Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 16

Chapter 5

MECHANICAL BEHAVIOR OF TRACK

5.0 INTRODUCTION 5.1 TRACK STIFFNESS


ส ตี ฟ เ น ส ท า ง k (track stiffness) แ ล ะ สตีฟเนส(stiffness)เป็ นรูปแบบทีเ่ รียบง่าย
โมดูลสั ทาง u (track modulus) เป็ นปั จจัยที่มีบทบาท นิยามเป็ นอัตราส่วน แรง (F) ต่อ ระยะกระจัด (y)
สาคัญส่งผลต่อคุณภาพของทาง ทัง้ สองค่าต่างก็เป็ น แสดงได้เป็ น
ดัชนีที่บอกถึงกาลังแบกทาน(bearing capacity)ของ 𝐹
k = ………(5.1)
ชัน้ รองแทร็ก(track-bed layers)และเป็ นพารามิเตอร์ 𝑦

พืน้ ฐานที่สาคัญสาหรับใช้ในการออกแบบ สตีฟเนสจะแสดงให้เห็นถึงแรงทีท่ าให้เกิด


การยุบตัวลง 1 หน่วย เช่น k = 8.5 ตัน/ซม
ในการวิเคราะห์รางรถไฟเราจะสมมุตใิ ห้
หมายความว่า แรง 8.5 ตัน จะทาให้เกิดการยุบลง 1
รางเป็ นคานที่ยาวต่อเนื่องไม่สนิ ้ สุดรองรับด้วยฐาน
ซม. เป็ นต้น
ยืดหยุน่ (Elastic foundation) รางถูกกระทาด้วยแรง
P จนทาให้เกิดการแอ่นตัวลงในแนวดิง่ สูงสุด(𝛿𝑚 )
แรงปฏิกริยาของฐาน (q) จะกระจายออกไปตาม
ความยาวของราง(ภาพที่ 5.1)

ภาพที่ 5.2 แสดงความต้านทานแต่ละชัน้ จะแทน


ภาพที่ 5.1 Beam on elastic foundation model.
ด้วยสปริง
ที่มา: (LI, 1994)
ที่มา:
ลักษณะการยืดหยุน่ ของฐานรองรับรางมีผลต่อการ
ความยืดหยุ่นของฐานที่รองรับรางจะขึน้ อยู่กับเอก
กระจายของนา้ หนักล้อที่กระทาต่อรางบนหมอนที่
ลักษณะของวัสดุแต่ละชนิด เช่น แผ่นยางรองราง,
ค่อนข้างซับซ้อน
บัลลาสต์, ดินพืน้ ทาง และ วัสดุอื่นๆ เป็ นต้น
ถ้าให้ 𝑦𝑛 เป็ นการทรุดตัวในแนวดิ่งขององค์ประกอบ ตัวอย่าง 5.1 ทางแบบบัลลาสต์หมอนคอนกรีตวาง
ทางที่พิจารณา จะได้สตีฟเนสขององค์ประกอบทาง บนพืน้ ทางที่เป็ นดินร่วน(Silty) รับนา้ หนัก 6 ตันจาก
คือ ล้อกดจงหาว่า ระดับสันรางมีการยุบตัวลงเท่าไร(ไม่
คิดสตีฟเนสของรางและหมอนคอนกรีตเนื่องจากมีค่า
R
𝑘𝑛 = y ………(5.2) น้อยมาก)
n

𝑦𝑛 1 วิธีทา
=
𝑅 𝑘𝑛
1 1 1 1
การทรุดตัวทัง้ หมดจะหาได้จาก y = ∑ 𝑦𝑛 โดย ∑
kn
=k +k +k
pad ballast Subgrade
ที่
1 1 1 49
= 10 + 20 + 1.5 = 60 มม/ตัน.
𝑦 1
= ∑ ………(5.3)
R kn จากสมการ(3.4)
1
𝑘 = 1 ………(5.4) 1 60

kn 𝑘= 1 = 49 ตัน/มม.

kn

สตีฟเนสสาหรับองค์ประกอบต่างๆของทางจะแสดง ดังนัน้ จะยุบตัว


ไว้ในตาราง 5.1และ 5.2
R 49×6
𝑦 = k = 60 = 4.90 มม ตอบ
ตาราง 5.1 สตีฟเนสองค์ประกอบต่างๆของทาง
Components k (t/mm)
ราง 5,000 - 10,000
5.2 TRACK MODULUS
หมอนไม้ 50 - 80
หมอนคอนกรีต 1,200 - 1,500 ในปี 1994 Selig and Li ได้นาเสนอโมดูลสั
บัลลาสต์ 10 - 30 ทาง u (track modulus) โดยถูกนิยามเป็ นแรง r (ต่อ
แผ่นยางรองราง 10 – 20 หน่ว ยความยาวราง)ต่อระยะกระจัด y ในแนวดิ่ง
เป็ นดัชนีชีว้ ดั ความต้านทานต่อการเสียรู ปเหมือนกัน
กับ โมดูลัสยื ด หยุ่น E (Young’ modulus) เขี ย นเป็ น
ตาราง 5.2 Subgrade reaction coefficient สมการได้คือ
Subgrade 𝒌 (t/mm)
Silty 0.5 - 1.5 𝑟 𝑄
u = = กก/ซม2 ….(5.5)
Clay 1.5 - 2 𝑦 𝑠×𝑦

Gravel or rocky 2-8


เมื่อ
Frozen 8 - 10
Q คือ นา้ หนักกดล้อ กก.
r คือ นา้ หนักกดล้อ กก/ซม. การวัดค่าในสนาม
s คือ ระยะห่างหมอน ซม. ค่าโมดูลสั ของทางที่แท้จริงจะหาได้จากการวัดค่าใน
y คือ ระยะกระจัดในแนวดิ่ง ซม. สนาม วิ ธี ก ารวัด ก็ จ ะมี อ ยู่ห ลายวิธี แ ต่ในที่ นี จ้ ะขอ
กล่า วถึ ง วิ ธี ที่ ม าจากผลการวิ จัย ของ Timoshenko
and Langer (1932) ซึ่ง จะหาค่าโมดูลัสจากการวัด
ค่าการกระจัดในแนวดิ่งของราง 𝑦𝑚𝑎𝑥 ในสนามโดย
ใช้อปุ กรณ์กดไปที่รางแบบนา้ หนักกดหนึง่ เพลา

ภาพที่ 5.3 Simplified approach of the track


system
ที่มา: (PROFILLIDIS, 2014)
ภาพที่ 5.4 การวัดค่าโมดูลสั ในสนาม
ที่มา:
ความสัมพันธ์ของโมดูลัสและสตีฟเนสของทาง
จากสมการ(5.1) 1 3 𝑘4 1 3 𝑄4
u = √ = √EI×𝑦4 (5.9)
4 EI 4 𝑚𝑎𝑥
F
𝑘 = y ………(5.6) เมื่อ
และจากสมการ(5.5) Q คือ นา้ หนักกดล้อแบบสถิต
𝑦𝑚𝑎𝑥 คือ ระยะกระจัดสูงสุด
1 u E คือ โมดูลสั ยืดหยุน่ ของเหล็กราง
=
y r
I คือ โมเมนต์ความเฉื่อยของราง
แทนค่าของ y ลงในสมการ (5.6) จะได้
u สตี ฟ เนสของวัสดุร องรับ (บัลลาสต์และพื น้ ทาง)จะ
𝑘= 𝐹∙r ………. (5.7)
แสดงถึ ง สมรรถภาพของพื น้ ทาง บัลลาสต์ที่ ถูกอัด
เนื่องจาก 𝐹 = 𝑅 = 𝑟 × 𝑠 แน่นจะให้ค่าโมดูลสั มีค่ามาก(การกระจัดน้อยความ
u
เค้น ในรางจะมี ค่า ต่ า ) และ ถ้า บัล ลาสต์ห ลวมค่า
𝑘 = (𝑟 × 𝑠 ) r = 𝑢 × 𝑠 ……….(5.8)
โมดูลสั ก็จะมีคา่ น้อย(การกระจัดจะมีคา่ มาก)
Selig และ Li ได้แนะนาโมดูลสั ทางขัน้ ต่า u y คือ ระยะกระจัดในแนงดิ่ง (ซม.)
เท่ากับ 28 MPa เพื่อให้ม่นั ใจในประสิทธิภาพของทาง
ที่ดีภายใต้นา้ หนักผ่านทาง ตาราง 5.3 Coefficient of Ballast Reaction
ตัวอย่าง 5.2 ทางหมอนไม้ใช้ราง 136 RE ใช้นา้ หนัก Ballast Type 𝑪𝒔 (กก/ซม3)
กดเท่ากับ 30,000 lb. วัดการกระจัดของรางได้ 𝑦𝑚
หลวมมาก 2
เท่ากับ 0.12 นิว้ จงหาโมดูลสั ของทาง
หลวม 5
แน่น 8 - 10
วิธีทา
จากสมการ(3.9) แน่นมาก 12 - 15
แกร่ง 30 - 60
1 3 𝑄4
𝑢= √ 4
4 EI × 𝑦𝑚𝑎𝑥
ที่มา:
4
13 (30000) จะเป็ นพืน้ ที่บริเวณที่มีการถ่ายโหลดจากจุด
= 4√ 4
30 × 106 × 95.00 × (0.12)
ที่รางนั่งกระจายไปให้กบั บัลลาสต์ (ภาพที่ 5.5)
= 2775 lb./in2 ตอบ

5.3 BALLAST COEFFICIENT


บั ล ลาสต์ จ ะถู ก สมมุ ติ ใ ห้ มี พ ฤติ ก รรม
ยื ด หยุ่น สัม ประสิท ธิ์ ก าลัง ต้า นทานของบัล ลาสต์
(ballast coefficient) นิ ย ามได้ จ ากแรงดั น ในพื ้น ที่ ภาพที่ 5.5 พืน้ ที่หน้าตัดสุทธิ
ประสิ ท ธิ ผ ลใต้ห มอน(Effective area)ต่ อ ระยะการ
กระจัดในแนวดิ่ง และอาจรู จ้ กั ในชื่อของ Subgrade
Reaction หรื อ modulus of the foundation 𝐶𝑠 (มี ส าหรั บ g > 1.5 m (standard and bord guage)
หน่วยเป็ น กก/ซม2 /ซม) เขียนเป็ นสมการได้คือ ความยาวของพืน้ ที่ประสิทธิผลใต้หมอน

p 𝑅 w = l–g …….(5.12)
𝐶𝑠 = y = y . A ……….(5.10)
s
ส า ห รั บ 1.5 > g > 1.0 m (narrow and metre
k
หรือ 𝐶𝑠 = A ……….(5.11) guage)ความยาวของพืน้ ที่ประสิทธิผลใต้หมอน
s

เมื่อ w = 0.80 (l - g) …….(5.13)


As คือ พืน้ ที่ประสิทธิผลใต้ทอ้ งหมอน (ตร.ซม.) (การรถไฟบางแห่งใช้ 0.85)
p คือ แรงดันเฉลีย่ ใต้หมอน (กก/ตร.ซม.)
หมอนที่อยูใ่ นทางจะวางตามขวาง การถ่าย สิ่งสาคัญที่จะต้องรู ว้ ่าพารามิเตอร์ของฐานรองรับจะ
น ้ า หนั ก จากรางลงบนบั ล ลาสต์ โ ดยผ่ า นพื ้น ที่ เกี่ยวพันซึง่ กันละกัน
ประสิทธิ ผลใต้ทอ้ งหมอนต้องทาต่อหน่วยความยาว 𝑄 𝑘 𝐶 ∙𝐴 ∙𝑣
𝑢 = 𝑠×𝑦 = 𝑠 = 𝑠 𝑠 𝑠 = 𝐵′ ∙ 𝐶𝑠 ∙ 𝑣
ราง ดัง นั้น จึ ง ต้องแปลงจากหมอนเดี่ยวที่วางตาม
……… (5.16)
ขวางไปเป็ นคานยาว ภาพที่ 5.6
เมื่อ 𝑣 คือ ชนิดหมอน (หมอนคอนกรีต 𝑣 = 1,
หมอนไม้ 𝑣 = 0.91 ซึง่ 𝐶𝑠 > 6 กก/ซม3)

5.4 BEAM ON ELASTIC FOUNDTION


Winkler (1867) และ Zimmerman(1888)
ได้พฒ
ั นารูปแบบจาลองคานบนฐานยืดหยุน่ (Beam
on Elastic Foundation)ขึน้ มาเพื่อใช้ในการหานิพจน์
ทางคณิตศาสตร์สาหรับการออกแบบทางรถไฟ
ภาพที่ 5.6 Transformation of transversely
สมการเชิ งอนุพันธ์ของ Winkler มีการอธิ บายคล้าย
sleepered track to an assumed longitudinally
กับสมการคานธรรมดา(มีจุดรองรับที่ปลายสองข้าง)
sleepered track for use with Zimmermann
ข อ ง Euler – Bernoulli โ ด ย ที่ w( x) เ ป็ น load
theory (Eisenmann 1969 b)
functionsc และเมื่ อ เปรี ย บเที ย บ Euler–Bernoulli
ที่มา: (Doyle, 1980)
equation
4
d y(x)
จากพืน้ ที่ประสิทธิผลใต้หมอน 𝐸𝐼 = 𝑤(𝑥)
dx4
As = 𝐵 ∙ w ……… (5.14) กับสมการของ Winkler equation
เมื่อ 4
d y(x)
B คือ ด้านกว้างของหมอน 𝐸𝐼
dx4
= 𝑤(𝑥) − 𝑞(𝑥)

w คือ ความยาวของสุทธิใต้หมอน จะเห็นได้ว่ามีเแรงต้านทีใ่ ต้ทอ้ งคาน q(x) ถูกเพิ่มเข้า


ความกว้างคานแปลง 𝐵′ จะได้ มาในสมการ(ภาพที่ 5.7) โดยที่
𝐴 … (5.17)
𝐵′ = 𝑠𝑠 ……… (5.15) 𝑞(𝑥) = 𝐶𝑠 𝐵′ ∙ 𝛿(𝑥) = 𝑢 ∙ 𝛿(𝑥)

โดยที่ s คือ ระยะห่างของหมอน เมื่อ δ(x) เป็ นการกระจัดทีม่ ีความสัมพันธ์เป็ นเชิงเส้น


ภาพที่ 5.7 Winkler’s model (a) ความยาวเท่ากับความยาวเอกลักษณ์ (b) ความกว้างคานเท่ากับ B′
ที่มา: ดัดแปลงจาก (Pasik, Chalecki, & Koda, 2015)

ให้ลองพิจารณาดูตวั อย่างคาน(ภาพที่ 5.8) 4


𝑑 𝑦
𝐸𝐼 + 𝑞= 0 …… (5.18)
𝑑𝑧4
ที่ ถูก รองรับ ด้วยฐานยืด หยุ่น ตลอดความยาว เมื่ อ
𝑢
คานถูก กดด้ว ยแรง P ในแนวดิ่ ง สมมุติ ว่ า เราตัด 𝑦 (4) = − 𝐸𝐼 ∙ 𝑦 …… (5.19)
ชิน้ ส่วนของคานยาว Δz มาพิจารณาความสมดุลของ
ชิน้ ส่วนคานก็จะได้ความสัมพันธ์ของแรงดังนี ้ ในการหาผลเฉลยของสมการ (5.19) จะ
ก าหนดพารามิ เ ตอร์ β ให้เ ป็ น ค่ า คงที่ โดยทั่ว ไป
∑ 𝐹𝑦 = 0 เรี ย กว่ า เอกลัก ษณะของระบบ (characteristic of
𝑉 + 𝑞 𝑑𝑧 − (𝑉 + 𝑑𝑉) = 0 the system )
𝑢
𝑑𝑉 4𝛽 4 = 𝐸𝐼
=𝑞
𝑑𝑧
4 𝑢 1
∑𝑀 = 0 𝛽 = √4𝐸𝐼 = …… (5.20)
𝑥𝑥 𝐿
𝑀 + 𝑉 𝑑𝑧 − (𝑀 + 𝑑𝑀) = 0 เมื่อแทนค่าด้วยค่าคงที่ซึ่งเป็ นเอกลักษณ์ของระบบ
𝑑𝑀 จะได้สมการอนุพนั ธ์(Derivative)อันดับ 4 คือ
=𝑉
𝑑𝑧
𝑦 (4) + 4𝛽 4 𝑦 = 0 …… (5.21)
𝑑2 𝑀 𝑑𝑉
= =𝑞
𝑑𝑧 2 𝑑𝑥
2
แต่เรารู ว้ ่า 𝑀 = −𝐸𝐼 ∙ d 𝑦2 ดังนัน้ จะได้สมการที่
dz
เป็ น homogeneous equation คือ
ภาพที่ 5.8 Infinite beam on an elastic foundation and loaded at origin.
ที่มา: (ARTHUR P. BORESI 2003 )
5.5 INFINITE BEAM SUBJECTED TO A 𝑉𝑦 = −𝐸𝐼𝑥
𝑑 𝑦
3
𝑃
= − 2 ∙ 𝐷𝛽𝑧 …… (5.26)
𝑑𝑧3
CONCENTRATED LOAD
เมื่อ 𝐵𝛽𝑧 , 𝐶𝛽𝑧 และ 𝐷𝛽𝑧 เป็ นสัมประสิทธิ์การ
ผลเฉลยที่ได้จากสมการ(5.21)จะอยู่ในรู ปทั่วไปของ กระจายคือ
การกระจัด เมื่อ z ≥ 0 ก็จะได้
𝐵𝛽𝑧 = 𝑒 −𝛽𝑧 ∙ sin 𝛽𝑧
𝑃
𝑦= 3 𝐴𝛽𝑧 …… (5.22) 𝐶𝛽𝑧 = 𝑒 −𝛽𝑧 ∙ (cos 𝛽𝑧 − sin 𝛽𝑧)
8𝐸𝐼𝑥𝑥𝛽

โดยที่ 𝐴𝛽𝑧 คือ สัมประสิทธิ์การกระจาย 𝐷𝛽𝑧 = 𝑒−𝛽𝑧 ∙ cos 𝛽𝑧

𝐴𝛽𝑧 = 𝑒−𝛽𝑧 (cos 𝛽𝑧 + sin 𝛽𝑧) เมื่อนาสัมประสิทธิ์การกระจายที่เราสนใจ 𝐶𝛽𝑧 , 𝐴𝛽𝑧


มาพล๊อต(ภาพที่ 5.9) ก็จะได้เส้นกราฟจะมีลกั ษณะ
เหรือเขียนให้อยูใ่ นรูปของโมดูลสั ทาง
แบบรู ป คลื่ น ความสูง ของคลื่ น จะค่ อ ยๆลดลงไป
𝑃𝛽 𝑃
𝑦 = 2𝑢 𝐴𝛽𝑧 หรือ 𝑦 = 2𝑢𝐿 𝐴𝛽𝑧 …… (5.23) ความยาวของคลื่นนี ้ จะมีรูปแบบความสัมพันธ์ของ
ฟั ง ค์ ชั่ น sin 𝛽𝑧 แ ล ะ cos 𝛽𝑧 เ ป็ น ค า บ 2 𝜋
โดยที่ 𝐴𝛽𝑧 คือ สัมประสิทธิ์การกระจาย
(periodical)
𝐴𝛽𝑧 = 𝑒−𝛽𝑧 (cos 𝛽𝑧 + sin 𝛽𝑧)
โดยที่ 𝛽𝑧 = 2𝜋
ทานองเดียวกันเมื่อเราหาอนุพนั ธ์ลาดับต่างๆของ
สมการการกระจัด เมื่อ z ≥ 0 ก็จะได้ 𝑧=
2𝜋 4 4E𝐼
= 2𝜋 ∙ √ 𝑥𝑥 ……(5.27)
𝛽 𝑢
2
𝑑𝑦 𝛽 𝑃
𝜃 = 𝑑𝑧 = − 𝑢 ∙ 𝐵𝛽𝑧 …… (5.24) จากเส้น กราฟ 𝐶𝛽𝑧 จุด ที่ โมเมนต์เป็ นศูนย์
𝜋 5𝜋
2 (จุดดัดกลับ) จะอยูท่ ี่ 𝛽𝑧 = และ ค่าสูงสุด
𝑑 𝑦 𝑃 4 4
𝑀𝑥 = −𝐸𝐼𝑥 = ∙𝐶 …… (5.25) 𝜋 3𝜋
𝑑𝑧2 4𝛽 𝛽𝑧 จะอยูท่ ี่ 𝛽𝑧 = 0, 2 , 2

ภาพที่ 5.9 กราฟสัมประสิทธิ์การกระจายของโมเมนต์และการกระจัด


ความยาวจุดที่โมเมนต์เป็ นศูนย์หรือจุดดัดกลับ 1
𝐴𝑠 = 2 × (0.26 + 0.22) × 0.85

𝑧1 =
𝜋 4
= 42.33 × √𝐼𝑢𝑥𝑥 (5.28) = 0.204 ม2 = 2040 ตร.ซม
4𝛽
𝐴 2040
ให้ 𝑧2 คือระยะตาแหน่งจุดดัดกลับจากจุดที่มีนา้ หนัก B ′ = s𝑠 = 60 = 34 ซม.
กระทา และ 𝑧2 = 3𝑧1 โมดูลสั ทาง
โมเมนต์ที่จดุ แรงกระทา
𝑢 = B′ ∙ 𝐶𝑠
𝑃 𝑃×𝑧1
𝑀𝑜 = 𝐶 = = 0.318 𝑃𝑧1 (5.29)
4𝛽 𝛽𝑧 𝜋 = 34 × 10 = 340 กก/ซม2

ความยาวเอกลักษณ์
ตัวอย่าง 5.3 ทาง Metre gauge ใช้ราง BS 100 lb
4 4.𝐸𝐼
วางอยู่บนหมอนคอนกรีตที่มีระยะห่าง 0.60 ม. รับ 𝐿 = √ 𝑢 𝑥𝑥
น า้ หนัก กดเพลา 20 ตัน ความเร็วที่ใช้ในทาง 100
6
กม./ชม. กาหนดให้สมั ประสิทธิ์ กาลังของบัลลาสต์
4
4×2.15×10 ×1961
=√ 340
= 84 ซม.
𝐶𝑠𝑏 เท่า กับ 10 กก/ซม 3 โมดูลสั ยืดหยุ่นของเหล็ก
2.15×106 กก./ซม2 จงหาโมเมนต์และการกระจัดที่ สมุติวา่ เราพิจารณาที่จดุ C (ภาพที่ 5.11 ) ระยะ z=
120
เกิดขึน้ ในราง 120, 𝛽𝑧 =
84 = 1.43 (จ า ก ต า ราง ที่ 4 ใน
ภาคผนวก) จะได้ 𝐴𝛽𝑧 = 0.271, 𝐶𝛽𝑧 = -0.203
วิธีทา
ตัวประกอบพลวัต ระยะกระจัดในแนวดิง่ ที่จดุ C
𝑉−10 𝑃
𝜂 = 1 + 100 𝑦 = 2.𝑢.𝐿 . 𝐴𝛽𝑧

100−10 19×103
= 1+ = 1.9
100 = (0.271) = 0.090 ซม.
2×340×84
นา้ หนักที่ใช้ออกแบบ
แรงปฏิกริยาทีจ่ ดุ พิจารณา
𝑃 = 𝜂∙𝑄
20
𝑘 = 𝐶𝑠 × 𝐴𝑠
= 1.9 × 2 = 19 ตัน
= 10 × 2040 = 20400 กก/ซม
พืน้ ที่ประสิทธิผลใต้หมอนคอนกรีตที่ใช้ใน รฟท.
F𝐴 = 𝑘 ∙ 𝑦

= (20400 × 0.090)/1000

= 1.84 ตัน

ภาพที่ 5.10 พืน้ ที่หน้าตัดสุทธิใต้หมอน รฟท. โมเมนต์ที่จดุ พิจารณา


𝑀 =
𝑃×𝐿
∙ 𝐶𝛽𝑧 ที่จดุ อื่นๆก็ทาได้ในทานองเดียวกัน
4

19×84 หมายเหตุ จะค านวณด้า นบวกเพี ย งด้า นเดี ย ว


= 4
(−0.203)
เนื่องจากความสมมาตร หากเป็ นด้านลบให้ใช้ค่า
= −80.99 ตัน-ซม. สัมบูรณ์ของ 𝛽z

ภาพที่ 5.11 แผนภาพโมเมนต์ดดั และการกระจัด


เปรียบเทียบผลการวิเคราะห์ระหว่างวิธี exact กับ Finite Element Methods

Analytical result FEM element


Displacement (m) Moment (kg-m) Displacement (m) Moment (kg-m)
3.32E-3 3.99E+3 3.38E-3 4.030E+3

Displacement

Moment

ภาพที่ 5.12 แผนภาพการกระจัดและโมเมนต์ดดั ที่ได้จากโปรแกรมประยุกต์ Abaqus/CAE


ภาพที่ 5.13 The rail deflection due to a
running train
ที่มา: (Roger P. Roess, 2013)

ล้อกลุ่ม
สาหรับล้อกลุ่ม (ภาพที่ 5.13) รางที่มีแรง 5.6 METHOD OF SUPERPOSITION
หลายแรงกระทาจะไม่สามารถหาได้โดยตรง นา้ หนัก จะอาศัยหลักวิธีการทับซ้อน (Method of
ที่กระทาต่อรางที่จุดใดๆ โมเมนต์ดดั ที่เกิดขึน้ กับราง Superposition)มาประยุกต์ในการแก้ปัญหา สาหรับ
จะถูกทับซ้อนกัน เนื่องจากนา้ หนักของล้อที่อยูข่ า้ งกัน ตัวอย่างจะพิจารณาคานอนันต์ที่มีแรง 𝑃1, 𝑃2และ
จะมี ป ฏิ กิ ริ ย าร่ ว มกั น ความยาวบริ เ วณที่ ล ้อ มี 𝑃3 กระทาตามลาดับ (ภาพที่ 5.15) การกระจัดที่จด
ุ o
ปฏิกิริยาร่วมกันจะประมาณอยู่ที่ 6z1 (6เท่าของจุด จะหาได้จาก
ดัดกลับ)นับจากจุดที่นา้ หนักกระทาทัง้ ด้านซ้ายและ
𝛽
ด้านขวาของนา้ หนักแบบจุดเดียวที่พิจารณา (ภาพที่ 𝑦𝑂 =
2𝑢 [𝑃1 𝐴𝛽𝑎 + 𝑃2 𝐴𝛽𝑏 + 𝑃3 𝐴𝛽𝑐 ] (5.30)
5.14) สมมติว่าเราต้องการที่จะหาการกระจัดของ
คานที่ จุ ด A และ B ที่ มี ต าแหน่ ง จุ ด ก าเนิ ด อยู่ที่ o
ตามที่แสดงในภาพ 3.15 จะเห็นว่า พิกัดของ 𝑧𝐴 จะ
เป็ นบวก, พิกัดของ 𝑧𝐵 จะเป็ นลบ และ a, b, และ c
เป็ นระยะที่วดั (เป็ นบวก) ที่จดุ A จะใช้สมการข้างต้น
ดังกล่าวได้โดยตรง
𝛽
𝑦𝐴 = 2𝑢 [𝑃1 𝐴𝛽(𝑧𝐴 +𝑎) + 𝑃2 𝐴𝛽(𝑧𝐴 +𝑏) +

ภาพที่ 5.14 General load interaction diagram 𝑃3 𝐴𝛽(𝑧𝐴 +𝑐) ] (5.31)


for the calculation of maximum rail bending
moment and deflection แต่การหาระยะกระจัด ของคานที่จุด B ซึ่ง
อยู่ไปทางด้านซ้ายของแรง 𝑃3. ดังนัน้ ค่า ( 𝑧𝐵 + 𝑐)
ที่มา: ดัดแปลงจาก (Doyle, 1980) เป็ น ลบและไม่ ส ามารถน ามาใช้เ หมื อ นในสมการ
5.30, 5.31 ได้โดยตรง อย่างไรก็ ตาม เราจะใช้ค่า
บวก |𝑧𝐵 + 𝑐| ในสมการนีแ้ ละคานวณสาหรับความ วิธีทา
สมมาตรของ y และไม่สมมาตรดังนี ้
ที่จดุ A ระยะ z = 0, 𝛽 ∙ 𝑧 = 0, จากตาราง จะได้
𝛽
𝑦𝐵 = 2𝑢 [𝑃1 𝐴𝛽(𝑧𝐵 +𝑎) + 𝑃2 𝐴𝛽(𝑧𝐵 +𝑏) + 𝐶𝛽𝑧𝐴 = 1 และ z = 240,
𝑃3 𝐴𝛽|𝑧𝐵 +𝐶| ] (5.32)
𝛽 ∙ 𝑧 = 2.86, จากตาราง จะได้ 𝐶𝛽𝑧𝐶 = −0.071

𝑃×𝐿
𝑀𝐴 = 𝑀𝐶 =
4
. (𝐶𝛽𝑧𝐴 + 𝐶𝛽𝑧𝐶 )

19×84
= (1 − 0.071 )
4
= 371 ตัน - ซม.

ที่จดุ B ระยะ z = 1.20, 𝛽 ∙ 𝑧 = 1.43, จาก


ตาราง จะได้ 𝐶𝛽𝑧𝐵 = −0.203
ภาพที่ 5.15 Infinite beam subjected to three
point loads 𝑀𝐵 =
𝑃×𝐿
(2 × 𝐶𝛽𝑧𝐵 )
4
ที่มา: (ARTHUR P. BORESI 2003 ) 19×84
= (2 × −0.203)
4
ตัวอย่าง 3.4 จากตัวอย่างที่4.3 จงหาการกระจัดและ = -162 ตัน - ซม. ตอบ
โมเมนต์ที่เกิดขึน้ ในรางถ้าให้มีนา้ หนักกดล้อแบบสอง
ที่จุดอื่นๆก็ทาได้ในทานองเดียวกันแล้วนามาพล๊อต
เพลาโดยที่เพลาทัง้ สองจะมีระยะห่าง 2.40 ม.
กราฟก็จะแสดงได้ตามภาพที่ 5.16

ภาพที่ 5.16 แผนภูมิโมเมนต์ของนา้ หนักกดสองล้อ


ตั ว อย่า ง 5.5 รางรถไฟรับนา้ หนักจากรถจักรสาม ค่าสูงสุดจะอยู่ที่ลอ้ ตัวนอกสุด ภาพที่ 5.17(a) และ
เพลาที่มีระยะห่างเพลาเท่าๆกันทัง้ คือ 1.80 ม. ถ้าให้ กรณีที่สองค่าสูงสุดจะอยู่ที่ลอ้ กลาง ภาพที่ 5.17(b)
นา้ หนักกดล้อแบบพลวัตเท่ากับ 19 ตัน จงหาการ โมเมนต์ดัด ที่ ห น้า ตัด ใดๆ ของคานจะหาได้จ าก
กระจัดสูงสุดและโมเมนต์ดดั สูงสุดกาหนดให้ โมดูลสั หลักการทับซ้อนของผลกระทบของแต่ละล้อ
ทาง u = 340 กก/ซม2, ความยาวเอกลักษณ์ L =
เพื่อความสะดวกเราจะหาพจน์ที่เราทราบค่าก่อน
84 ซม.
3
𝑃 19×10
วิธีทา 𝑦=
2.𝑢.𝐿
=
2×340×84
= 0.33 ซม.
การกระจัดสูงสุดและโมเมนต์ดดั สูงสุดอาจเกิดขึน้ ได้ 𝑃×𝐿 19×84
𝑀= = = 399 ตัน-ซม.
ในกรณี ใ ดกรณี ห นึ่งในสองกรณี ดังนี ้ คื อ กรณี แ รก 4 4

ภาพที่ 5.17 รางที่รบั นา้ หนักหลายแรง


กรณีแรก (ภาพที่ 5.17 a) สาหรับกรณีนเี ้ ราจะได้
ให้พิกัดของจุด กาเนิด o อยู่ที่ใต้ลอ้ A โมเมนต์ดัดที่ การกระจัดสูงสุดทีจ่ ดุ B คือ
หน้าตัดใดๆ ของคานจะหาได้จากหลักการทับซ้อน 𝑃
𝑦𝐵 = [𝐴 + 2𝐴𝛽(𝑧𝐴 ) ]
ของผลกระทบของแต่ละล้อ 2.𝑢.𝐿 𝛽(𝑧𝐵)

= 0.33 [1 + 2 (0.04)]
ระยะ (ซม.) 𝛽𝑧 𝐴𝛽𝑧 𝐶𝛽𝑧
𝑧𝐴 = 0 0 1 1 = 0.36 ซม.
𝑧𝐵 = 180 2.14 0.04 - 0.16
โมเมนต์ดดั สูงสุดที่จดุ B คือ
𝑧𝐶 = 360 4.28 - 0.02 0.01
𝑃
𝑀𝐵 = [𝐶 + 2𝐶𝛽(𝑧𝐴 ) ]
4𝛽 𝛽(𝑧𝐵)
ดังนัน้ สาหรับกรณีนเี ้ ราจะได้
= 399 [1 + 2(-0.16)]
การกระจัดสูงสุดทีจ่ ดุ A คือ
= 271 ตัน –ซม.
𝑃
𝑦𝐴 = [𝐴 + 𝐴𝛽(𝑧𝐵 ) + 𝐴𝛽(𝑧𝐶 ) ]
2.𝑢.𝐿 𝛽(𝑧𝐴 ) ดังนัน้ จากทัง้ สองกรณี ค่าการกระจัดสูงสุดจะได้จาก
= 0.33 (1 + 0.04 - 0.02) กรณี ที่ ส อง 𝑦𝑚𝑎𝑥 = 0.36 ซม, ส่ ว นโมเมนต์ดัด
= 0.34 ซม. สูงสุดจะได้จากกรณีแรก 𝑀𝑚𝑎𝑥 = 339 ตัน –ซม.

โมเมนต์ดดั สูงสุดที่จดุ A คือ ตอบ

𝑃𝐿
𝑀𝐴 = 4 [𝐶𝛽(𝑧𝐴 ) + 𝐶𝛽(𝑧𝐵 ) + 𝐶𝛽(𝑧𝐶 ) ]

= 399 (1 - 0.16 + 0.01)

= 339 ตัน–ซม.

กรณีสอง (ภาพที่ 5.17 b)


ให้เราเลื่อนโหลดไปทางซ้าย จนพิกดั ของจุดกาเนิด o
อยูท่ ใี่ ต้ลอ้ B โมเมนต์ดดั ที่หน้าตัดใดๆ ของคานจะหา
ได้จากหลักการทับซ้อนของผลกระทบของแต่ละล้อ
ระยะ (ซม.) 𝛽𝑧 𝐴𝛽𝑧 𝐶𝛽𝑧
𝑧𝐴 = 180 2.14 0.04 -0.16
𝑧𝐵 = 0 0 1 1
𝑧𝐶 = 180 2.14 0.04 -0.16
PROBLEMS

You might also like