Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 28

การวิเคราะห์เรือ่ งทีอ่ ่าน

การวิ เ คราะห์ เ รื่ อ งที่ อ่ า น หมายถึ ง การพิ จ ารณา


รายละเอียดเพื่อแยกองค์ประกอบต่าง ๆ ของเรื่องที่อ่าน เช่น
รู ป แบบเป็ น แบบใด ผู้ แ ต่ ง คื อ ใคร มี จุ ด มุ่ ง หมายในการแต่ ง
อย่างไร เป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร ใช้ภาษาอย่างไร มีประโยชน์
อย่างไร ต่อใครบ้าง ผู้วิเคราะห์มีความเห็นอย่างไร เรื่องที่อ่าน
มีคุณค่าด้ านใด และแต่ ละด้านสามารถนาไปประยุก ต์ให้ เกิ ด
ประโยชน์ต่อชีวิตประจาวันอย่างไรบ้าง
การวิเคราะห์เรือ่ งทีอ่ ่าน
การวิ เคราะห์ เ รื่ องที่อ่ านทุก ชนิด สิ่ง ที่จ ะละเลยไม่ ไ ด้ คื อ
การพิจารณาถึงการใช้ถ้อยคา สานวนภาษาว่ามีความเหมาะสมกับ
ระดับและประเภทของงานเขียนหรือไม่ เช่น ในบทสนทนาก็ไม่ควร
ใช้ภาษาที่เป็นแบบแผน ควรใช้สานวนให้เหมาะสมกับสภาพจริงหรือ
เหมาะแก่กาลสมัยที่เหตุการณ์ในหนังสือนั้นเกิดขึ้น เป็นต้น ดังนั้น
การอ่านวิเคราะห์จึงต้องใช้เวลาอ่านมาก และยิ่งมีเวลาอ่านมากก็
ยิ่ ง มี โ อกาสวิ เ คราะห์ ไ ด้ ดี ม ากขึ้ น การอ่ า นในระดั บ นี้ ต้ อ งรู้ จั ก ตั้ ง
ค าถามและจั ด ระเบี ย บเรื่ อ งราวที่ อ่ า นเพื่ อ จะได้ เ ข้ า ใจเรื่ อ งและ
ความคิดที่ผู้เขียนต้องการ
กระบวนการวิเคราะห์
การอ่าน
กระบวนการวิเคราะห์การอ่าน
๑. พิจารณารูปแบบของงานประพันธ์วา่ ใช้รป ู แบบใด อาจเป็น
นิทาน บทละคร นวนิยาย เรื่องสั้น บทร้อยกรอง หรือบทความ
จากหนังสือพิมพ์
๒. แยกเนื้อเรือ่ งออกเป็นส่วนๆ ให้เห็นว่าใครทาอะไร ที่ไหน
อย่างไร เมื่อไร
๓. แยกพิจารณาแต่ละส่วนให้ละเอียดลงไปว่าประกอบกันอย่างไร
หรือประกอบด้วยอะไรบ้าง
๔. พิจารณาให้เห็นว่าผู้เขียนให้กลวิธเี สนอเรื่องอย่างไร
ขั้นตอนการอ่านเชิง
วิเคราะห์
ขั้นตอนการอ่านเชิงวิเคราะห์
๑. การอ่านวิเคราะห์คา
การอ่านวิเคราะห์คา เป็นการอ่านเพื่อให้ผู้อ่านแยกแยะ
ถ้อยคาในวลี ประโยคหรือข้อความต่าง ๆ โดยสามารถบอกได้ว่า
ค าใดใช้ อ ย่ า งไร ใช้ ผิ ด ความหมาย ผิ ด หน้ า ที่ ไ ม่ เ หมาะสม ไม่
ชัดเจนอย่างไร ควรจะต้องหาทางแก้ไขปรับปรุงอย่างไร เช่น
- อย่าเอาไปใช้ทับกระดาษ
- ที่นี่รับอัดพระ
- เขาท่องเที่ยวไปทั่วพิภพ
- เจ้าอาวาสวัดนี้มรณกรรมเสียแล้ว
ขั้นตอนการอ่านเชิงวิเคราะห์
๒. การอ่านวิเคราะห์ประโยค
การอ่านวิ เ คราะห์ ป ระโยค เป็ นการอ่ านเพื่อ แยกแยะ
ประโยคต่าง ๆ ว่าเป็นประโยคที่ถูกต้องชัดเจนหรือไม่ใช้ประโยค
ผิ ด ไปจากแบบแผนของภาษาอย่ า งไร เป็ น ประโยคที่ ถู ก ต้ อ ง
สมบู ร ณ์ เ พี ย งใดหรื อ ไม่ มี ห น่ ว ยความคิ ด ในประโยคขาดเกิ น
หรือไม่ เรียงลาดับความในประโยคที่ใช้ได้ถูกต้องชัดเจนหรือไม่
ใช้ฟุ่มเฟือยโดยไม่จาเป็นหรือใช้รูปประโยคที่สื่อความหมายไม่
ชัดเจนหรือไม่ เมื่อพบข้อบกพร่องต่าง ๆ แล้วก็สามารถแก้ไขให้
ถูกต้องได้ เช่น
ขั้นตอนการอ่านเชิงวิเคราะห์
๒. การอ่านวิเคราะห์ประโยค
ตัวอย่าง
สุขภาพของคนไทยไม่ดีส่วนใหญ่
การแก้ปัญหาจราจรในกรุงเทพฯ เกิดการจลาจล
ทุ ก ค น ย่ อม ป ระ ส บ ค ว าม ส า เ ร็ จ ท่ าม ก ลา ง ค ว า ม
ขยันหมั่นเพียร
เขามักจะเป็นหวัดในทุกครั้งที่ฝนเริ่มตก
ขั้นตอนการอ่านเชิงวิเคราะห์
๓. การอ่านวิเคราะห์ทัศนะของผู้แต่ง
ผู้ อ่ า นต้ อ งพิ จ ารณาไตร่ ต รองให้ ร อบคอบว่ า ผู้ เ ขี ย น
เสนอทั ศ นะมี น้ าหนั ก เหตุ ผ ลประกอบข้ อ เท็ จ จริ ง น่ า เชื่ อ ถื อ
เพียงใด เป็นคนมองโลกในแง่ใด เป็นต้น
ขั้นตอนการอ่านเชิงวิเคราะห์
๔. การอ่านวิเคราะห์รส
การอ่านวิเคราะห์รส หมายถึง การอ่านอย่างพิจารณา
ถึงความซาบซึ้งประทับใจที่ได้จากการอ่านวิธีการที่จะทาให้เข้าถึง
รสอย่างลึกซึ้ง คือการวิเคราะห์รสของเสียงและรสของภาพ
๔.๑ ด้า นรสของเสียง ผู้อ่านจะรู้สึกได้ชัดจากการอ่าน
ออกเสี ย งดั ง ๆ ไม่ ว่ า จะเป็ น การอ่ า นอย่ า งปกติ ห รื อ การอ่ า น
ทานองเสนาะ จึงจะช่วยให้รู้สึกถึงความไพเราะของจังหวะและ
ความเคลื่อ นไหวซึ่งแฝงอยู่ ในเสียง ทาให้ เ กิด ความรู้สึกไปตาม
ท่วงทานองของเสียงสูงต่าจากเนื้อเรื่องที่อ่าน
ขั้นตอนการอ่านเชิงวิเคราะห์
๔. การอ่านวิเคราะห์รส
๔.๒ ด้านรสของภาพ
เมื่อผู้อ่าน อ่านแล้วเกิดความเข้าใจเรื่อง ในขณะเดียวกัน
ท าให้ เ ห็ น ภาพด้ ว ย เป็ น การสร้ า งเสริ ม ให้ ผู้ อ่ า นได้ เ ข้ า ใจ
ความหมาย การเขียนบรรยายความด้วยถ้อยคาไพเราะทั้งร้อย
แก้วและร้อยกรอง ก่อให้เกิดภาพขึ้นในใจผู้อ่าน ทาให้เกิดความ
เพลิดเพลินและเข้าใจความหมายของเรื่องได้ดียิ่งขึ้น
การวิเคราะห์คณ
ุ ค่าจากเรื่องที่อา่ น
การวิเคราะห์คณ
ุ ค่าจากเรือ่ งทีอ่ า่ น
การวิ เ คราะห์คุณค่าจากเรื่องที่อ่ าน เป็นการวิ เ คราะห์
คุณ ค่า ลัก ษณะดีเ ด่ นในด้ า นต่ าง ๆ ของเรื่ อง เช่ น คุ ณค่ าด้ า น
เนื้ อ หา คุ ณ ค่ า ด้ า นสั ง คมและวั ฒ นธรรม โดยใช้ ค วามคิ ด
พิจารณาไตร่ตรอง กลั่นกรอง แยกแยะและแสวงหาเหตุผลเพื่อ
ประเมินคุณค่าของวรรณคดีอย่างมีเหตุผล
การวิเคราะห์คณ
ุ ค่าจากเรือ่ งทีอ่ า่ น
๑. คุณค่าด้านเนื้อหาสาระ
คือ การที่ผู้อ่านจะได้รับความรู้ ความคิดเพิ่มขึ้น ทาให้มี
ปัญญาแตกฉานทั้งด้านวิทยาการ ความรู้รอบตัว ความรู้เท่าทัน
คนและอื่น ๆ
การวิเคราะห์คณ
ุ ค่าจากเรือ่ งทีอ่ า่ น
๒. คุณค่าด้านวรรณศิลป์
คื อ ความพิ ถี พิ ถั น ในการใช้ ค าอย่ า งประณี ต ท าให้ เ กิ ด
ความงาม ความไพเราะในการใช้ภาษา ผู้อ่านสามารถได้รับรส
ไพเราะของเสียง ซาบซึ้งในความหมาย เห็นภาพเคลื่อนไหว เกิด
จินตนาการตามสั มผั สอารมณ์แ ละความนึ กคิ ด ต่ าง ๆ ที่ผู้ แต่ ง
ถ่ า ยทอดออกมาเป็ น บทประพั น ธ์ เช่ น ความรู้ สึ ก โศกเศร้ า
สะเทือนใจ โกรธ ตลกขบขัน เป็นต้น
การวิเคราะห์คณ
ุ ค่าจากเรือ่ งทีอ่ า่ น
๓. คุณค่าด้านสังคมและวัฒนธรรม
คื อ เรื่ อ งราวที่ อ่ า นจะสะท้ อ นให้ เ ห็ น สภาพสั ง คม
วัฒนธรรมประเพณี ค่านิยม คติชีวิต คาสั่งสอน คุณธรรมและ
จริยธรรม ความเป็นอยู่ ประวัติศาสตร์ การเมือง อาหารการกิน
สอดแทรกไปกั บ การด าเนิ น เรื่ อ ง ท าให้ ผู้ อ่ า นได้ รั บ ความรู้
เกี่ ย วกั บ สั ง คมในอดี ต ช่ ว ยให้ เ ข้ า ใจวิ ถี ชี วิ ต ความเป็ น ไทยมาก
ยิ่งขึ้น และงานเขียนที่ดีจะช่วยจรรโลงสังคมได้ด้วย
การวิเคราะห์คณ
ุ ค่าจากเรือ่ งทีอ่ า่ น
๔. คุณค่าด้านคุณค่าด้านการนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
คื อ ผู้ ก ารที่ ผู้ อ่ า นสามารถน าแนวคิ ด จากวรรณคดี แ ละ
ประสบการณ์ จ าก เรื่ อ งที่ อ่ า นไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ห รื อ แก้ ปั ญ หาใน
ชีวิตประจาวันได้
หลักการวิเคราะห์
เรื่องทีอ่ ่าน
หลักการวิเคราะห์เรือ่ งทีอ่ า่ น
๑. ความเป็นมาหรือประวัตขิ องหนังสือและผูแ้ ต่ง เพื่อช่วยให้
วิเคราะห์ในส่วนอื่น ๆ
๒. ลักษณะคาประพันธ์
๓. เรื่องย่อ
๔. เนื้ อ เรื่ อ ง ให้ วิ เ คราะห์ เ รื่ อ งในหั ว ข้ อ ต่ อ ไปนี้ ต ามล าดั บ โดยบาง
หัวข้ออาจจะมี หรือไม่มีก็ได้ตามความจาเป็น เช่น โครงเรื่อง ตัวละคร
ฉาก วิธีการแต่ง ลักษณะการเดินเรื่อง การใช้ถ้อยคา สานวนในเรื่อง
ท่วงทานองการแต่ง วิธีคิดสร้างสรรค์ ทัศนะหรือมุมมองของผู้เขียน
เป็นต้น
หลักการวิเคราะห์เรือ่ งทีอ่ า่ น
๕ แนวคิ ด จุ ด มุ่ ง หมาย เจตนาของผู้ เ ขี ย นที่ ฝากไว้ ใ นเรื่อ ง ซึ่ ง ต้ อ ง
วิเคราะห์ออกมาก
๖ คุณค่าของวรรณกรรม โดยปกติแบ่งออกเป็น ๕ ด้านใหญ่ ๆ และ
กว้าง ๆ เพื่อความครอบคลุมในทุกประเด็น ซึ่งผู้วิเคราะห์ต้องไปแยก
หัวข้อย่อยให้สอดคล้องกับลักษณะ ของหนังสือที่จะวิเคราะห์นั้น ๆ
ตามความเหมาะสม
การหาข้อคิดจากเรือ่ งทีอ่ า่ น

ข้อคิด หมายถึง ประเด็นชวนคิด คติที่เป็นประโยชน์


การหาข้อคิดจากเรือ่ งทีอ่ า่ น เป็นการหาข้อคิดหรือคติสอนใจจาก
เรื่องที่อ่านนั้น ๆ ว่าให้ข้อคิดที่เป็นประโยชน์อะไรบ้าง แล้วจึงนา
ข้อคิดนั้นมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
การหาข้อคิดจากการอ่านหนังสือต่าง ๆ เช่น การอ่าน
นิทาน บทความ สารคดี ควรอ่านตั้งแต่ต้นจนจบเรื่อง แล้วทาความ
เข้าใจเนื้อเรื่อง จับใจความสาคัญ หรือประเด็นสาคัญที่ผู้เขียน
ต้องการให้ข้อคิดกับผู้อ่าน
“ฝนพราตั้งแต่เมื่อวานเย็นจนกระทั่งเช้าก็ยังไม่หยุด ใครจะ
บ่นอย่างไรก็หาฟังไม่ มันคงตกเรื่อยไป หน้านี้ฤดูฝน มันทาหน้าที่ของ
มันแล้วโดยชอบ หากฤดูฝน ฝนไม่ตกสิน่าประหลาด มันอยู่ห่างดินแต่
มีทีท่ารักดิน รักน้า รักพฤกษาลดาวัลย์เสียเหลือเกิน อาจเป็นเพราะ
มันขึ้นไปจากน้ากระมัง
ทานองเดียวกับมนุษย์ย่อมมีหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่ง จึงควร
ทาหน้าที่ของตนให้สมบูรณ์ที่สุดตามกาลังความสามารถ มนุษย์ที่ทา
หน้าที่ ใครเล่าจะตาหนิ หากถูกตาหนิก็ฟังเฉยเสียเหมือนฝน”
๑. ข้อความนีจ้ ดั เป็นสารประเภทใด
ก. ให้ความรู้
ข. ให้ความเพลิดเพลิน
ค. ให้ความจรรโลงใจ
ง. ให้อารมณ์สะเทือนใจ
๒. ผู้เขียนแนะนาให้ผู้อา่ นทาตัวเช่นเดียวกับฝนในเรือ่ งใด
ก. มีความรับผิดชอบ
ข. มีความซื่อสัตย์
ค. มีความเสียสละ
ง. มีความเมตตา
๓. สาระสาคัญของข้อความนีค้ ืออะไร
ก. ฝนควรภูมิใจที่ได้ทาหน้าที่ของมันอย่างสมบูรณ์
ข. มนุษย์ควรทาหน้าที่ของตนให้สมบูรณ์ที่สุดตาม
ความสามารถ
ค. ฝนตกต้องตามฤดูกาล มันคงทาหน้าที่อย่างครบถ้วน โดย
ไม่หวังอามิสสินจ้างใด ๆ
ง. คนที่คิดว่าตนได้กระทาความดีแล้วหากถูกตาหนิ ก็ไม่ควร
หวั่นไหวหรือโกรธเคือง
๔. ข้อคิดของข้อความนี้คอื อะไร
ก. มนุษย์มีนิสัยไม่ดีชอบเอาแต่ใจตัว
ข. คนส่วนใหญ่เห็นแก่ตัวโดยลืมนึกถึงผู้อื่น
ค. ฝนมักตกในฤดูฝน ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ตามธรรมชาติ
ง. ฝนมีความสัมพันธ์กับดินและน้า มันจึงตกลงมาบนพื้นดิน
๕. ข้อใดเป็นเจตนาของผูเ้ ขียน
ก. คนเราควรทาความดีเหมือนฝน
ข. คนเราต้องทาหน้าที่ให้สมบูรณ์ที่สุด
ค. ควรเราควรทาหน้าที่ของตนอย่างเต็มที่ด้วยความสุจริต
ง. คนเราเมื่อปรารถนาทาความดีแล้วก็ไม่ต้องกลัวถูกตาหนิ

You might also like