Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 2

ขอ 3

กฎหมายแรงงานคุมครองและควบคุม ขนาดน้ำหนักในงานที่ลูกจางตอง ยก แบก หาม หาบ ทูน ลาก


หรือเข็น วัตถุนั้นตาม เพศ อายุ ของลูกจาง พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 ระบุไววา

“ ในมาตรา 37 ไดวางหลักกฎหมายเอาไววาหามมิใหนายจางใหลูกจางทำงาน ยก แบก หาม หาบ ทูน ลาก


หรือ เข็นของหนัก เกินอัตราน้ำหนักตามที่กำหนดในกฎกระทรวง โดยกฎกระทรวงที่ออกตามพระราชบัญญัติ
นี้ ไดกำหนดใหนายจางใชลูกจางทำงานเหลานี้ได ไมเกินอัตราน้ำหนักโดยเฉลี่ยดังนี้

ลูกจางเด็กหญิง อายุตั้งแต 15 ปแตไมถึง 18 ป ยกของหนักไดไมเกิน 20 กิโลกรัม


ลูกจางเด็กชาย ยกของหนักไดไมเกิน 25 กิโลกรัม
ลูกจางหญิง ทีอ่ ายุเกิน 18 ป ยกของหนักไดไมเกิน 25 กิโลกรัมเชนกัน
แตหากเปนลูกจางชาย อายุเกิน 18 ปขึ้นไป สามารถยกของหนักไดไมเกิน 55 กิโลกรัม
ในกรณีของหนักเกินอัตราที่กฎหมายกำหนดไว ใหนายจางจัดใหมีเครื่องทุนแรงที่เหมาะสม ไมเปนอันตรายตอ
สุขภาพ และความปลอดภัยของลูกจาง ”

สวนการวิเคราะหความเสี่ยงจากการยกของ (NIOSH) ใชในการประเมินสภาพการยกและเคลื่อนยาย


สิ่งของดวยแรงกายของผูปฏิบัติงาน โดยพิจารณาตามหลักการที่วา น้ำหนักของวัตถุสิ่งของที่ทำการยก (Load
weight) จะตองมีคาไมเกินคาความสามารถของกลามเนื้อในทาทางที่เหมาะสมของรางกายหรือขีดจำกัดของ
น้ำหนักที่แนะนำ (Recommended Weight Limit, RWL) โดยอัตราสวนของน้ำหนักที่ยกกับขีดจำกัดของ
น้ำหนักที่แนะนำนี้เรียกวา ดัชนีการยก (Lifting Index, LI) สรุปเปนสมการไดวา

𝐿𝐿
𝐿𝐿𝐿𝐿 =
𝑅𝑅𝑅𝑅𝑅𝑅
กรณีที่คา LI นอยกวา 1 แสดงวา สถานการณงานยกยายมีความปลอดภัย

กรณีที่คา LI อยูระหวาง 1-3 แสดงวางานยกยายนั้นไมมีความปลอดภัย

กรณีที่คา LI มากกวา 3 แสดงวา งานยกยายนั้นมีอันตราย มากตองสั่งหามไมใหมีการทำดังกลาวโดยเด็ดขาด


วิเคราะหคาขีดจำกัดของน้ำหนักที่แนะนำ (RWL)

เปนคาน้ำหนักที่เหมาะสมที่จะยกหรือขนยายไดโดยไมเกินขีดจำกัดในการรับน้ำหนักของกลามเนื้อ
หลัง โดยคา RWL ที่ไดเปรียบเสมือนคาน้ำหนักที่มีความใกลเคียงกับสภาวะของผูปฏิบัติงานที่มีสุขภาพดี
โดยทั่วไป ซึ่งสามารถยกขนยายไดอยางปลอดภัยในชวงเวลาการทำงานปกติคือ ไมเกิน 8 ชั่วโมงตอวัน
คา RWL ไดมาจากการคำนวณโดยใช สมการดังนี้

RWL = LC × HM x VM x DM x AM x FM x CM

โดย LC = คาคงที่ของน้ำหนัก (23 กิโลกรัม)

HM = ตัวคูณปจจัยระยะหางจากศูนยกลางของวัตถุที่ยกกับรางกายของผูยก (ในแนวนอน)

VM = ตัวคูณปจจัยความสูงในแนวดิ่งของระยะจากมือของผูยกถึงพื้น

DM = ตัวคูณปจจัยระยะทางการยก (ระยะทางในแนวดิ่งจากจุดที่ยกไปยังจุดที่วางวัตถุ)

FM = ตัวคูณปจจัยความถี่ในการยก ซึ่งตองพิจารณาระยะเวลาการทำงานยกรวมดวย

AM = ตัวคูณปจจัยมุมของการเอี้ยวตัว

CM = ตัวคูณปจจัยลักษณะหรือความถนัดในการจับยึดชิ้นงาน

HM, VM, DM, AM, FM และ CM เรียกวาปจจัยที่เกี่ยวของกับการยก ซึ่งสภาวะที่ดีที่สุดของการยก ของแตละ


ปจจัยนั้นจะมีคาไมเกิน 1

ดังนั้ น เมื ่ อนำค าป จจั ยที ่ ดี ท ี ่ ส ุ ดคือ 1 ไปคูณกับคา LC จะทำใหคา RWL มีคาเปน 23 กิโลกรัม
นั่นหมายถึงผูยกที่มีสภาวะการยกที่ดีจะทำใหสามารถยกของที่มีขนาดน้ำหนัก 23 กิโลกรัมไดโดยปลอดภัย
เมื่อเปรียบเทียบกับกฎหมายในมาตรา 37 น้ำหนักสูงสุดที่ลูกจางลูกจางเด็กชาย, ลูกจางหญิง, ลูกจาชาย ไดแก
25 และ 55 กิโลกรัม เมื่อนำมาคำนวณแลวจะไดคาดัชนีการยกเปน 1.09, 2.39 พิจารณาแลวมีความเสี่ยง ควร
ทำการปรับปรุงเพื่อปรับสภาวะการยกเพื่อใหมีคาปจจัยตางๆนอยกวาหรือเขาใกล 1 และน้ำหนักสูงสุดที่
ลูกจางลูกจางเด็กหญิง สามารถยกไดคือ 20 คำนวณแลวจะไดคาดัชนีการยกเปน 0.87 กรณีนี้นอยกวา 1 ถือ
วาปลอดภัย แตในทางปฏิบัติน้ำหนักนี้ก็ยังไมสามารถใชไดกับทุกสถาณการณ เพราะความเสี่ยงนั้นยังขึ้นอยูกับ
ปจจัยอื่นๆ เชน การยกของหางออกจากลำตัว, การไมไดวางแผนเสนทางในการยก, การStoop, การยกของ
แบบรวดเร็วและบิดตัว, การมีแรงเสียดทานที่เทาและมือที่ยกของนอย

You might also like