เซนติเมตร เจาะธรณีหน้าต่างให้เป็นร่อง
เมื่อปิดบานสนิทแล้วจึงใส่กบลงไป
๓๖. กระได ส่วนประกอบของไม้มีลูกขัำน (ตามนอน) กับแม่กระได (ตามตัำง) ใช้สำาหรับขึำนจากพืำนดินไปสู่ชาน กระไดแบบเดิมวางพาดกับพืำนและขอบพรึง
ทำาชักขึำนเก็บบนนอกชานได้เมื่อเวลาคำ่าคืน เพราะช่วยให้เกิดความปลอดภัยจากสัตว์ร้ายหรือขโมย ส่วนประกอบใช้ไม้จริงหรือไม้ไผ่ ลูกขันำ กลมเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ ๑๐
เซนติเมตร หรือไม้เหลี่ยมลูกขัำน ๓.๕-๕ X ๒๐ เซนติเมตร เจาะทะลุสอดเข้าเป็นขัำนๆ ระยะห่างพอก้าวขึำนได้สะดวกกว่าแบบเก่า มีลักษณะเป็นแผ่นไม้แบนขนาด ๓.๕-๕ X ๒๐
เซนติเมตร แม่กระไดขนาด ๕ X ๒๐ เซนติเมตร
พระยาอนุมานราชธนกล่าวถึงประเพณีการปลูกเรือนสำาหรับเป็นที่อยู่อาศัยว่า จะปลูกสร้างกันอย่างไรแล้วแต่ภูมิประเทศ ท้องถิ่นดินฟ้าอากาศ
วัสดุสำาหรับปลูกสร้าง ความเป็นอยู่และคติความเชื่อ ซึ่งเป็นเครื่องบังคับให้เรือนไทยสมัยเก่ามักปลูกเป็นเรือนไม้ชัำนเดียว ยกพืำนมีใต้ถุนสูง ด้านข้างทางหนึ่งมีระเบียง
12
คนไทยแต่โบราณมีอาชีพส่วนใหญ่อยู่กับการเพาะปลูก จึงชอบสร้างบ้านปลูกเรือนอยู่ใกล้แม่นำา ลำาคลอง หนอง บึง เพื่อใช้นำาทำา ประโยชน์
แก่การคลองชีพได้สะดวก ถึงฤดูฝนฝนตกหนักนำำานองพืำนดิน ถึงหน้านำำาท่วมล้นตลิ่ง พืำนที่สำาหรับบ้านจึงต้องยกสูง หรือเลือกหาเพื่อหนีนำา ส่วนเรือนที่ปลูกก็ต้องยกพืำนเรือนให้สูง
เพื่อให้ประโยชน์จากใต้ถุนเป็นที่ประกอบกิจการประจำาวัน เช่น ปัน่ ฝ้าย ทอหูก เป็นต้น แม้ในที่นำาท่วมไม่ถึง ราษฎรก็ยังปลูกเรือนยกพืำนสูงอยู่เพราะในที่เช่นนัำนมักใกล้ป่าเขา
มีคนอยู่ห่างๆกัน มีสัตว์ มีสัตว์ป่าสัตว์ร้ายคอยรบกวนการปลูกเรือนจึงต้องยกพืำนสูงเพื่อกันภัยอันตรายเวลาคำ่าคืน อีกประการหนึ่งแผ่นดินไทยในอดีตอุดมไปด้วยป่าไม้
เรือนราษฎรจึงปลูกสร้างด้วยไม้ เพราะหาไม้ใช้ได้ง่ายสะดวกกว่าหาวัสดุอื่นๆ นอกจากนีำ คนไทยนับถือหัวเป็นของสำาคัญ เพราะเข้าใจว่าเป็นที่อยู่ของมิ่งขวัญประจำาตัวคน
จึงไม่ยอมให้ใครกลำำากรายหรืออยู่เหนือหัว ถือว่าเป็นอัปรีย์จัญไรที่จะมาปลูกเรือนมากกว่าชัำนเดียว
แม้ต่อมาจะปลูกสร้างเรือนด้วยการก่ออิฐถือปูนก็ยังคงสร้างเป็นเรือนชัำนเดียวตามคติเดิม
การปลูกเรือนแต่เดิมมีคติถือกันว่า ถ้าปลูกเรือนขวางตะวันหรือหันข้างเรือนไปทางทิศตะวันออกหรือทิศตะวันตกนัำนไม่ดี ผูอ้ ยู่อาศัยจะไม่มีความสุข
มักมีเหตุต้องเสียตาเพราะไปขวางหน้าดวงตะวัน แต่ถ้าปลูกเรือนตามตะวันหรือหันข้างเรือนไปทางทิศเหนือหรือทิศใต้ จะเป็นมงคลอยู่เย็นเป็นสุข
หากเนืำอที่บ้านคับแคบหรือมีเหตุผลอบย่างหนึ่งอย่างใด ทำาให้ต้องปลูกเรือนโดยหันข้างเรือนไปตามดวงตะวัน ก็ให้ปลูกเรือนเชียงตะวันไว้คือ
อย่าหันข้างเรือนตรงดวงตะวันนักเป็นอันใช้ได้ ข้อห้ามไม่ให้ปลูกเรือนขวางตะวันดังกล่าวข้างต้น มีสาเหตุมาจากคติความเชื่อถือที่ว่า
ทิศตะวันตกเป็นทิศที่ไม่ดีเพราะเป็นทิศที่พระอาทิตย์ตกหรือลับดวงไป คนไทยจึงถือว่าตะวันตกเป็นทิศของคนตาย
ถ้าจะวางศพประกอบกิจพิธีตามลัทธิเพื่อฝังเพื่อเผาต้องหันหัวศพไปทางทิศตะวันตกเสมอ ฉะนัำนการนอนของคนเป็นจึงถือเป็นคติสบื ต่อกันมา
ไม่ให้หันหัวนอนไปทางทิศตะวันตก เพราะจะเป็นคนตาย แม้ทุกวันนีำคนโดยมากก็ยังยึดถือปฏิบัติกันอยู่
ฤกษ์ยามและวิธีการก่อสร้างตามความเชื่อถือแต่โบราณ
๑. ผู้ใดปลูกเรือนในเดือนอ้าย ย่อมจักได้เป็นเศรษฐี ทรัพย์สินเพิ่มพูนมี เพราะเดือนนีำอุดมผล
๒. ผู้ใดปลูกเดือนยี่ ทรัพย์สนิ มีมามากผลเมื่อดิถดี ูชอบกล ข้าศึกและแสนกลมามากล้นพ้นศัตรู
๓. ผู้ใดปลูกเรือนในเดือนสาม ภัยติดตามงามน่าดูคนใจร้ายมันสู้ เมื่อถึงฤดูจักเกิดอันตราย
๔. ผู้ใดปลูกเรือนในเดือนสี่ ลาภมากมายมีสขุ สบายทุกโศกบรรเทาหาย ความสบายเพิ่มพูนมา
๕. ผู้ใดปลูกเรือนในเดือนห้าทุกข์เท่าฟ้ามาถึงตนปลูกเดือนนีำไม่มีผลทุกข์ล้นพ้นภึยมีมท
๖. ผู้ใดปลูกเรือนในเดือนหก ท่านหยิบยกไว้เหลือหลาย ทรัพย์ศฤงคารบันดาลมามากมาย อยูส่ ุขสบายทรัพย์เนืองนอง
๗. ผู้ใดปลูกเรือนในเดือนเจ็ดทรัพย์ระเห็ดสิำนทัำงผอง ทรัพย์สินทีต่ นครองอัคคีภัยผยองมาเผาพลาญ
๘. ผู้ใดปลูกเรือนในเดือนแปด จะร้อนแผดระทมหาญ ทรัพย์สินและบริวารทรยศหมดไปเอง
๙. ผู้ใดปลูกเรือนในเดือนเก้า ใจไม่เศร้าเกิดบรรเลง ยศศักดิ์เกิดขึำนเอง ทัำงทรัพย์สินเพิ่มพูนมา
๑๐. ผู้ใดปลูกเรือนในเดือนสิบ จักฉิบหายต้องขื่อคา โรคภัยร้ายก้าวหน้า อันตรายจะมาปะปน
๑๑. ผู้ใดปลูกเรือนในเดือนสิบเอ็ดอันความเท็จจักมาสู่ตน ปลูกเดือนนีำไม่มีผลต้องผจญกับทุกภัย
๑๒. ผูใ้ ดปลูกเรือนในเดือนสิบสอง เงินและทองจักเหลือหลาย สรรพสัตว์แลวัวควาย บริเวณมากมายไหลเทมา
ข้อห้ามในการปลูกสร้างเรือน
๑. บันไดห้ามใช้จำานวนขัำนคู่ (ต้องเป็นขัำนคี่ นับเฉพาะขัำน ไม่นบั พืำนหรือชานพัก)
๒. บันไดไม่ลงไปทางทิศตะวันตก
๓. ไม่หันหัวนอนในทิศตะวันตก
๔. ไม่ทำานำำาพุนำาตกไหลเข้าตัวเรือน
๕. ไม่ปลูกต้นหางนกยูง ลัน่ ทม โศก ตรุษจีน ฯลฯ
๖. ไม่ทำาทางเข้าลอดใต้ห้องนำำาหรือห้องส้อม
๗. ไม่ทำาอาคารรูปตัว “ที” มีปีกเท่ากันส้องข้างเรียก “แร้งกระพือปีก” ถือเป็นอัปมงคล
๘. ไม่ทำาเรือนทะลุหน้าตลอดหลัง ถือว่าเป็น “เรือนอกแตก” เป็นอัปมงคล
๙. ไม่ทำาภูเขาจำาลองไว้ในบ้าน
๑๐. ห้ามใช้ไม้ตะเคียน ไม้มะค่าในการปลูกเรือน
๑๑. ห้ามใช้เสาตกมัน
๑๒. ห้ามทำาทางเข้าออกคู่ไว้ตอนมุมของพืำนดินที่ทางสามแพร่งหรือสี่แยก
๑๓. ห้ามนำาภาพยักษ์ไว้ในบ้าน
13
๑๔. ห้ามนำาหนังใหญ่หรือหนังตะลุงไว้ในบ้าน
๑๕. ห้ามใช้ช่อฟ้า ใบระกา เครื่องวัด เครื่องหลวง หรือมีแต่เครื่องประดับชัำนสูงในบ้าน
๑๖. ห้ามปลูกเรือนคร่อมตอ
๑๗. ห้ามตัำงศาลพระภูมิใต้เงาเรือน
๑๘. ไม่ปลูกต้นมะละกอใกล้ตัวบ้าน
๑๙. ห้ามทำาบันไดเวียนซ้ายขาขึำน
๒๐. ไม่ปลูกบ้านใต้ต้นไม้ใหญ่
๒๑. ห้ามมิให้มีสัตว์ตกตายในหลุมตอม่อ
๒๒. ห้ามใช้เสาไม้มีตาในระยะ “เป็ดไซ้ ไก่ตอด สลักรอด หมูสี”
๒๓. ห้ามวางรูปพืำนเรือนในอัตราส่วนที่ใกล้เคียงรูโลงศพ
๒๔. ห้ามทำาเตียงนอนขาสิงห์ เครื่องใช้ขาสิงห์
๒๕. ห้ามนำาศพออประตูเรือน หรือลงบันไดบ้าน(ให้ออกทางด้านฝาหุ้มกลอง เพราะสะดวกในการเคลื่อนศพ ฝาหุ้ม กลองถอดออกและประกอบใหม่ได้ )
๒๖. ห้ามนำาของวัดเข้าบ้านหรือมาประกอบเป็นส่วนหนึ่งของบ้าน
๒๗. ห้ามทำาทางเข้าเวียนซ้ายของอาคาร

เรือนไทยภาคใต้
ภาคใต้ของประเทศไทยมีสภาพทางภูมิศาสตร์ที่แตกต่างไปจากภาคอื่น ๆ ของประเทศ กล่าวคือ

มีลักษณะเป็นแหลมหรือคาบสมุทรยื่นออกไปจนจรดประเทศมาเลเซีย ล้อมรอบด้วยฝั่งทะเล โดยมีอ่าวไทยอยู่ทางฝั่งทะเลตะวันออก และทะเลอันดามันอยู่ทางฝั่งทะเลตะวันตก


ด้านสภาพภูมิอากาศของภาคใต้เป็นอาณาบริเวณที่มีอากาศร้อนฝนตกชุก ความชืำนสูงมี ๒ ฤดู ได้แก่ ฤดูร้อนและฤดูฝน ในฤดูร้อนอากาศจะไม่ร้อนจัดเหมือนภาคอื่น
เนื่องจากได้รับการถ่ายเทความร้อนจากลมทะเลที่พัดผ่านอยู่ตลอดเวลา ในฤดูฝนฝนจะตกชุกมากกว่าภาคอื่น ทัำงนีำเพราะได้รับลมมรสุมตะวันตกเฉียงเหนือ
และลมมรสุมตะวันออกเฉียงใต้ ลักษณะทางภูมิศาสตร์และภูมิอากาศดังกล่าวนีำ มีอิทธิพลสำาคัญต่อการกำาหนดรูปแบบเรือนพักอาศัยของประชาชนในภาคใต้ เช่น
การออกแบบรูปทรงหลังคาให้คาให้ลาดเอียงมาก เพื่อระบายนำำาฝนจากหลังคาการการใช้ตอม่อหรือฐานเสาแทนที่จะฝังเสาเรือนลงไปในดิน ฯลฯ
ด้านสภาพสังคมและวัฒนธรรม ประชากรในภาคใต้มีทัำงชาวไทยพุทธ ชาวไทยเชืำอสายจีน และชาวไทยมุสลิม ชาวไทยเหล่านีำมีขนบธรรมเนียม วัฒนธรรม ประเพณี
ความเชื่อที่แตกต่างกัน โดยเฉพาะชาวไทยมุสลิมจะได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากประเทศเพื่อนบ้านที่มีอาณาเขตติดต่อกับภาคใต้ ได้แก่ มาเลเซีย
ซึ่งส่งผลให้เรือนพักอาศัยของชาวไทยใน ๔ จังหวัดภาคใต้ หรือ “เรือนไทยมุสลิม” มีลักษณะร่วมกับเรือนพักอาศัยทางตอนเหนือของมาเลเซีย

ลักษณะเรือนไทยภาคใต้ (เรือนไทยมุสลิม)
บ้านเรือนนับเป็นปัจจัยพืำนฐานทีส่ ำาคัญของมนุษย์ เพื่อป้องกันอันตรายจากลมฟ้าอากาศและสัตว์ร้ายซึ่งต้องเหมาะสมกับลักษณะภูมิประเทศ ดินฟ้าอากาศ
ตลอดจนจารีตประเพณีทางสังคม และรูปแบบการดำาเนินชีวิต สำาหรับเรือนไทยมุสลิม นอกจากจะสร้างขึำนเพื่อตอบสนองความต้องการพืำนฐานของมนุษย์ดังกล่า วแล้ว
ยังสะท้อนให้เห็นอิทธิพลของศาสนาอิสลามที่มีต่อการสร้างบ้านเรือนอย่างแท้จริง ทัำงในรูปแบบการใช้พืำนที่ การอยู่อาศัย การประกอบกิจกรรมในการดำารงชีวิต
และการประดับตกแต่งตัวเรือนให้งดงาม โดยทั่วไปเรือนมุสลิมมักเป็นเรือนแฝด และสามารถต่อขยายไปได้ตามลักษณะของครอบครัวขยาย โดยมีชานเชื่อมต่อกัน
14
และมีการเล่นระดับพืำนเรือนให้ลดหลั่นกันไป เช่น พืำนบริเวณเฉลียงด้านบันไดหน้าแล้วยกพืำนไปเป็นระเบียง
จากพืำนระเบียงจะยกระดับไปเป็นพืำนตัวเรือนจากตัวเรือนจะลดระดับไปเป็นพืำนครัว จากพืำนครัวจะลดระดับเป็นพืำนที่ซักล้าง ซึ่งอยู่ตดิ กับบันไดหลัง
การลดระดับพืำนจะเห็นได้ชัดว่า มีการแยกสัดส่วนจากกันในการประกอบกิจกรรมต่าง ๆ บางตัวเรือนเมื่อสร้างตัวเรือนหลักเสร็จแล้ว
ยังต้องกำาหนดพืำนที่ให้เป็นบริเวณที่ใช้ทำาพิธีละหมาด ซึ่งเป็นกิจวัตรที่ต้องกระทำาวันละ ๕ ครัำง
ส่วนการกัำนห้องเพื่อเป็นสัดส่วนเรือนไทยมุสลิมจะกัำนแต่ที่จำาเป็นนอกนัำนจะปล่อยพืำนที่ให้โล่ง เพราะชาวไทยมุสลิมใช้เรือนเป็นทีป่ ระกอบพิธีทางศาสนา
นอกจากนัำนยังไม่นิยมตีฝ้าเพดาน เพราะภาคใต้มีอากาศร้อนและฝนตกชุก อากาศจึงอบอ้าว และมักจะเว้นช่องลมใต้หลังคาให้ลมโกรกอยู่ตลอดเวลา การที่ตัวเรือนยกพืำนสูง
ชาวไทยมุสลิมจึงสามารถใช้ใต้ถุนประกอบกิจกรรมต่าง ๆ ทีส่ ่งเสริมการดำารงชีวิตได้เป็นอย่างดี เช่น ใช้เป็นบริเวณประกอบอาชีพเสริม คือ ทำากรงนก สานเสื่อกระจูด
หรืออาจใช้วางแคร่เพื่อพักผ่อน บางบ้านอาจกัำนเป็นคอกสัตว์ เป็นต้น
เนื่องจากประเพณีความเป็นอยู่ของชาวไทยมุสลิมจะแยกกิจกรรมของชายหญิงอย่างชัดเจน ตัวเรือนจึงนิยมมีบันไดไว้ทัำงทางขึำนหน้าบ้านและทางขึำนครัว
โดยทัว่ ไปผู้ชายจะใช้บันไดหน้า ส่วนผู้หญิงจะใช้บันไดหลังบ้าน รวมทัำงเป็นการไม่รบกวนแขกในการเดินผ่านไปมาอีกด้วย ลักษณะเด่นทางสถาปัตยกรรมของเรือนไทยมุสลิม คือ
การสร้างเรือนโดยการผลิตโดยการผลิตส่วนประกอบของเรือนก่อน แล้วจึงนำาส่วนต่าง ๆ เหล่านัำนขึำนประกอบกันเป็นตัวเรือนอีกทีหนึ่ง ขณะเดียวกัน
เมื่อต้องการย้ายไปประกอบในพืำนที่อื่น ๆ ตัวเรือนก็สามารถแยกออกได้ส่วน ๆ ได้เสาเรือนจะไม่ฝังลงดิน แต่จะเชื่อมยึดต่อกับตอม่อหรือฐานเสาเพื่อป้องกันปลวก
เนื่องจากมีความชืำนสูงมาก
นอกจากนีำเรือนไทยมุสลิมยังแยกส่วนที่อยู่อาศัย (แม่เรือน) ออกจากครัว โดยใช้เฉลียงเชื่อมต่อกัน ทัำงนีำเพราะเชื่อว่าบริเวณแม่เรือนเป็นบริเวณที่สะอาด
ส่วนบริเวณครัวนัำนสามารถทำาสกปรกได้โดยง่ายแลยังสามารถดับเพลิงได้สะดวกเมื่อเกิดเพลิงไหม้บริเวณครัว
โดยสรุป เรือนไทยมุสลิมมีลักษณะเฉพาะตัวที่มีคุณค่าทางสถาปัตยกรรม ดังนีำ
๑. หลังคาเป็นหลังคาทรงสูง มีความลาดชัน เพื่อให้นำาฝนไหลผ่านโดยสะดวก โดยทัว่ ไปมี ๓ แบบ คือ หลังคาจั่ว หลังคาปั้นหยา หลังคาจั่วมนิลา
มีหารต่อชายคาออกไปคลุมบันได เนื่องจากฝนตกชุกมากในบริเวณภาคใต้
๒. ไม่นิยมฝังเสาเรือนลงไปในพืำนดิน แต่จะใช้ตอม่อหรือบานเสาที่ทำาโดยไม้เนืำอแข็ง ศิลาแลง หรือเสาก่ออิฐฉาบปูนรองรับ
๓. วิธสี ร้างเรือนจะประกอบส่วนต่าง ๆ ของเรือนบนพืำนดินก่อนแล้วจึงยกส่วนโครงสร้างต่าง ๆ ขึำนประกอบเป็นตัวเรือนอีกทีหนึ่ง
การสร้างเรือนวิธีนีำทำาให้สะอาดในการย้ายบ้าน ซึ่งนิยมย้ายบ้านทัำงหลังโดยใช้คนหาม โดยถอดส่วนที่มีนำาหนักมากออกเสียก่อน เช่น ฝา กระเบืำองมุงหลังคา ฯลฯ
๔. ไม่นิยมสร้างรัำวกัำนบริเวณเรือน แต่จะปลูกไม้ผล เช่น มะพร้าว มะม่วง ขนุน กล้วย เพื่อให้ร่มเงา และเป็นการแสดงอาณาเขตของบ้านเรือน
ซึ่งนิยมสร้างแยกกันเป็นหลัง ๆ
๕. การวางตัวเรือนจะหันหน้าเข้าหาเส้นทางสัญจรทัำงทางนำำาและทางบก ซึ่งสามารถรับลมบกและลมทะเลได้
๖. นอกจากเรือนพักอาศัยแล้ว ยังมีอาคารประกอบบ้านเรือนอีกได้แก่ “ศาลา” ซึ่งมีรูปทรงของหลังคาคล้อยตามความนิยมของรูปแบบเรือนพักอาศัย เช่น
หลังคาจั่ว หลังคาปั้นหยา ศาลาเหล่านีำจะสร้างขึำนตามลักษณะการใช้สอย เช่น ใช้ประชุมหรือพบปะสังสรรค์ของชาวบ้านศาลาใช้สำาหรับเป็นที่หลบแดดฝนระหว่างเดินทาง
๗. สถานที่หรืออาคารประกอบตัวเรือนจะอำานวยความสะดวกในหารประกอบอาชีพของชาวใต้ เช่น
เรือนชาวนาจะมียุ้งข้าวขนาดเล็กสำาหรับเก็บข้าวเปลือกไว้หน้าบ้าน เรือนชาวสวนยางพาราจะมีโรงสำาหรับทำานำำายางให้เป็นแผ่นและที่ตากยาง เรือนชาวประมงจะมีที่ตากปลา
เป็นต้น

เรือนไทยมุสลิมใน ๔ จังหวัดภาคใต้
๑. เรือนไทยมุสลิมในจังหวัดปัตตานี
ตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ปัตตานีได้ชื่อว่าเป็นเมืองศูนย์กลางของวัฒนธรรมอิสลาม ซึ่งสืบทอดมาตัำงแต่ครัำนบรรพบุรุษจนถึงปัจจุบัน
วัฒนธรรมดังกล่าวมีลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ไม่ว่าจะเป็นภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อ ตลอดจนการดำารงชีวิตและที่สำาคัญคือสถาปัตยกรรมพืำนถิ่น
เนื่องจากปัตตานีมีพืำนที่ติดชายฝั่งตะวันออกคือ อ่าวไทย และมีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดยะลาและนราธิวาส หมู่บ้านของชาวไทย
มุสลิมในจังหวัดปัตตานีจึงมีลักษณะหลากหลาย ทัำงหมู่บ้านชาวประมง ชาวสวนยางพารา ชาวนา และชาวสวนผลไม้ ทำาให้รูปแบบการตัำงถิ่นฐานของชุมชนมีครบทัำง ๓ รูปแบบ
กล่าวคือ

๑. แบบเป็นกระจุก

๒. แบบกระจัดกระจาย

๓. แบบเรียงรายไปตามแนวชายฝั่งทะเล หรือเส้นทางสัญจร
ในฐานะที่ปัตตานีเป็นศูนย์กลางการค้าขายทางทะเลมาตัำงแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา รูปแบบสถาปัตยกรรมพืำนบ้านจึงมีรูปแบบสถาปัตยกรรมที่หลากหลาย คือ
นอกจากจะเป็นเรือนไม้ยกพืำนใต้ถนุ สูง ซึ่งเป็นลักษณะร่วมทางสถาปัตยกรรมพืำนฐานของภูมิภาคศูนย์สูตรแล้ว ยังมีลักษณะรูปทรงหลังคาที่โดดเด่นเป็นพิเศษ
โดยทัว่ ไปหลังคาเรือนไทยมุสลิมจะมี ๓ ลักษณะ ดังนีำคือ
15
๑. หลังคาปั้นหยา หรือหลังคาลีมะ คำาว่า “ลีมะ” แปลว่า “ห้า” หมายถึงหลังคาที่นับสันหลังคาได้ ๕ ล้น
เป็นรูปทรงหลังคาที่ได้รับอิทธิพลจากสถาปัตยกรรมแบบอาณานิคมของชาวตะวันตก หลังคาทรงปั้นหยานีำนับได้ว่าเป็นเอกลักษณ์ของภาคใต้
และพบได้ทั่วไปในจังหวัดภาคใต้โดยเฉพาะในจังหวัดปัตตานี
๒. หลังคาจั่วมนิลา ชาวมุสลิมเรียกว่า “บลานอ” ซึ่งหมายถึง ชาวฮอลันดา หลังคาแบบนีำเชื่อว่าได้รับอิทธิพลมาจากสถาปัตยกรรมของชาวฮอลันดา
เป็นหลังคาที่มีโครงสร้างเช่นเดียวกับหลังคาปั้นหยา แต่เป็นหลังคาที่มีจั่วติดอยู่ เพื่อระบายอากาศและดูสวยงาม หลังคาบลานอนีำจะมีรูปแบบที่สวยงามกว่าแบบอื่น
เหมาะที่จะมีจั่วอย่างน้อย ๓ จั่ว โดยมีหลังจั่วแฝด และมีจั่วขนาดเล็กสร้างคลุมเฉลียงหน้าบ้านติดกับบันไดทางขึำน เพื่อใช้รับรองแขกอย่างไม่เป็นทางการ นอกยากนัำน
ช่างไม่ยังแสดงฝีมือเชิงช่างในการประดิษฐ์ลวดลายด้วยการแกะสลักไม้ ปูนปั้น เป็นลวดลายประดับลวดลายประดับยอดจั่ว และมีการเขียนลายบนหน้าจั่ว
หรือตีไม้ให้มีลวดลายเป็นแสงตะวัน
๓. หลังคาจั่ว ชาวมุสลิมเรียกว่า “แมและ” เชื่อว่าได้รับอิทธิพลจากเรือนไทยภาคกลาง แต่จะมีข้อแตกต่างไปจากภาคกลาง
ตรงที่มีปั้นลมปีกนกที่ได้รับอิทธิพลจากรูปแบบสถาปัตยกรรมจากมาเลเซีย ไม่เหมือนปั้นลมไทย ซึ่งปลายปั้นลมทัำงสองข้างจะมีเหงาปั้นลมประดับอยู่
นอกจากหลังคาทัำง ๓ แบบดังกล่าวแล้ว เรือนชาวไทยมุสลิมโบราณในจังหวัดปัตตานียังมีลักษณะเด่น คือ
การประดิษฐ์ลวดลายไม้แกะสลักทัำงบริเวณช่องลมและประดับฝาเรือนอีกด้วย
๒. เรือนไทยมุสลิมในจังหวัดยะลา
เรือนไทยมุสลิมในจังหวัดยะลาเป็นเรือนไม้ใต้ถุนสูง หลังคาทรงจั่วมนิลาและทรงปั้นหยา แต่ทรงจั่วมนิลาจะพบมากกว่าทรงปั้นหยา เรือนหนึ่ง ๆ
จะมีทางขึำนเรือนอย่างน้อยสองทางเสมอ เนื่องจากเวลามีกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับศาสนา วัฒนธรรม และประเพณีต่าง ๆ จะมีการแยกเพศระหว่างชายและหญิง
เมื่อมีแขกมาในงาน ถ้าเป็นชายจะขึำนเรือนทางด้านหน้า ส่วนหญิงจะขึำนเรือนทางด้านข้างหรือด้านหลัง
๓. เรือนไทยมุสลิมในจังหวัดนราธิวาส
เรือนไทยมุสลิมในจังหวัดนราธิวาสมีรูปทรงของเรือนเหมือนเรือนไทยมุสลิมทั่วไปคือ เป็นเรือนไม้ใต้ถุนสูง
เสาจะวางอยู่บนตอม่อบางบ้านทำาเป็นตอม่อซีเมนต์หล่ออย่างแข็งแรง บางบ้านก็ใช้เสาไม้ขนาดใหญ่ทำาตอม่อ
รูปทรงหลังคาเรือนไทยมุสลิมในนราธิวาสจะแตกต่างจากจังหวัดปัตตานีและยะลา ตรงที่หลังคาเป็นทรงจั่วมนิลาทรงสูง เล็ก
และมีหลังคาทอดกว้างออกไปในลักษณะจั่วเดียวหรือซ้อนเรียงกัน ๒ จั่ว แล้วแต่ขนาดของเรือนว่าเล็กใหญ่แค่ไหน ซึ่งมีทัำงหลังคากระเบืำองและสังกะสี
ส่วนการใช้พืำนที่เรือนและบริเวณบ้านมีลักษณะเดียวกับเรือนในยะลาและปัตตานี เนื่องจากเป็นกลุ่มประชากรที่มีลักษณะทางวัฒนธรรมแบบเดียวกัน
๔. เรือนไทยมุสลิมในจังหวัดสตูล
เรือนไทยมุสลิมในจังหวัดสตูลมีลักษณะหลังคาเป็นแบบจั่วยกสูงแล้วลาดเอียงไปในแนวชายคาทั่งสองด้าน มีลักษณะเหมือนปีกนก เพื่อให้นำาฝนไหลผ่านได้สะดวก
ความพิเศษของเรือนไทยมุสลิมในจังหวัดสตูลอยู่ที่ไม่มีฝ้าเพดาน แต่จะนิยมทำาช่องลมไว้ใต้จั่ว แม่เรือนหรือตัวเรือนหลักจะไม่มีเฉลียงหรือระเบียง มีบันไดพาดขึำนบ้านได้ทันที
ทัำงนีำเพราะเป็นข้อห้ามตัำงแต่ครัำงโบราณว่า เรือนเจ้านายระดับสูงเท่านัำนจึงจะมีระเบียงหรือเฉลียง ส่วนเรือนชาวบ้านสามัญจะต้องไม่เลียนแบบเรือนเจ้านาย
อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันเรือนชาวบ้านได้มีการต่อเติมเพิ่มเฉลียงขึำนให้คลุมบันได เพื่อป้องกันฝนสาดและสะดวกในการใช้ประโยชน์จากพืำนที่

ประเพณีและความเชื่อในการสร้างบ้านเรือนของชาวไทยมุสลิมในอดีตจะมีประเพณีกรรมหลายอย่าง
เข้าใจว่าได้รับอิทธิพลของศาสนาพราหมณ์เพราะตามบันทึกและประวัติศาสตร์ก่อนหน้าที่ศาสนาจะเข้ามามีอิทธิพลประชาชนในดินแดนแถบนีำนับถือศาสนาพุทธมาก่อน
ดังนัำนเมื่อศาสนาอิสลามเข้ามา แม้ประชาชนในแถบนีำจะนับถือศาสนาอิสลามแล้วก็ตาม แต่ประเพณีต่าง ๆ
ของศาสนาพุทธและพราหมณ์บางอย่างก็ยังเป็นที่ยดึ ถือและปฏิบัติอยู่ ประเพณีการสร้างเรือนไทยมุสลิมมีขัำนตอนและพิธีกรรมที่น่าสนใจดังต่อไปนีำคือ
๑. สถานที่สร้างเรือน
การเตรียมสถานที่สร้างเรือนจะต้องเป็นพืำนดินราบเสมอกันในบริเวณที่จะสร้างเรือน ส่วนนอกบริเวณดังกล่าวทางทิศเหนือต้องเป็นที่ดอนหรือเนิน
และทางทิศใต้ต้องเป็นพืำนทีต่ ำ่ากว่า อาจจะเป็นพืำนที่นาข้าวส่วนทิศตะวันออกต้องเป็นพืำนที่เสมอกันกับพืำนที่สร้างเรือน ถ้าเลือกพืำนที่ในลักษณะที่เช่นนีำเป็นที่สร้างเรือนแล้ว
เชื่อกันว่าเมื่อสร้างเรือนอยู่ ชีวิตครอบครัวจะรุ่งเรืองอยู่เย็นเป็นสุข การทำามาหากินจะมีโชคลาภ ได้ทรัพย์สมบัติเพิ่มพูนและฐานจะดีขึำนตามลำาดับ
แต่ถ้าหาพืำนที่ในลักษณะดังกล่าวไม่ได้ เมื่อตัดสินใจสร้างเรือนในพืำนที่ใดให้หาไม้ไผ่อ่อนที่ยังไม่แตกกิ่งใบ ตัดเอาแต่ด้านโคนมีความยาว ๑ วา
โดยวัดความยาวด้วยข้อมือของผู้ที่จะสร้างเรือนจากปลายนิำวมือขวาถึงปลายนิำวมือซ้าย
จากนัำนนำาไปปักตรงใจกลางพืำนที่ที่จะสร้างในเวลาพลบคำ่าให้ลึกลงในดิบประมาณครึ่งศอก โดยก่อนจะปักไม้ไผ่ดังกล่าวจะต้องอ่านคัมภีร์อัลกุรอานในบท “อัลฟาตีฮะห์” ๑ จบ
แล้วอ่านคำาสรรเสริญพระเกียรติพระบรมศาสดามูฮัมหมัด ที่เรียกว่า “เศาะลาวาด” อีก ๓ จบ เสร็จแล้วไห้อธิษฐานขอให้พระอัลเลาะห์ได้โปรดประทานให้รู้อย่างหนึ่งอย่างใดว่า
พืำนที่ทตี่ ัำงใจจะสร้างเรือนจะเป็นสิริมงคลหรืออัปมงคล เมื่ออธิษฐานจบจึงปักไม้ไผ่ทิำงไว้จนรุ่งเช้า แล้วจึงนำาไม้ไผ่มาวัดความยาวใหม่
หากปรากฏว่าไม้ไผ่ยาวกว่าเดิมถือว่าพืำนที่นดีำ ี หากสัำนกว่าเดิมถือว่าไม่ดี ถ้าสร้างเรือนอยู่ครอบครัวจะแตกแยก การทำามาหากินไม่เจริญก้าวหน้าและมีอาถรรพ์ นอกจากนีำ
ควรลีกเลี่ยงการปลูกเรือนคร่อมจอมปลวก ตอไม้ใหญ่หรือครอง รวมทัำงหลีกเลี่ยงการปลูกเรือนใกล้ต้นไม้ใหญ่ ที่ดินสุสาน และพืำนที่รูปลิำนมีนาขนาบทัำงสองข้าง
๒. ทิศทางของเรือน
สำาหรับทิศทางของเรือนชาวมุสลิมเชื่อกันว่าไม่ควรสร้างขวางดวงตะวัน เพราะจะทำาให้ผู้อาศัยหลับนอนมีอนามัยไม่ดี
ไม่มีความจีรังยั่งยืนทางทีด่ ีที่สุดคือหันหน้าบ้านไปทางทิศตะวันออก หลังบ้านอยู่ทางทิศตะวันตก อย่างไรก็ตาม ชาวมุสลิมสมัยก่อนนิยมสร้างเรือนหันหน้าบ้านไปทางทิศเหนือ
16
หรือทางถนนเพื่อการสัญจร ส่วนห้องนอนต้องอยู่ทางทิศตะวันตก บางบ้านนิยมสร้างเรือนข้าว โดยเชื่อว่าเรือนข้าวมีความสำาคัญต่อครอบครัว
เพราะเป็นเครื่องวัดฐานะความมั่นคงของเจ้าบ้านทำาให้เกิดความเชื่อในเรื่องทิศทางและทำาเลที่ปลูกสร้างเรือนข้าวต่อมาโดยเชื่อกันว่าการปลูกเรือนข้าวไว้ทางทิศตะวันออกหรือทิ
ศใต้ของเรือนอาศัย จะทำาให้มีข้าวอุดมสมบูรณ์
๓. ฤกษ์ยามในการปลูกเรือน
การเลือกฤกษ์ยามในวันลงเสาเรือน เจ้าของบ้านจะต้องไปหาฤกษ์จากผู้รู้ เช่น โต๊ะอิหม่าม ซึ่งโดยมากวันที่ที่เป็นมงคลในการเริ่มลงเสาเรือนจะถือปฏิบัติกันหลายวิธี
และวิธีหนึ่งที่นิยมปฏิบัติกันทั่วไปคือ การนับธาตุทัำงสี่อันได้แก่ ดิน นำำา ไฟ ลม ซึ่งมีความหมายดังนีคำ ือ
“ดิน” หมายถึงการทำางานเป็นไปอย่างช้า ๆ อาจจะพบปัญหาและอุปสรรค
“นำำา” หมายถึงการทำางานอยู่ในสภาพเยือกเย็นได้รบั ความช่วยเหลือจากผู้อื่น
“ไฟ” หมายถึงการทำางานอยู่ในสภาพอารมณ์ร้อน การทำางานมีปัญหาและการทะเลาะเบาะแว้งในเครือญาติหรือเพื่อนร่วมงาน
“ลม” หมายถึงการทำางานเป็นไปอย่างรวมเร็ว ราบรื่น ไม่ค่อยมีปัญหา มีโชคลาภและอารมณ์เย็น การนับวันว่า วันไหนจะตกตรงกับธาตุดิน นำำา ไฟ ลม
จะต้องนับตามวันทางจัทรคติดังต่อไปนีำ
ดินนำำาไฟลมขึำน ๑ คำ่าขึำน ๒ คำ่า ขึนำ ๓ คำ่าขึำน ๔ คำ่า๕๖๗๘๙๑๐๑๑๑๒๑๓๑๔๑๕แรม ๑ คำ่าแรม ๒ คำ่าแรม ๓ คำ่าแรม ๔ คำ่าแรม ๕ คำ่า๖๗๘๙๑๐๑๑๑๒๑๓๑๔๑๕
วันที่นิยมสร้างเรือน ได้แก่ วันอาทิตย์ วันอังคาร วันพฤหัสบดี ส่วนวันที่ต้องห้าม คือ วันพุธ วันเสาร์ และไม่นิยมสร้างในวันศุกร์และวันพุธปลายเดือน
ทัำงนีำการนับวันของชาวไทยมุสลิมจะนับเวลาขึำนวันใหม่ตัำงแต่เวลา ๑๘.๐๑ น. ไปจนถึงเวลา ๑๘.๐๐ น. ของวันต่อไป
นอกจากนีำการสร้างเรือนของชาวมุสลิมจะไม่นิยมสร้างในข้างแรมของแต่ละเดือน แต่จะนิยมสร้างข้างขึำน
สำาหรับเดือนที่ถือว่ามีสิริมงคลในการเริ่มก่อสร้างเรือนมีเพียง ๖ เดือนเท่านัำน ได้แก่

๑. เดือนซอฟาร์ เชื่อกันว่าถ้าสร้างเรือนในเดือนนีำจะมีโชคลาภได้ทรัพย์สมบัติทวีคูณ

๒. เดือนยามาดิลอาวัล เชื่อกันว่าถ้าสร้างเรือนในเดือนนีำจะมีโชคลาภ มีบริวารมากเป็นที่รู้จักในวงสังคม

๓. เดือนซะบัน เชื่อกันว่าถ้าสร้างเรือนในเดือนนีำจะได้รับยศศักดิ์และเกียรติเป็นที่เคารพนับถือจากสังคมทั่วไป

๔. เดือนรอมฎอน เชื่อกันว่าถ้าสร้างเรือนในเดือนนีำจะมีโชคลาภและความรู้ความสามารถเพิ่มมากขึำน

๕. เดือนซุลกีฮีเดาะห์ เชื่อกันว่าถ้าสร้างเรือนในเดือนนีำจะมีโชคลาภอย่างมหาศาล
ทรัพย์สมบัติที่ได้มาจะได้สืบทอดถึงลูกหลานด้วยพร้อมกันนีำญาติพี่น้องและมิตรสหายจะมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดยิ่งขึำนอาหารการกินสมบู
รณ์ตลอด
ส่วนเดือนอื่น ๆ อีก ๖ เดือน ถือว่าเป็นเดือนไม่ดี ความหลีกเลี่ยงการลงเสาเรือน เพราะจะพบกับอุปสรรคต่าง ๆไม่จบสิำน
๔. การยกเสาเอก
โดยปกติบ้านหลังหนึ่งจะมี ๖ เสา เวลาลงเสาจะลงหมดทัำงหมดทัำง ๖ เสาพร้อมกัน แต่ถือว่าเสากลางด้านทิศเหนือเป็นเสาเอก ซึ่งเรียกตามภาษาพืำนเมืองว่า
“เตียงซือรี” ก่อนลงเสาทัำง ๖ ต้องใช้เหรียญบาทติดไว้ที่โคนทุกเสา แต่ถ้าเจ้าบ้านเป็นคนฐานะดี อาจติดทองคำาด้วย ทัำงนีำดว้ ยความเชื่อว่าเมื่อติดเหรียญทองคำาที่โคนเสาแล้ว
จะได้นั่งบนกองเงินกองทอง ทำามาหากินดี มีเงินเหลือเก็บและฐานะดีขึำนเรื่อย ๆ สำาหรับเสาเอก เวลาลงเสาจะต้องเอาผ้าแดง ๑ ผืน กล้ามะพร้าวที่มีใบ ๓-๔ ใบ จำานวน ๑ ต้น
รวงข้าวประมาณ ๑ กำามือ ทองคำาจำานวนหนึ่งโดยปกติใช้สร้อยคอทองคำาหนัก ๒ สลึง ๑ เส้น ผูกไว้ที่เสาเอกเป็นเวลา ๓ วันจึงเอาออก
(ส่วนทองคำาหลังจากลงเสาแล้วจะเอาออกทันทีเพราะกลัวขโมย)
๕. การสร้างเรือน
เมื่อเจ้าของเรือนตกลงเลือกสถานที่สร้างได้แล้ว ก็ถึงขันำ ตอนการสร้างเรือน โดยเจ้าของบ้านจะต้องตกลงกับช่างไม้ในเรื่องขนาดแบบเรือน ค่าใช้จ่าย และอื่น ๆ
เพราะเรือนที่สร้างจะไม่มีการเขียนแบบแปลน แต่อาศัยความชำานาญของช่างแต่ละคน โดยทั่วไปมีแบบและขัำนตอนการสร้างดังนีำ
๑. ขนาดของตัวเรือนขึำนอยู่กับจำานวนเสา โดยมากนิยมสร้างเสา ๖,๙ และ ๑๒ เสา
สำาหรับตัวเรือนแต่เดิมนิยมสร้างเป็นแบบเรือนแฝดมีชานกลางเชื่อมตัวเรือนหลักเข้ากับครัว แต่ต่อมานิยมสร้างเป็นตัวเรือนเดี่ยว ความกว้างของเรือนนิยมสร้าง ๗ หรือ ๑๐ ศอก
แต่ไม่นิยมสร้างเรือน ๘ ศอก โดยวัดจากช่วงข้อศอกถึงปลายนิำวกลาง ยกเว้นข้อศอกสุดท้ายจะกำามือ ส่วนบันไดนิยมความกว้างเป็นเลขคี่ เช่น ๓ , ๕,๗ จะไม่นิยมลงเลขคู่
เพราะถือว่าเป็นบันไดผี นำาความอัปมงคลมาสู่ผู้อยู่อาศัย
๒. ความสูงของตัวเรือน นิยมสร้างโดยยกพืำนใต้ถุนสูงพอคนลอดได้ หรือไม่เกิน ๒ เมตร เพื่อใช้ใต้ถุนเป็นที่เก็บของ ทำาเป็นคอกสัตว์ที่นั่งเล่น
และใช้เป็นที่ประกอบอาชีพเสริม เช่น สานเสื่อ ทำากรงนกเขาชวา ฯลฯ
17
๓. พืำนเรือน มักตีพืำนลดหลั่นกันตามประเภทการใช้สอย โดยแบ่งออกเป็น ๕ ระดับ ได้แก่ จากบันไดสู่ชาน
จากชานสู่ระเบียงใช้เป็นที่รับแขกจากระเบียงยกระดับสูงขึำนเป็นพืำนห้องโถงใหญ่และห้องนอน ลดระดับลงมาเป็นพืำนครัว ถ้าครอบครัวฐานะดีจะใช้ไม้กระดานตีให้ห่าง
เพื่อระบายลมและเทนำำาทิำง ถ้าครอบครัวฐานะยากจนจะใช้ไม้ไผ่ตีเป็นฟากจากครัวลดระดับลงมาเป็นชานซักล้างอยู่ตดิ กับบันไดหลังบ้าน
๔. การกัำนห้องและพืำนที่สำาหรับละหมาดเรือนไทยมุสลิมจะกัำนห้องเฉพาะใช้นอนเท่านัำน นอกนัำนปล่อยเป็นพืำนที่โล่ง ใช้เป็นที่รบั แขกและพิธีต่าง ๆ เช่น แต่งงาน
งานเมาลิด ฯลฯ แต่เนื่องจากบัญญัติของศาสนาอิสลาม ชาวไทยมุสลิมจะต้องทำาละหมาดทุกวัน ๆ ละ ๕ ครัำง
ทุกบ้านจึงต้องกัำนพืำนทีส่ ่วนหนึ่งไว้สำาหรับทำาละหมาดโดยใช้เกณฑ์ดังนีำคือ
๔.๑ ต้องมีฝาหรือผ้าม่านกัำนไม่ให้คนเดินผ่าน
๔.๒ ต้องอยู่บนเรือนหลัก
๔.๓ ต้องหันหน้าไปทางทัศตะวันตก
๕. การสร้างตัวเรือนหลัก เมื่อทำาพิธียกเสาเอกแล้ว จะยกเสาที่เหลือขึำน จากนัำนจึงติดตัำงโครงสร้างเรือน โดยประกอบโครงหลังคาบนดินก่อน
แยกประกอบขึำนเป็นตัวเรือน ตีแปแล้วขึำนมุงหลังคา ก่อนวางตงแล้วตีพืำน จากนัำนจึงตีราวฝา ติดตัำงวงกบประตู หน้าต่าง ตีฝา แล้วต่อระเบียงหน้าบ้าน ต่อครัวไปทางด้านหลัง
เมื่อเสร็จตัวเรือนแล้วจึงติดตัำงบันไดหน้าบ้านและหลังบ้าน เมื่อสร้างเรือนเสร็จแล้วนิยมขุดบ่อนำำาไว้ใช้อุปโภค โดยนิยมขุดบ่อไว้ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของบ้าน
และสร้างที่อาบนำำาไว้บริเวณใกล้บ่อนำำา เพราะแต่เดิมไม่นิยมสร้างส้วมหรือห้องนำำาไว้ในตัวเรือน
๖. การประดับตกแต่งตัวเรือน เรือนไทยมุสลิมดัำงเดิมจะไม่ทาสี แต่จะใช้นำามันไม้ทาเพื่อป้องกันปลวก ส่วนการประดับตกแต่งตัวเรือนขึำนอยู่กับฐานะของเจ้าบ้าน
หากมีฐานะดีจะประดับตัวเรือนด้วยไม้ฉลุเป็นลวดลายประดับยอดจั่ว ช่องลม และเชิงชาย

You might also like