Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 14

การอ่านงานเขียนประเภท

ชวนเชือ่
และโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจ
การโน้ ม น้ า วใจ คื อ การพยายามเปลี่ ย นแปลง
ความเชื่อ ทัศนคติ การกระทาของบุคคลอื่นด้วยกลวิธีที่
เหมาะสม ให้มีผลกระทบใจผู้นั้น จนเกิดการยอมรับและ
เปลี่ยนตามผู้โน้มน้าวใจต้องการ
“การเขียนโน้มน้าว จึงเป็นการเขียนเพือ่ ให้ผอู้ า่ น
อ่านแล้วเกิดความคล้อยตาม
อยากทาตาม หรืออยากปฏิบตั ิตามทีผ่ ู้เขียนได้
เขียนไว้”
ตัวอย่างการเขียน โน้มน้าว

01 02 03
การขายสินค้า การโฆษณาสินค้า การเขียนรณรงค์

04 05 06
คาขวัญ การเขียนเชิญชวน การหาเสียงเลือกตั้ง
หลักการเขียนโน้มน้าว
หลักการเขียนโน้มน้าว
๑. ใช้ภาษาที่สุภาพในการเขียน
๒. ใช้เหตุผลที่เชื่อถือ ในการสนับสนุนงานเขียน เพื่อให้
ผู้อ่านเกิดความเชื่อถือ และยอมรับ
๓. เขียนให้ถูกกาลเทศะ เหมาะสมกับบุคคล
หลักการเขียนโน้มน้าว
๔. ใช้ภาษาที่เร้าความสนใจ ถ้อยคาสื่อความหมายที่
ชัดเจน เห็นภาพ
๕. อ่านทบทวน เพื่อหาข้อบกพร่องในงานเขียน
๖. ไม่เขียนวกวน ให้เกิดความสับสน
๗. ไม่เขียนจนเกินความจริงมากเกินไป เพราะจะทาให้
ไม่น่าเชื่อถือ
ข้อสังเกตของงานเขียน
ประเภทโน้มน้าวใจ
๑ . ก า ร แ ส ด ง ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง ค ว า ม
น่าเชื่อถือของบุคคลผู้โน้มน้าวใจ
โดยธรรมดาบุคคล ที่มีคุณลักษณะ
๓ ประการ คื อ มีค วามรู้จ ริง มีคุ ณธรรม
และมีความปรารถนาดีต่อผู้อื่น ย่อมได้รับ
ความเชื่อถือ จากบุคคลทั่วไป
๒. การแสดงให้ เ ห็ น ตามกระบวนการ
ของเหตุผล
ผู้โน้มน้าวใจต้องแสดงให้เห็นว่า เรื่องที่
ตนกาลั ง โน้ม น้ า วใจมี เหตุ ผ ลหนั ก แน่ น และมี
คุณค่าควรแก่การยอมรับอย่างแท้จริง
๓. การแสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ความรู้ สึ ก และ
อารมณ์ร่วม
บุคคลที่มีอารมณ์ร่วมกันคล้อยตามกัน
ได้ ง่ า ยกว่ า บุ ค คลที่ มี ค วามรู้ สึ ก อคติ ต่ อ กั น
เมื่อใดที่ ผู้โน้ มน้ า วใจค้น พบและแสดงอารมณ์
ร่ ว มออกมา การโน้ ม น้ าวใจก็ จ ะประส บ
ความสาเร็จ
๔. การแสดงให้เห็นทางเลือกทั้งด้านดีและ
ด้านเสีย
ผู้โน้มน้าวใจต้องโน้มน้าวผู้รับสารให้เชื่อถือ
หรือปฏิบัติเฉพาะทางที่ตนต้องการ โดยชี้ให้เห็นว่า
สิ่ ง นั้ น มี ด้ า นที่ เ ป็ น โทษ อย่ า งไร ด้ า นที่ เ ป็ น คุ ณ
อย่างไร
๕. การสร้างความสุขให้แก่ผู้รับสาร
การเปลี่ ย นบรรยากาศ ให้ ผ่ อ นคลายด้ ว ย
อารมณ์ขัน จะทาให้ผู้รับสารเปลี่ยนสภาพจากการ
ต่อต้านมาเป็นความรู้สึกกลาง ๆ พร้อมที่จะคล้อย
ตามได้
๖. การเร้าให้เกิดอารมณ์อย่างแรงกล้า
เมื่อมนุษย์เกิดอารมณ์ขึ้นอย่างแรงกล้า ไม่ว่า
ดี ใ จ เสี ย ใจ โกรธแค้ น อารมณ์ เ หล่ า นี้ มั ก จะท าให้
มนุ ษ ย์ ไ ม่ ใ ช้ เ หตุ ผ ลอย่ า งถี่ ถ้ ว น พิ จ ารณาถึ ง ความ
ถูกต้องเหมาะสม เมื่อมีการตัดสินใจ ก็อาจจะคล้อย
ไปตามที่ผู้โน้มน้าวใจเสนอแนะได้ง่าย

You might also like