Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 11

การอ่านตีความคายาก

การอ่านตีความ
การอ่านตีความ เป็นการอ่านที่ จะต้องทาความเข้าใจกับ
ความหมายแฝง ที่เป็นแก่นของเรื่องที่แท้จริงที่ผู้เขียนต้องการจะ
สื่อ เนื่องจากบางครั้งผู้เขียนไม่ได้ต้องการสื่อความหมายตรงตาม
ถ้อยคาที่เขียน แต่ยังแฝงความคิดที่ลึกซึ้งด้วยศิลปะการเขียนที่ใช้
สั ญ ลั ก ษณ์ ห รื อ ถ้ อ ยค าเปรี ย บเที ย บเพื่ อ ให้ ผู้ อ่ า นใช้ ปั ญ ญาคิ ด
วิเคราะห์เนื้อความนั้น ๆ เพื่อให้เกิดอรรถรสในการอ่าน
หลักการอ่านตีความ
หลักการอ่านตีความ
๑. อ่านเรือ่ งที่จะตีความนั้นให้ละเอียดแล้วพยายามจับ
ประเด็นสาคัญให้ได้

๒. ขณะที่อ่านต้องพยายามคิดหาเหตุผลและใคร่ครวญ
อย่างรอบคอบแล้วนามาประมวลเข้ากับความคิดของตนเองว่า
ข้อความหรือเรื่องนั้นมีความหมายถึงสิ่งใด
หลักการอ่านตีความ
๓ . พ ย า ย า ม ท า ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ถ้ อ ย ค า ที่ เ ห็ น ว่ า มี
ความสาคัญ และจะต้องไม่ลืมตรวจดูบริบทด้วยว่าบริบทหรือ
สิ่งแวดล้อมนั้นได้กาหนดความหมายของคานั้นอย่างไร

๔. ต้องระลึกไว้เสมอว่า การตีค วามไม่ใช่การถอดค า


ประพันธ์ เพราะการตีความเป็นการจับใจความสาคัญและคงไว้
ซึ่งคาของข้อความเดิม
หลักการอ่านตีความ
๕. การเขียนเรียบเรียงถ้อยคาที่ได้จากการตีความนั้น
จะต้องให้มีความหมายชัดเจน

๖. การตี ค วามเกี่ ย วกั บ เนื้ อหาหรือ น้ าเสีย ง เป็ น การ


ตีความตามความรู้ ความคิดและประสบการณ์ของผู้ตีความเอง
ดังนั้น ผู้อื่นจึงไม่อาจเห็นพ้องตามก็ได้
ตัวอย่าง
การอ่านตีความ
ตัวอย่างการอ่านตีความ
“อย่ า ขุ ด คนด้ ว ยปาก” ตี ค วามได้ ว่ า ไม่ ค วรพู ด
ค่อนขอดหรือกล่าวหาว่าร้ายใคร จากสุภาษิตข้างต้น
ถ้าอ่านเพียงเพื่อเข้าใจความหมายอย่างตรงไปตรงมา
ก็จะได้ความว่า “ห้ามไม่ให้ใช้ปากคนขุดหาของ”
ตัวอย่างการอ่านตีความ
“น้าเชี่ยวอย่าขวางเรือ” ตีความได้ว่า ในขณะที่เหตุการณ์
รุน แรงยัง ด าเนิน อยู่อ ย่า งร้อ นรนเราไม่ค วรเข้า ไปยุ่ ง เกี่ย ว
จากสุภาษิ ตข้างต้นถ้าอ่านเพียงเพื่อเข้าใจความหมายอย่าง
ตรงไปตรงมาก็ จ ะได้ ค วามว่ า “ห้ า มพายเรื อ หรื อ น าเรื อ ไป
ขวางตอนที่น้ากาลังไหลเชี่ยว”
ตัวอย่างการอ่านตีความ
“ผมมีน้าผึ้งในปาก แต่ไม่มีมีดในดวงใจ”

น้าผึ้ง หมายถึง ความจริงใจ ความอ่อนหวาน


มีด หมายถึง ความไม่จริงใจ
ตัวอย่างการอ่านตีความ

You might also like