Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 198

1

บทที่ 1
บทนํา

1.1 ความสําคัญของการวิจัย
ที่อยูอาศัยเปนหนึ่งในปจจัยสี่ของมนุษย เปนที่ปองกันอันตรายจากสภาพแวดลอมภายนอก
ใหมนุษยใชเปนแหลงอาศัยพักพิง หลบแดด หลบฝน กินอยูหลับนอน ในยุคกอนประวัติศาสตร
มนุษยใชถ้ํา หรือชะงอนผา เปนที่อยูอาศัย ตอมาวิวัฒนาการของที่อยูอาศัยของมนุษยก็พัฒนาขึ้น
ตามลําดับ มนุษยรูจักใชเครื่องมือและเครื่องทุนแรงตางๆ นําเอาตนไมและเศษวัสดุจากธรรมชาติใกล
ตัวมาสรางเปนกระทอมเล็กๆ และอยูกันเปนสังคมหมูบานขึ้นมา การถายทอดเทคโนโลยีระหวาง
ชุมชนจึงเกิดขึ้น จนถึงในปจจุบันเทคโนโลยีการกอสรางไดกาวหนาอยางรวดเร็วอันเนื่องจากการการ
ปฏิวัติอุตสาหกรรมในปลายคริสตวรรษที่18 และการพัฒนาทางวิทยาศาสตร ทั้งทางดานฟสิกส เคมี
ชีววิทยา กอใหเกิดวัสดุใหมๆที่มีคุณสมบัติเหมาะแกการกอสรางเชน คอนกรีต เหล็ก และพลาสติก
ฯลฯ การนํา วัสดุห ลายๆชนิดที่ คุ ณสมบัติ ตา งกันมาประกอบเป น วัสดุเ ดีย วที่ส ามารถรั บ แรงทาง
โครงสราง ประกอบงายและมีคุณสมบัติอื่นๆที่เอื้อประโยชนตอการกอสรางอีกมากมาย ตัวอยางวัสดุ
ทีมีคุณสมบัติดังที่กลาวมาคือ คอนกรีตเสริมเหล็ก ที่ประกอบดวยคอนกรีตและเหล็กเสริมรับแรง
สามารถหลอเปน รูปแบบตางตามที่ ตองการได และมีคุณสมบัติรับแรงดึงและแรงอัดได ดี ความ
แพรหลายทางกรรมวิธีการผลิตและใชวัสดุจากชาติตะวันตกไดเขามาในประเทศไทยและพัฒนาวงการ
กอสรางไทยตามลําดับ แตหลักจากวิกฤตการทางเศรษฐกิจในป พ.ศ.2539 เปนตนมาวงการกอสราง
ในประเทศซบเซาลง วัสดุกอสรางตางๆมีราคาสูงขึ้นโดยเฉพาะ วัสดุที่ผลิตจากตางประเทศหรือใช
นวัตกรรมจากตางชาติ เชนเหล็กเสน คอนกรีตชนิดพิเศษ ตลอดจนเครื่อง มือในการกอสรางอื่นๆ

ดังนั้นการศึกษาถึงวัสดุพื้นถิ่นในประเทศไทย ที่หางายและมีราคาถูก และมีคุณสมบัติที่


เหมาะสมกับการกอสราง ตลอดจนการศึกษาถึงวิธีการกอสราง การใชเครื่องมือ ที่ผลิตโดยคนไทย
โดยภูมิปญญาของคนไทยจึงนาจะมีการศึกษาและสนับสนุนเพื่อที่จะชวยลดคาวัสดุกอสราง ที่ตองเสีย
ใหกับตางชาติ และทําใหคากอสรางในโครงการนั้นๆลดลง และเปนการเผยแผเทคโนโลยีชาวบานให
เปนที่ยอมรับและไดรับการพัฒนาตอไป

ตนไผ เปนพืชพันธุที่มีความสําคัญและเปนตํานานแหงความมหัศจรรยในบรรดาพืชพันธุ
ทั้งหมดในโลกนี้ โดยเฉพาะอยางยิ่งสําหรับวิถีชีวิตของคนไทย และคนในซีกโลกตะวันออก ตนไผ
คื อ พั น ธุ พื ช แห ง ความผู ก พั น กั บ ความคิ ด และการดํ า รงชี วิ ต ของคนเหล า นี้ ม าช า นาน เพราะไผ
2

เปรียบเสมือนโครงสรางหนึ่งของอารยะธรรมตะวันออก ไผ เปนที่มาของตํานานความเชื่อ เปน


ตนแบบปรัชญาและความคิดอันล้ําลึก เปนวัตถุดิบ แหงการสรางสรรค และไผยังเปนพืชเศรษฐกิจที่
แปรรูปเปนอาหาร และเครื่องมือเครื่องใชไดนานาชนิด

ในประเทศไทย การกอสรางอาคารดวยไมไผพบไดตามทุกภูมิภาคของประเทศ เนื่องจากไผ


เปนตนไมท่ีมีความทนทานตอทุกสภาพภูมิอากาศ และขึ้นงายไดทุกภูมิประเทศ ตามชนบทของ
ประเทศไทย การกอสรางอาคารเปนการกอสรางอาคารขนาดเล็ก เชนบาน หรือกระทอม เปนการ
สรางเรือนดวยไมไผทั้งหลังหรือเพียงบางสวน ไมวาจะเปนพื้น ผนัง โครงสรางอาคารเสา คานหรือ
แมกระทั้งฐานราก บางแหงใชตอกหรือทอนไมไผเปนตัวยึดชิ้นสวน นอกจากนั้นการนําไมไผมาใช
โครงสรางคอนกรีต เรียกวาคอนกรีตเสริมไมไผเพื่อเปนการทนแทนเหล็กที่มีราคาแพงและหายากใน
ชนบทของประเทศไทย ก็กําลังไดรับการพัฒนาเทคนิควิธีอยูในขณะนี้ การทําการศึกษาเกี่ยวกับ
คอนกรีตเสริมไมไผที่ใชในโครงสรางฐานราก เสาเข็ม(ประจิต, 2516) แผนพื้นสําเร็จรูปเสริมไมไผ
รูปรางน้ําคว่ํา(ถาวร, 2523) พื้นและตงคอนกรีตเสริมไมไผ (อุดม, 2521)ตลอดจนโครงสรางอื่นๆที่
ใชไมไผเปนสวนประกอบเชน ดินเสริมไมไผ(ประลองพล, 2526) ยุงขาวทําดวยปูนทรายเสริมไมไผ
(สุ ทั ศ น , 2519) การผสานเทคนิ ค การก อ สร า งอาคารด ว ยไม ไ ผ ร ะหว า งเทคโนโลยี พื้ น บ า นกั บ
เทคโนโลยีสมัยใหม โดยคํานึงการใชแรงงานคนและวัสดุที่หาไดในทองถิ่น
โครงการปฏิบัติการออกแบบสูชุมชน “พัฒนาที่อยูอาศัยและชุมชนดอยตุง” โดยมูลนิธิแมฟา
หลวง ในพระบรมราชูปถัมภ มีจุดประสงคในการพัฒนาที่อยูอาศัยของชาวไทยภูเขาในเขตโครงการ
พัฒนาดอยตุงใหมีความเหมาะสมกับสภาพภูมิประเทศ และปจจัยการเปลี่ยนแปลงทางสังคมใน
ปจจุบัน ใหสอดคลองกับรากฐานวัฒนธรรมและการดํารงชีวิต รวมทั้งคํานึงถึงการใชวัสดุในทองถิ่น
และศักยภาพของทองถิ่นในการกอสรางอาคารที่พักอาศัยดวย
3

1.2วัตถุประสงคของโครงการ

1. ศึกษาการออกแบบอาคารที่ใชเทคโนโลยีการกอสรางอาคารดวยไมไผ โดยคํานึงถึง
1.1 ระบบการผลิต การขนสง การประกอบ และการติดตั้ง แรงงาน กรรมวิธีการกอสราง
และเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับพื้นที่โครงการพัฒนาดอยตุง
1.2 การรับแรงและการถายแรงอยางถูกตองในสวนตางๆโครงสราง
2. พัฒนาเทคโนโลยีการกอสรางอาคารดวยไมไผ และวัสดุใชที่มีอยูในพื้นที่โครงการพัฒนาดอย
ตุง ผสมผสานกับวัสดุใหม ใหมีเหมาะสมกับการกอสรางในปจจุบันและอนาคต
3. ออกแบบอาคารตัวอยางใหมีความสอดคลองในการพัฒนาที่อยูอาศัย ในพื้นที่โครงการพัฒนา
ดอยตุ ง ให มี ค วามเหมาะสมกั บ สภาพภู มิ ป ระเทศ สภาพภู มิ อ ากาศ และป จ จั ย การ
เปลี่ยนแปลงทางสังคมในปจจุบัน

1.3 ขอบเขตของโครงการ

1. ศึกษาเทคนิคการกอสรางอาคารดวยไมไผ ในเขตพื้นที่โครงการพัฒนาดอยตุง อ.แมฟาหลวง


จ.เชียงราย เปรียบเทียบกับอาคารพักอาศัยดวยไมไผ บางพื้นที่ ในเขต จ.เชียงใหม จ.
แมฮองสอน และ จ.กาญจนบุรี
2. ศึกษาเทคนิคการกอสรางอาคารดวยไมไผผสานกับวัสดุอื่นๆโดยมีไมไผเปนองคประกอบหลัก
ที่สามารถใชแรงงานคน วัสดุ และเทคนิควิธีที่เหมาะสมกับพื้นที่โครงการพัฒนาดอยตุง
3. ศึกษาการออกแบบอาคารอาคารตัวอยางโดยใชไมไผผสานกั บวัสดุอื่นๆ โดยมี ไม ไผเปน
องคประกอบหลัก ใหมีความเหมาะสมกับสภาพภูมิประเทศ สภาพภูมิอากาศ และปจจัยการ
เปลี่ยนแปลงทางสังคมในปจจุบัน ใหสอดคลองกับรากฐานวัฒนธรรมและการดํารงชีวิตกับ
พื้นที่โครงการพัฒนาดอยตุง

1.4 วิธีการดําเนินการวิจัย

1. ขั้นตอนการศึกษาขอมูล
- ศึกษาลักษณะทั่วไป ชนิด และกรรมวิธีการปลูก บํารุงรักษาตนไผ
- ศึกษาเทคนิคการกอสรางอาคารดวยไมไผ และการถนอมรักษาไมไผ โดยการสํารวจ
ภาคสนามบางพื้นที่ ใน จ.กาญจนบุรี จ.เชียงใหม จ.แมฮองสอน และ จ.เชียงราย
- ศึกษาเทคนิคการกอสรางอาคารดวยไมไผในตางประเทศ จากขอมูลทุตติยภูมิ
4

- ศึกษาการกอสรางอาคารดวยคอนกรีตเสริมไมไผ สมบัติเชิงกลของไมไผ
- สัมภาษณขอดีและขอเสียของการกอสรางดวยไมไผจากผูเชี่ยวชาญ
2. ขั้นตอนการวิเคราะหขอมูล
- เปรี ย บเที ย บเทคนิ ค การก อ สร า งอาคารที่ ก อ สร า งด ว ยไม ไ ผ ใ นแต ล ะท อ งที่ ที่
ทําการศึกษา
- วิเคราะหขอดี-ขอเสียขององคประกอบอาคารในสวนตางๆ ที่ใชเทคนิคที่ตางกัน
- วิเคราะห และปรับปรุง ลักษณะองคประกอบอาคารที่ใชไมไผ ใหมีความเหมาะสม
กับการกอสรางในปจจุบันและพื้นที่โครงการพัฒนาดอยตุง
3. ออกแบบอาคารตนแบบที่ใชเทคโนโลยีการกอสรางดวยไมไผ
- ออกแบบอาคารที่ใชเทคโนโลยีการกอสรางดวยไมไผ ให มีความเหมาะสมกับการ
กอสรางในปจจุบันและสภาพพื้นที่โครงการพัฒนาดอยตุง
- ทําแบบจําลองอาคารพักอาศัยที่ทําการออกแบบ
- กําหนดขั้นตอนการกอสรางอาคารและใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม
4. ทดลองสรางอาคารตนแบบที่ใชเทคโนโลยีการกอสรางดวยไมไผ
- บันทึกและถายภาพขั้นตอนตางๆในการกอสราง ตามสถานการณที่เกิดขึ้นจริง
- บันทึกปญหาที่เกิดขึ้นในการกอสรางและหาแนวทางแกไข
5. สรุปและประเมินผล
- ติดตามและประเมินผลการออกแบบที่ไดทําการกอสราง
- เสนอแนะแนวทางปรับปรุงและเผยแผเทคโนโลยีการกอสรางอาคารดวยไมไผ
1.5 ประโยชนที่จะไดรับจากโครงการ

1. ไดแนวทางเลือกใชวัสดุและกรรมวิธีการกอสราง เพื่อพัฒนารูปแบบอาคารที่กอสรางดวยไมไผ
ในพื้นที่โครงการพัฒนาดอยตุง
2. ไดคูมือที่รวบรวมการใชเทคนิควิธีการกอสรางอาคารดวยไมไผในภาคเหนือและภาคตะวันตก
ของประเทศไทย
3. เปนแนวทางการออกแบบโครงสรางอาคารที่กอสรางดวยไมไผโดยคํานึงถึงการรับแรงที่ถูกตอง
ในโครงสราง ความประหยัดทางดานตนทุนและเวลาในการกอสราง
4. ไดตนแบบอาคารที่กอสรางดวยเทคโนโลยีการกอสรางดวยไมไผ เพื่อเปนตัว อยางในการ
กอสรางและพัฒนาที่อยูอาศัยในพื้นที่โครงการพัฒนาดอยตุง
5

1.6 คําจํากัดความ
1. เทคโนโลยีที่เหมาะสม(ธีรศักดิ์:2526) เปนเทคโนโลยีที่สอดคลองกับสภาพชนบทมี
ลักษณะดังนี้ 1.ราคาถูก 2.ไมซับซอน 3.ใชวัสดุที่มีอยูในทองถิน่ 4.ใชพลังงานธรรมชาติ 5.ใช
แรงงานคนเปนสวนใหญ
2. ฟากไมไผ(น.ณ ปากน้ํา:2543) คือการเอาไมไผลําโตมาสับเปนเสนยาวๆแลวแผออกคลาย
แผนกระดาน
3. สถาปตยกรรมพื้นถิน่ Vernacular Architecture(วิวัฒน เตมียพันธ:2539)หมายถึงรูปแบบ
อาคารที่ชาวบานสรางขึ้นในแตละทองถิน่ ซึ่งรูปแบบยอมมีลักษณะแปปลกแยกแตกตางกันไปตาม
ลักษณะของวัฒนธรรมสภาพแวดลอมและสภาพดินฟาอากาศที่แตกตางกัน
4. การกอสรางระบบทัว่ ไป(สุรเชษฐ ชาวเรือ:2524) หมายถึงการกอสรางแบบทีน่ ิยมใชกัน
อยูทั่วไปตามปกติ ไดแกการนําวัตถุดิบ หลายชนิดมาผลิตเปนชิ้นสวนประกอบเปนตัวอาคาร ณ
ที่กอสราง
5. การกอสรางระบบอุตสาหกรรม Industrailized Building System(ไตรรัตน จารุทัศน:2535) คือ
เทคนิคการกอสรางทีย่ ึดกรรมวิธีการผลิตตามระบบอุตสาหกรรม ซึง่ อาจเปนระบบสําเร็จรูปผลิต
แลวนํามาประกอบเปนตัวอาคาร หรือระบบกึ่งสําเร็จรูป คือผลิตบางสวน
6. ระบบกอสรางกึง่ สําเร็จรูป Semi-prefabrication(สมภพ มาจิสวาลา:2541) คือระบบกอสราง
ที่มีโครงสรางบางสวนกอสราง ณ ที่กอสราง เชนฐานราก เสา คาน และมีชนิ้ สวนสําเร็จรูป
บางสวน ของอาคารเชน แผนพื้น แผนผนัง บันได ทั้งนี้วัสดุอาจเปนคอนกรีตเสริมเหล็กหรือ
วัสดุอื่นก็ได
7. ใชวัสดุกอสรางทีม่ ีอยูในทองถิ่น คือวัสดุที่หาไดงาย ราคาถูก ไมตอ งใชเครื่องจักรในการ
ผลิต และไมตองเสียคาขนสงมากและผลิตในไดในทองถิ่น
8. วัสดุกอสรางใหม คือวัสดุที่ผลิตขึ้นดวยเทคโนโลยีหรือใชเครืองจักร ใชทรัพยการทีห่ ายากใน
ทองถิน่ ในการผลิต
6

บทที่ 2

งานวิจัยและขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับไมไผ

2.1 ประเภทและชนิดของไมไผในประเทศไทย

ไผนับวาเปนพืชที่ขึ้นงายโตเร็ว ตายยากและขยายพันธุไดงาย ไผมีคณ ุ คามากมายเรียกไดวาเปนพืช


อเนกประสงคใชประโยชนไดทุกสวน ตั้งแตหนอ ลําตน ใบ และดอกผล อาจกลาวไดวาไมมพี ืชชนิด
ใดในโลกทีม่ นุษยจะไดรับประโยชนทงั้ ทางตรงและทางออมมากเทาไมไผ
ไมไผเปนพืชตระกูลหญาที่รบั ใชมนุษยมาตั้งแตครั้งโบราณกาล ใหประโยชนกับมนุษยทงั้ การ
อุปโภคและบริโภค ใชทาํ ที่ผกั อาศัย ทําเครื่องมือเครื่องใช ทํายารักษาโรคและใชประโยชนทาง
อุตสาหกรรมอีกนานัปการ ในประเทศจีนและประเทศญีป่ ุน มีการสนับสนุนใหมีการคนควาและทํา
การวิจยั ปรับปรุงพันธุและขยายพันธุ เพื่อใหไดประโยชนอยางจริงจัง ในประเทศจีนมีการใชไมไผและ
มีวิถีชวี ิตที่เกี่ยวของกับไมไผมาประมาณพันปมาแลว และมีการใหสมญานามประเทศจีนวา ประเทศ
หลังมานไมไผ ประเทศจีนมีการสงออกไมไผสูตลาดโลกถึงปละ ลานตัน ไมไผของประเทศจีนมีทงั้ ไผ
ปา และไผที่มกี ารดูแลเอาใจใส ทําเปนเกษตรกรรม สําหรับในประเทศไทยนั้น ประชาชนก็ใชไมไผ
ในชีวิตประจําวันมาชานานแลว และทุกวันก็นับจะมาขึน้ โดยเฉาะในงานหัตถกรรมจักรสาน บทบาท
สําคัญอีกประการหนึ่งของไมไผก็คือ การใชไมไผในงานอุตสาหกรรมในปจจุบนั มีการปลูกไมไผเพื่อ
การคา และการอุตสาหกรรมเปนพื้นที่ใหญๆเชนในทองที่ จ.ปราจีนบุรี จ.ขอนแกน จ.มหาสารคามและ
จ.บุรีรัมยไมไผที่นยิ มปลูกมากที่สุดคือไผตรง รองลงมาคือไผเลี้ยงและไผรวกตามลําดับ จากสถิติของ
สํานักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี ในป2533 พบวามีการปลูกไผตงในจังหวัดทั้งสิน 84, 354 ไร และมี
การปลูกไผเลีย้ งจํานวน 2,083 ไร ซึ่งคาดวาจะมีเนื้อที่ปลูกไผมากขึ้นทุกๆป เนื่องจากไมไผเปนไมโต
เร็วเมื่อเทียบกับไมชนิดอื่นๆ และมีโรงงานอุตสาหกรรมผลิตกระดาษรองรับทั้งใน จ.ขอนแกน และ จ.
ปราจีนบุรี นอกจากนั้นยังสามารถคัดเลือกชนิดทีจ่ ะปลูกไดตามสภาพพื้นที่และความตองการการใช
ประโยชน
7

1. ไผสีสุก (Bambusa blume and Schultes)


ขึ้นอยูทวั่ ไปตามหัวไรปลายนาทุกภาคของประเทศ แตพบมาในภาคกลางและภาคใต ชอบ
ขึ้นในทีม่ ีลักษณะดินเหนียวปนทรายหรือดินรวนในพืน้ ที่ราบต่ํา ๆ ริมแมน้ําลําคลอง ในปาธรรมชาติ
นั้นไมพบวาขึ้นปะปนกับไผชนิดอื่น ๆ เชื่อกันวาไผสีสุกไมใชไผพื้นเมืองของไทยแตเปนไผพนื้ เมืองของ
หมูเกาะชวาสมุตราและบอเนียว ลํามีสีออกเหลืองซึ่งทําใหมีชื่อเรียกวา ไผสีสุก
จัดวาเปนไมไผที่มีลําสูงใหญความยาวของลํา 10-18 เมตร ขนาดเสนผาศูนยกลาง 8-12
เซนติเมตร ลําตนตรงผิวของลําแข็งเรียบเปนมันปลองยาวประมาณ 30 เซนติเมตร โดยธรรมชาติแลว
ไผสีสุกจะขึ้นเปนกอแนน โดยเฉพาะอยางยิ่งบริเวณโคนกอ และในแตละลําจะมีการแตกกิ่งจํานวน
มากตั้งแตโคนลําขึ้นไป ที่สังเกตไดคือตรงบริเวณขอของกิ่งจะมีหนามงอโคงแตกเปนกลุม ๆ ละ 3 อัน
อันกลางจะมีขนาดยาวกวาอันขาง ๆ 2 อัน ปลายใบเรียวแหลมโคนใบรูปลิ่มใบมักจะมีจํานวน 5-6 ใบ
ที่ปลายกิ่งหนอใหญมีน้ําหนักประมาณ 3-5 กิโลกรัมขนที่หนอเปนสีน้ําตาล/ไผชนิดนี้ปลูกขึ้นงาย
ชาวบานรูจักดีและใชประโยชนนานาประการ ลําตนใชในการกอสรางทําสวนตาง ๆ ของบานเรือน ทํา
เฟอรนิเจอรและงานหัตถกรรมตาง ๆ โคนไมไผนิยมใชทําคานคันหาบกันมากเพราะเนื้อไมหนาแข็งแรง
ทนทาน บางครั้งก็ใชทําเสากระทูรั้ว ทํากระดาษไดปริมาณเยื่อสูง หนอมีรสดี เนื้อไมเปรี้ยวสีขาวและ
เก็บไดนานไมคอยเปอยงาย กลาวไดวาชาวบานนําไผชนิดนี้ไปใชทําประโยชนมากที่สุด ดังนั้นตาม
ชนบทจึงนิยมปลูกไผสีสุกไวรอบ ๆ บาน เพื่อใชสอยอยางเอนกประสงคดังกลาว

ภาพที่2.1 แสดงลําตนและใบของไผสีสุก

2. ไผตง (Dendrocalamus asper.)


8

เป น พั น ธุ ไ ม จ ากต า งประเทศนํ า เข า มาปลู ก โดยชาวจี น ครั้ ง แรกในจั ง หวั ก ปราจี น บุ รี เ มื่ อ
ประมาณ 100 ป ที่ผานมา
ลักษณะเปนไผที่มีลําสูงไมมีหนาม อาจสูงถึง 20 เมตร และมีเสนผาศูนยกลางลําตนประมาณ
8-18 เซนติเมตร ปลองยาวประมาณ 20 เซนติเมตร ลํามีสีเทาปนขาวสลับกันเปนลายเฉพาะทางสวน
โคนของลํามีขนเล็ก ๆ อยูทั่วไปตามลํา หลังใบและกาบ ระหวางปลองมีรากฝอยเห็นไดชัด เนื้อหนา
และมีกิ่งเล็ก ๆ ตามขอหลายกิ่ง ไผตงมีทั้งหมด 5 ชนิด คือ ไผตงหมอหรือตงใหญ ซึ่งมีขนาดของลํา
ใหญที่สุด แตปลูกกันนอย ไผตงตํา เปนไผขนาดกลางลําจะออกสีเขียวอมดําและสากใบมีขนาดใหญ
สีเขียวเขมและหนาเปนที่นิยมปลูกกันอยางแพรหลาย ไผตงสีเขียว ซึ่งมีขนาดของตนและใบเล็กกวา
ไผตงดําเล็กนอย ไผตงหมูเปนไผดงดําแตมีขนาดเล็กกวามากชนิดสุดทายคือ ไผตงลายซึ่งคงจะเปนไผ
ตงดําหรือตงเขียวชนิดใดชนิดหนึ่ง ซึ่งสันนิษฐานวากลายพันธุไปเนื่องจากการขาดแรธาตุไมคอยนิยม
ปลูกกันนัก
ไผตงมีปลูกกันในหลายประเทศหนอไมดอง นอกเหนือจากหนอแลวลําหรือเนื้อไมก็เปนวัตถุดบิ
ที่สําคัญของอุตสาหกรรมการผลิตเยื่อกระดาษ ตะเกียบ ไมจิ้มฟน นอกสรางไดดี

3. ไผสีเหลือง (Bambusa vulgaris ภาพที่2.2 แสดงลําตนและดอกของไผตง


9

ชื่อพื้นเมืองอาจเรียก ไผงาชาง ไผหลวง ไผไร ไผบงดําหรือจันคํา ถิ่นกําเนิดเดิมไมแนชัด


เชื่อกันวาไมไผชนิดนี้มีพื้นเพอยูที่เกาะมาดากัสกาตอมาไดนําไปปลูกกันกระจายไปทั่วโลกในบริเวณที่
มีอากาศรอนแถบอินเดีย พมา ไทย มาเลเซีย อเมริกากลางและใต บางตําราก็วาถิ่นเดิมอยูใน
ประเทศจีนตอนใต แลวจึงกระจายไปยังแหงอื่น ๆ
ไผชนิดนี้มี 2 ลักษณะ คือ ชนิดที่ลําเปนสีเขียวทั้งหมดกับชนิดที่ลําเปนสีเหลืองและมีแถบสี
เขียวใหญเล็กสลับตามความยาวของลําจัดเปนไผขนาดกลาง สูง 10-20 เมตร เสนผาศูนยกลางลํา
ประมาณ 5-15 เซนติเมตร ลําหางกันเล็กนอยขึ้นเปนกอไมแนน ผิวของลําเกลี้ยงเปนมัน ไมมีคาย ขอ
นูนเดนชัด เนื้อไมออนภายในขอกลวง ครีบกาบโตเห็นไดชัด รูปรางคลายหูมีขนสีน้ําตาลหนอออนสี
เหลืองออน ตาหนอสีน้ําตาลออน
ไผพันธุนี้ขึ้นในดินทุกชนิดปลูกงาย โตเร็ว สวนใหญจะนําปลูกตามบานเรือน สถานที่ราชการ
วัดเพื่อใชเ ป นประโยชนทางดานอื่ น แตถาจําเปน ตองใช ก็สามารถนํามาใชเ ป นสวนของการสรา ง
บานเรือน ทําบวบแพ สับฟากหรือนํามาทําสิ่งประดิษฐเปนของใชพวกแจกัน ที่เขี่ยบุหรีสําหรับหนอ
จะมีรสขมไมนิยมนํามาเปนอาหารสวนใหญปลูกเปนไมประดับเพราะสีเหลืองของลําตนแปลกกวาไผ
ชนิดอื่น ๆ

ภาพที่2.3 แสดง ไผเหลือง

4. ไผเลี้ยง (Bambusa nana Roxb)


10

ไมใชไผพื้นเมืองของไทย แตมีถิ่นกําเนิดเดิมในประเทศจีนและญี่ปุน เพราะฉะนั้นจึงไมพบเห็น


ไผชนิดนี้ในปาธรรมชาติ
เปนไผที่ปลูกขึ้นงาย โตเร็วชอบดินที่มีการระบายน้ําไดดี อากาศชื้น ปลูกไดทั่วไปแตปลูกกัน
มากในภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย นอกจากนี้ยังนิยมปลูกกันในหลายประเทศ
แถบเอเซียไมวาจะเปน อินเดีย พมา มาเลเซีย สิงคโปร อินโดนีเซียและฟลิปปนส
ไผเลี้ยงเปนไผที่ขึ้นเปนกอไมแนนทึบนักถือวาเปนขนาดไมพุมความสูง 2-5 เมตรขนาด
เสนผาศูนยกลางลํา 1-3 เซนติเมตร ปลองยาว 20-30 ลําสีเขียว มีขน ละเอียดสีขาวนวล ไมหนามดู
สวยงาม ใบเล็กเรียวขนาดยาวประมาณ 8-10 เซนติเมตร กวาง 1-1.5 เซนติเมตร กาบหุมลําสีน้ําตาล
ออน บางหลุดงาย
ไผเลี้ยงใชประโยชนไดอยางกวางขวาง ลําตนเกือบตันจึงแข็งแรงใชทําคนเบ็ด ไมหลัก ทํา
ชิ้นสวนเฟอรนิเจอร ปลูกเปนแนวรั้ว ไมค้ํายันปกติสวนใหญแลวปลูกเปนไมประดับเพราะเทวดาทรง
สวยงาม สะอาดตา หนอใชปรุงอาหารรับประทานได แตไมนิยมเพราะการใชประโยชนจากลําให
ผลตอบแทนที่สูงกวา

รูปที่2.4 แสดงลําตน เมล็ดและดอกไผเลี้ยง


11

5. ไผรวก (Thyrsostachys siamensis Camble)


กระจายพันธุตามธรรมชาติอยูบริเวณประเทศพมาเขตติดตอกับประทศไทย ฉะนั้นจึงพบมาก
อยูทั้งภาคกลางและภาคเหนือ มีนอยในภาคใต ภาคตะวันตกแถบกาญจนบุรีก็มากเชนกัน
ไผรวกเปนไมที่มีความสวยงามในตัวของมันเอง ขึ้นเปนกอชิดทึบแนน พุมเตี้ย สวนใหญลํา
ตนเล็ก ลําสูงราว 2-7 เมตร ลําตรงเปลา จะมีกิ่งเรียวเล็ก ๆ ตอนปลาย ๆ ลําเสนผาศูนยกลางลําเฉลีย่
2.5 เซนติเมตร แตถาพื้นดินอุดมสมบูรณดีขนาดก็ใหญได ขอคอนขางเรียบ มีวงใตขอสีขาว ปลองจะ
ยาว 15-30 เซนติเมตร ใบเล็กยาวเรียว หนาใบมีขนเล็ก ๆ กาบหุมลําบางแนบชิดกันลําไมหลุดรวงเมื่อ
แก ดอกคลายรวงขาว หนอขนาดเล็ก แตกหนอในเดือนสิงหาคมถึงกันยายน
ไผรวกใชประโยชนไดหลายอยาง เชน ใชในการตบแตงบริเวณบานหรือสวน ทํารั้ว เปนวัสดุ
ประกอบการกอสราง การประมงทําเยื่อกระดาษ หนอรับประทานได ประโยชนที่สําคัญอีกประการ
หนึ่งก็คือ ปลูกเปนแนวบังลมหรือค้ําไมพืชสวนตาง ๆ เพราะการขยายพันธุไผรวกเปนไปไดงาย ทน
แลงไดดีจึงสามารถปลูกไดทั่วทุกพื้นที่ของประเทศ

6. ไผรวกดํา (Thyrsostachys oliveri Gamble)


ชื่อพื้นเมืองเรียก ไผรวก ไผตง ไผเปา ไผรวกใหญ ไผสลอม มีอยูมากทางภาคเหนือและภาค
ตะวันตกรวมไปถึงพมา ขึ้นปะปนกับพรรณไมชนิดอื่น ๆ ในปาผสมผลัดใบหรือปาสักในทางภาคเหนือ
เปนไผที่มีความงามมากพวกหนึ่งลักษณะของกอและลําสวย ใบไมคอนรวง ทั้งยังใชประโยชนไดอยาง
กวางขวาง จึงมีผูนําไปปลูกในพื้นที่แทบทุกภาคของประเทศ
ไผรวกดํานี้มีลักษณะคลายไผรวกมากจะตางกันใหสังเกตไดคือ ขนาดของลําและระยะปลอง
ซึ่งโตและยาวกวาไผรวก แตเนื้อบางกวาขนาดของใบไผรวกดําจะใหญกวาเสนลายใบมี 6 สวน ไผรวก
มีเพียง 3-5 สวน นอกจากนั้นไผรวกดําจะมีลําที่ตรงและมีกาบหุมลําติดอยูตั้งแตโคนถึงปลาย
ไผ ร วกดํ า เป น ไม ที่ มี ลั ก ษณะงามขึ้ น เป น ก อ แน น ลํ า เปลาตรงสู ง ราว 10.25 เมตร
เสนผาศูนยกลางถึง 5-8 เซนติเมตร การแตกกิ่งตามธรรมชาติจะแตกบริเวณยอดของลํา เมื่อยังออนมี
สีเขียวสด มีขนออนสีเทาพอแกเขาจะมีสีเขียวอมเหลืองดาน ๆ ขอโตมอง
เห็นไดชัด ใบสีเขียวออน ปลายใบเรียวแหลมโคนใบมน ใบทั้งสองดานคาย ดานลางมีขนขอบใบสาก
คม
12

นอกจากความสวยงามที่ขึ้นเปนกอ ลําไมเล็กไมใหญ ใชปลูกประดับตกแตงสวนหรือบริเวณ


บานไดอยางดีแลวยังมีคุณคาทางเศรษฐกิจสูงสามารถนําไปใชประโยชนไดอยางกวางขวาง เปนตน
วาใชเปนวัสดุกอสราง ไมค้ํายัน ทําเครื่องเรือน เครื่องจักสาน เครื่องมือกสิกรรมกระดาษที่เห็นได
ชัดเจนก็คือเขงไมไผที่ใชกันอยางแพรหลายทั่วประเทศก็คือผลิตภัณฑที่ไดจากไผรสกดํานอกจากนี้หนอ
ก็นิยมนํามาบริโภคไดดีเชนเดียวกับไผรวก

7. ไผปา (Bambusa arundinacea Wild)


มีอยูทุกภาคของประเทศ ทั้งในปาธรรมชาติและในเขตชุมชนหรือตามหัวไรปลายนามักพบ
ขึ้นอยูหนาแนนตามริมฝงแมน้ํา ลําหวย หนอง ริมคลอง และที่ชุมชื้นตามที่ราบลุมทั่ว ๆ ไป ภาค
กลางและภาคเหนือจะเรียกวาไผหนาม ภาคอีสานเรียก ซารองหรือซาเรียง
ลักษณะเปนไผขนาดใหญ มีเสนผาศูนยกลางโตถึง 20 เซนติเมตร โดยเฉพาะในปาธรรมชาติ
ที่สมบูรณแตโดยทั่ว ๆ ไปจะมีขนาดโตปานกลาง 10-15 เซนติเมตร ความยาวของลําแตกตางกันอยู
บาง ที่งาม ๆ จะสูงราว 10-24 เมตร ลําปลองยาว 15-50 เซนติเมตร เนื้อหนา 1-5 เซนติเมตร ขึ้นเปน
กอแนนและมีการแตกกิ่งยอยเปนจํานวนมากบริเวณโคนของกอตามขอของกิ่งยอยจะมีหนามขนาด
เล็ก ๆ งองุมแทบทุกขอ แตบริเวณสวนของลําเหนือโคนจะไมมีการแตกกิ่ง จะมีบางก็เปนกิ่งยอยที่มี
การแตกกิ่ง จะมีบางก็เปนกิ่งยอยที่มีขนาดเล็กไปจนถึงปลายยอด สีของลําตนออนสีเขียว ลําตนแกสี
เขียวเหลือง ใบเล็ก หนอใหญ กาบหุม ลําหนา แข็ง และหลุดรวงเมื่อลําแกออกดอกเกือบทุกป
ไผปาเปนไมที่ใชประโยชนไดดีของชาวชนบทมานาน โดยทั่วไปนิยมใชในการกอสราง ทํา
นั่ง ร า นใชในการสร า งบ านเรือน ทํ า ฟากปูพื้น ทํา รั้ว ทํา ลูกบวบแพ พะอง ทําเครื่องใชไมสอยใน
ครัวเรือน และที่ขึ้นหนาขึ้นตามากที่สุดก็คือ การทําขาวหลามของชาวหนองมน จังหวัดชลบุรีก็ใชไใไผ
นี้ นอกจากนั้นหนอใตดินก็กินไดเหมือนไผซาง หนอที่ขึ้นมาพันดินนิยมทําหนอไมดองกันมาก

รูปที่2.5 แสดงไผปา
13

8. ไผลํามะลอก (Bambusa longispiculata)


ชื่อพื้นเมืองเรียกไผหกดํา ชื่อทางราชการอาจเรียกไผบงปา ไผลํามะลอกขึ้นอยูแทบทุกภาค
ของประเทศ พบมากในภาคตะวันออก ภาคกลาง และภาคใตบน ในภาคใตตอนลางจะขึ้นกระจัด
กระจายแตนอยมาก แถบราชบุรีเรียก ไผยายกอ ขึ้นงอกงามในพื้นที่ที่ดินปนทราย ไมคอยพบตามปา
เขา
ลักษณะแตกตางจากไผชนิดอื่น ๆ ก็คือ แมเปนพุมใหญแตกอจะไมแนนแตละลําจะขึ้นหางกัน
ประมาณ 1 ถึง 1 ฟุตครึ่ง ดังนั้นในแตละกอจะมีลําขึ้นกระจายอยางมีระเบียบบริเวณโคนตนสะอาด
มองดู เ ผิน ๆ จะมี ลัก ษณะคล า ยลํ า เดี ย ว ลํา ของไผชนิ ดนี้ มีข นาดเสน ผา ศู น ยก ลางประมาณ 5-7
เซนติเมตร จัดเปนไผขนาดกลาง โดยทั่ว ๆ ไปจะมีการแตกกิ่งเฉพาะปลายยอดของลํา ปลองหางกัน
ปานกลาง ขอเรียบไมมีลายเนื้อหนาประมาณ 1-2 เซนิเมตร ภายในเรียบเนื้อแข็ง ลําตนกลวงไมมี
หนาม ผิวสีเขมเกลี้ยงสะอาดและเปนมัน ใบเรียวเล็กสั้นกานใบแตกเปนพุมสีเขียวเกลี้ยงสะอาดและ
เปนมัน ใบเรียวเล็กสั้นกานใบแตกเปนพุมสีเขียวแก หนอรับประทานได
ไผลํามะลอกใชประโยชนไดอยางกวางขวาง ลําของไผชนิดนี้นอกจากจะใชการกอสราง ยังใช
ทําเฟอรนิเจอร ทําไมกวาด ทําจักสานชนิดหยาบ หนอมีรสหวานรับประทานได

รูปที่2.6 แสดงกอและปลองไผลํามะลอก
14

9. ไผไร (Gigantochloa abbociliata)


ชื่อทางการเรียกวาไผไรอีสานเรียกไผคาย เหนือเรียกไผผาก ไผไรพบขึ้นกระจายอยูทั่วไปใน
ปาธรรมชาติแทบทุกภาค จะพบมากในปาเบญจพรรณ โดยขึ้นอยูเปนกอแนน
จัดเปนไผขนาดเล็ก เสนผาศูนยกลางลําประมาณ 1.5-3 เซนติเมตร ลํามีสีเขียวแกมเทา ผิว
ลําสากและมีขนปกคลุมทั่วลํา ตนไมมีหนามปลองยาวประมาณ 40 เซนติเมตร ปลายของลําเมื่อเจริญ
เต็มที่จะโคงลงสูพื้นดิน ลักษณะของการแตกกิ่งบริเวณโคนของลําจะแตกเปนกิ่งเดียวและแตกขนาน
ขึ้นไปในลํากิ่งมีประมาณ 1-2 ตอขอของลํา บางกิ่งใหญขนาดเทากับลํา บริเวณปลาย ๆ ลําจะแตก
กิ่งยอยซึ่งมีขนาดเทา ๆ กันจํานวนมาก ใบเล็ก ปลายใบเรียว ทองใบมีขน สวนหลังใบมักสากคาย
ในปาธรรมชาติขึ้นอยูในดินกรดเล็กนอย ชอบความชุมชื้นมาก เชน บริเวณภูเขา ไผไรจะมี
การออกดอกกระายเปนกอเกือบทุกปเมล็ดจะมีลักษณะแหลมยาวลักษณะของกาบเมื่อยังออนอยูจะมี
ขนสีน้ําตาลคลุมอยูทางดานนอก
ประโยชนของไผไรมีอยางกวางขวาง ลักษณะลํามีขนาดเล็กแตมีเนื้อหนา โดยเฉพาะอยางยิ่ง
บริเวณโคนจึงนิยมนําไปทําสวนประกอบของเครื่องมือเครื่องใชเฟอรนิเจอร ทําดามไมวาดนอกจากนี้
ยังสามารถดัดใหคดงอคลายหวาย สวนหนอเมื่อตมแลวจะมีรสหวานเปนที่นิยมมาก

10. ไผซาง (Dendrocalamus stricctus Nees)


ไผซางมีอยูทั่วไปในประเทศไทยแถบกาญจนบุรีอาจเรียกตางออกไปเปนไผนวล ไผตงดํา แต
ชื่อทางราชการ เรียกไผซาง ประเทศเพื่อนบานของไทยไมวา อินเดีย พมา สิงคโปร อินโดนีเซีย
มาเลเซีย ก็มีไผชนิดนี้ขึ้นอยู
เปนไผขนาดกลาง ขนาดลํามีเสนผาศูนยกลาง 3-9 เซนติเมตร สูง 6-18 เมตร หรือสูงกวาขึ้น
เปนกอแตไมแนน ในทองที่สมบูรณ ดินดี น้ําดี ไผซางจะมีลําใหญสูง ใบก็ยาวใหญดวย ถาทองที่
แหงแลงลําก็จะลดลง
ไผซางใชประโยชนไดอยางกวางขวางทัง้ นีเ้ พราะเปนไมขนาดกลาง ๆ ไมหนาไมบาง ผางาย
ตรงไมมีหนาม ทนถาวร ไมคายมือเวลาใชงาน ลําใชทาํ เครื่องมือ เครื่องเรือน เครื่องจักสาน ใบเปน
อาหารวันความ หนอเปนอาหารไดดี และรสดีกวาไผตงแตมีขนาดเล็กกวา นิยมใชหนอใตดิน เพราะ
เมื่อพนดินแลว ตมแลวก็ยังมีรสขมและเปนสีออกแดง
15

11.ไผหก (Dendrocalamus hamiltonii)


ชื่ออื่น ๆ เชน ไผโป, ไผนวลใหญ เปนไมพนื้ เมืองชนิดหนึ่งของเมืองไทย มักจะขึน้ ในที่สงู ๆ
จากระดับน้าํ ทําเลคอนขางมากและจองเปนที่ชมุ ชื้นดินดีมีการระบายน้ําไดดี พบมากทางภาคเหนือ
โดยเฉพาะตามหุบเขาและปาทึบ นอกนัน้ มีที่เลย กาญจนบุรี ลําคอนขางใหญมาก
ในธรรมชาติขนึ้ เปนกอไมหนาแนนเหมือนไผปาและไผสีสุก สีของสําเขียวอมเทาเมือ่ โตเต็มที่จะ
มีขนาดเสนผาศูนยกลางของลําประมาณ 20 เซนติเมตร สูงเต็มที่ประมาณ 15 เมตร ลําปลองยาว 40 –
50 เซนติเมตร เนื้อหนาและนับเปนไปที่มขี นาดใหญที่สดุ ที่พบในประเทศ ลําของไผหกจะขึน้ เปลาตรง
บริเวณโคนไมมีกิ่ง ใบกวางยาว ปลายเรียวแหลม เมื่อนํามาปลูกนอกถิ่นกําเนิดแลว ลักษณะภายนอก
ทั่ว ๆ ไปจะเหมือนไผตง ผิดกันที่สีของบริเวณขนโคนของลําออน
เนื่องจากขอจํากัดของการกระจายพันธุจ ึงไมคอยเปนที่รจู ักกันอยางกวางขวาง แตโดย
ธรรมชาติแลวไผหกใหประโยชนอยางดีสาํ หรับผูที่อยูใกลถิ่นกําเนิดของไผชนิดนี้ นอกจากการใชหนอ
เปนอาหารแลว ลําที่มีขนาดใหญสามารถใชเปนเสาบานเรือนเนื้อไมทําเครื่องจักสาน เยื่อใชทํา
กระดาษ เยื่อในกาบหุมลําใชมวนบุหรี่ ใบใชทําปุย เชื้อเพลิง ขอทําที่เขี่ยบุหรี่ ปนโต นอกจากนัน้ กาบ
หุมลําที่มีขนาดใหญก็สามารถนํามาทําเปนหมวกกันฝนไดดี

12.ไผเฮี้ยะ (Cephalostachy um virgatum)


สกุลเดียวกันกับไผขาวหลามรูจักกันดีในภาคเหนือ ขึ้นในปาดงดิบปรือปาผสมผลัดใบชื้นทีม่ ีไม
สัก โดยเฉพาะตามริมหวยตาง ๆ
ลักษณะทีเ่ ดนที่สุดของไผเฮีย้ ะไดแกเนื้อของลําซึง่ บางมากตั้งแตโคนถึงยอดและมีขนาดปลอง
ที่คอนขางยาว บางปลองอาจยางถึง 70 เซนติเมตร ไผเฮี้ยะถือวาเปนไมขนาดยอมลําเรียวเปลา ตรง
สูงไมเกิน 18 เมตร ลําออนมีขนสีขาวปกคลุมลําแกมีเขียวเขมมีคายเล็กนอย ขอตอเรียบมีกิ่งเล็กนอย
ใบมีขนาดใหญเมื่อเทียบกับไผรวก, ไผเลี้ยง, ไผปาหรือไผสีสุก กาบหุม ลําขางนอกจะมีขนสีทองคลุม
หนาแนน ครีบของกาบแคบ ตามขอเปนเสน
.ไผเฮี้ยะก็เหมือนกับไผบงคือในผาธรรมชาติคอนขางจะหายากที่พบเปนเนื้อที่กวาง ๆ จะมีก็
เฉพาะในเขตอุทยานแหงชาติภาคเหนือ การใชประโยชนจึงคอนขางจะจํากัด เนื่องจากมีเนื้อไมบาง จึง
ใชในการกอสรางชั่วคราว นิยมนํามาสับฟาก ทําฝาหรือเพดาน ไมนิยมนํามาทําพืน้ เพราะมีผวิ มี
ลักษณะที่คมมาก นอกจากนั้นก็อาจนํามาทําเปน เครื่องมือดักปลา หรือกระบอกใสน้ํา เวลาเดิน
ทางไกลของชาวชนบท หนอรับประทานไดแตไมเปนทีน่ ิยม
16

14.ไผเปาะ (Dendrocalamus giganteus)


บางทีเรียกตามชื่อพื้นเมืองวา ไผเปราะ, ไผโปก, ไผหวาน มีอยูทวั่ ไปในพมา อินเดีย ศรีลังกา
มาเลเซียและไทย มีปลูกกันหลายแหง แตก็เปนที่ทราบกันดีวาไมไปเปาะ ตองการความชื้นและดินดี จึง
มีอยูในพื้นที่คอ นขางจํากัด เชน ตามเชิงเขาในปา ชอบดินปนทราย สวนมากมีทั่วไปในภาคเหนือและ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ลักษณะเปนไมพุมใหญขึ้นชิดติดกันเปนกอทึบแนนไมมหี นาม ลําตนมีสีเขียว ขอเรียบบาง
เปลือกบาง เนือ้ แข็งเปราะ ผิวเกลี้ยง ใบเล็กเรียว สีเขียว หนาแลงจะมีเขียวแกมเหลืองหนอโตพอ ๆ
กับลํา กาบสีเหลืองปนเทา ลักษณะทัว่ ไคลาย ๆ ไผสรางไพร
ประโยชนใชกนิ หนอ แตตองเปนหนอใตดิน แตก็หายากจึงไมคอยกินกันนัก ลําใชในการ
กอสรางเปนบานเรือนชั่วคราวในชนบท พวกฟากและพืน้ บาน ใชทําเฟอรนิเจอรดามไมกวาด ไมนิยม
ทําเครื่องจักสาน เพราะแข็งเปราะ ถาใชทาํ กระบอกขาวหลามเมื่อเผาขาวหลามแลวไมตองปอกใชทุบ
กระบอกจะแตกและขาวหลามจะลอนออกไดงายเพราะมีเนื้อเยื่อดี
ไมไผเปาะนับวันจะหายากหรือสูญพันธไปเลย เพราะใชสะดวก แตปาชื้น ๆ ถูกทําลายหมด
โอกาสที่ไผพันธุนี้สูญพันธุจงึ มีมาก

15.ไผรวกแดง
ปลูกมากตามภาคเหนือ ตามบานไรสวน ปลูกงาย ขยายพันธุงา ยไมเลือกสภาพดินแมในดิน
ลูกรังก็ขึ้นไดสว นใหญปลูกเปนแนวรั้วกันลม
ชอบขึ้นเปนกอ กอหนึ่งมีประมาณ 50 ลํา สูงไมเกิน 12 เมตร ลํากวาง 3 – 6 เซนติเมตร ปลอง
ยาว 20 เซนติเมตร สีเขียวอมเหลือง แกเต็มที่สีเหลือง ลําตนแข็งแรง เนื้อไมหนาโคนหนามากเกือบตัน
ใบมีขนาดเล็กแหลม โคนถึงกลางลําตนไมมีกิ่ง ปลายยอดจึงมีใบจึงดูสวยสามสะอาดตา
นอกจากจะปลูกไวเปนรัว้ ใหความรมรื่น ประโยชนก็มีมากเนื้อไมแข็งแรงจึงใชทาํ โครงสราง
บาน ทําบันได ทํานัง่ ราน เฟอรนิเจอร หนอใชรับประทานได บางแหงปลูกไวขาย เพราะไมแข็ง ขายได
ราคาดี
19

ในการรูจักไมไผในประเทศไทยนั้นเปนเรื่องคอนขางยากสําหรับคนธรรมดาๆ ที่ไมใชนัก
พฤกษศาสตร เพราะไมไผมีลักษณะคลาย ๆ กันในตระกูลหรือ gunus เดียวกัน และไมชนิดเดียวกัน
เวลาอายุยังนอยและอายุมากก็แตกตางกัน ไมไผชนิดเดียวกันในสภาพดินตางกันทําใหลักษณะของ
ตนผิดกันไปดวย แมแตนักพฤกษศาสตรเองก็จะตองเห็นใบ ลูก และดอก โดยเฉพาะชนิดที่เกิดขึ้นใหม
หลายอยางก็เนื่องจากความแตกตางของ บางสวนของดอกก็มี ฉะนั้น ในเรื่องชื่อของไมไผที่ถูกตองไป
ทุกตนทุกชนิด ทุกทองที่จึงเปนสิ่งที่อาจจะยากอยู

การศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตรของไผนั้น สิ่งที่ควรทราบคือลักษณะตาง ๆ ของไผที่ใชใน


การจําแนกพันธุ เชน ลักษณะภายนอกที่ ปรากฏสวนใหญ ๆ ที่สังเกตไดคือ
1.ใบ ดูลักษณะ (Shape) ปลายใบ โคนใบ หูใบ (Stipules) ซึ่งจะแตกตางกันไปตามชนิด
2.สังเกตความสั้นยางของปลอง (internode) เชน ไผนวล ไผขาวหลาม ไผเฮี้ยะ ซึ่งมีปลอง
ยาว สวนไผปาจะมีปลองสั้น
3.ความโตของเสนรอบวง เชน ไผหก ไผเฉียงรุน ไผซาง มีขนาดโตกวาไผชนิดอื่น
4.ดูตาปลอง (Bud) ไมไผบางชนิดจะมีหนามอยูเหนือตา เชน ไผสีสุก ไผปา สวนไมไผซางกิ่ง
ยื่นออกมาและหลุดหายไปเมื่อแกเต็มที่
5.สีของลําตน (Colour) ไผซางดําหรือไผเหลืองจะมีสีเหลืองตลอดลํา และมีแถบสีเขียวยาว
เปนแถบลงมา สวนไผสีสุก ไผปา จะมีสีเขียวสดอยูเสมอ
6.ความหนาของลํา เชน ไผสีสุก ไผไร จะมีความหนากวาไผขาวหลามเปนตน

การสังเกตลักษณะภายนอกดังกลาวแตเพียงอยางเดียว จะยังไมสามารถจําแนกพันธุไผได
ถูกตองนัก เพราะแมแตไผ พันธุเดียวกัน ก็ยัง มีลักษณะไมเหมือนกัน เนื่องจากความแตกตางทาง
ภูมิศาสตร ทางธรณีวิทยา ความอุดมสมบรูณของดิน และปริมาณน้ําฝนเปนตน ทําใหไผชนิดเดียวกัน
ปลูกในที่จางกันจะมีลักษณะแปลกกันไป ยิ่งกวานั้นอายุความออนแกก็ทําใหลักษณะสวนประกอบ
ของเนื้อไมตางกันไปดวย ฉะนั้นการจําแนกพันธุที่ถูกตอง ตองอาศัยการเจริญเติบโตของเหงา กาบหุม
ลํา สวนตาง ๆ ของดอกและลักษณะของผลเปนเกณฑดวย จึงจะจําแนกพันธุไดถูกตอง
17

ตารางแสดง ไมไผที่ปลูกกันมากในประเทศไทยและสามารถนําไปใชประโยชนได

ชื่อพื้นเมือง ชื่อวิทยาศาสตร เสนผาน ทองที่มีในภาค การใชประโยชน


ศูนยกลาง
(cm)
โจต Arundinaria Ciliata 0.75 – 1 ใตและ ทําเยื่อกระดาษ
ตะวันออกเฉียงเหนือ
หญาเพ็ด A. Lusilla 0.5 – 0.7 ตะวันออกเฉียงเหนือ ทําเยื่อกระดาษ
ไผปา Bambusa Arundinaceae 10 – 15 ทั่วไป เครื่องจักสาน
เยื่อกระดาษ
ไผสีสุก B. Blumeana 7 – 10 ปลูกทั่วไป เครื่องจักสาน
กอสรางชั่วคราว
ไผบงหนาม B. Burmarica 10 – 12 เหนือ เครื่องจักสาน
ไมค้ํายัน เยื่อกระดาษ
ไผลํามะลอก B. Longispiculata 7–9 ทั่วไป จักสาน เยื่อเรยอง
ไผเลี้ยง B. Nana 2–3 ทั่วไป จักสาน ปลูกประดับ
ไผชางดํา B. Pallida 7.5 – 15 เหนือและ จักสาน ปลูกประดับ
ตะวันออกเฉียงเหนือ
ไผหอม B. Polymorpha 6 – 18 เหนือ จักสาน
กอสรางชั่วคราว
ไผบง B. Tulda 5 – 10 ทั่วไป จักสาน เยื่อกระดาษ
ไผเหลือง B. Vulgaris 4 – 4.5 ทั่วไป จักสาน เยื่อกระดาษ
ไผขาวหลาม Cephalos Trachyum 12 – 20 เหนือ กอสรางชั่วคราว พื้น
– Pergracile Munro
ไผเฮียะ C. Virgatum 15 – 20 เหนือ กอสรางชั่วคราว ฝา
ไผบงใหญ Dendrocalamus 10 – 17 ทั่วไป จักสาน เยื่อกระดาษ
กอสรางชั่วคราว
ไผเปาะไผฮก D. Giganteus 10 – 12 ทั่วไป กอสรางชั่วคราว
ไผนวลใหญ D. Hamiltonii 10 – 17 เหนือ กอสรางชั่วคราว
ไผซางดํา D. Latiflourus 10 – 12 เหนือ กอสรางชั่วคราว
18

ชื่อพื้นเมือง ชื่อวิทยาศาสตร เสนผาน ทองที่มีในภาค การใชประโยชน


ศูนยกลาง
(cm)
ไผลํามะลอก D. Longispathus 7.5 – 10 ทั่วไปยกเวนภาคใต จักสาน เยื่อกระดาษ
กอสรางชั่วคราว
ไผซางหรือไผนวล D. Membranaceus 3 – 12 ทั่วไป จักสาน เยื่อกระดาษ
กอสรางชั่วคราว
ไผซาง D. Strictus 3–8 เหนือ จักสาน เยื่อกระดาษ
กอสรางชั่วคราว
ไผคลาน D. Inochloa 2.5 – 5 เหนือและใต ทําเชือก
ไผเลื้อย D. Scandens 2.5 ทั่วไป ทําเชือก
ไผตากวาง Gigantochloa Kursii 0.75 ใต กอสรางชั่วคราว
ไผหางชาง Melocalamus 2.5 – 4.5 ทั่วไป ใชสอย
Compactiflorus
ไผไร Oxytenanthera 1.5 – 2.5 ทั่วไป กอสรางชั่วคราว
Albociliata
ไผคาย O. Hosseusil 1.5 – 2.5 ทั่วไป กอสรางชั่วคราว
ไผไรลอ O. Nigrociliata 5 – 10 ใต กอสรางชั่วคราว
ไผผาก O. Densa 4–6 ใต กอสรางชั่วคราว
ไผลั้ว Schizostachyum 1 – 1.5 ใต เยื่อกระดาษ
Aciculare
ไผโป S. Zollingeri 4–6 ใต เครื่องจักสาน
กอสรางชั่วคราว
ไผรวก Thyrsostachys 4–6 ทั่วไป รั้ว เยื่อกระดาษปก
Siamensis โปะ
ไผรวกดํา T. Oliveri 5 –7.5 เหนือ รั้ว เยื่อกระดาษ
20

2.2 การเตรียมไมไผเพื่อใชในการกอสราง
วิธีตัดฟน
ในการตัดฟนไมไผนั้น สามารถแยกออกไดอยางกวาง ๆ 2 ระบบ คือ
1. ระบบตัดหมด (Clearcutting System) ระบบนี้เปนระบบที่ทําการตัดไผทุกลําตลอดทั้ง
พื้นที่ การขยายพันธุโดยการแตกหนอใหมมาทดแทนจากเหงาเดิมที่อยูในดิน ซึ่งลําไมจะเจริญเติบโต
เต็มที่ ภายในฤดูกาลเจริญเติบโตเพียงประมาณ 6 เดือน ดังนั้นระยะการตัดที่เหมาะสม คือ ควรตัด
ใหเสร็จสิ้นกอนฤดูฝน ทั้งนี้เพื่อใหหนอใหมมีระยะเวลาการเจริญเติบโตเต็มที่ และเปนการหลีกเลี่ยง
อันตรายในการตัดไมออกดวย โดยการตัดฟนนั้นควรเหลือตอไวประมาณ 1-2 ปลอง หรือประมาณ 1
เมตร จากพื้นดินทั้งนี้เพื่อปองกันรากและแมลงตาง ๆ ที่อาจทําอันตรายแกเหงาได
ไผเปนพืชที่สามารถเจริญเติบโตไดเต็มที่ภายในระยะเวลาอันสั้น จึงทําใหสามารถตัดฟนไมไผ
ไดทุกป แตการตัดฟนไมไผโดยวิธีนี้ไมเอื้ออํานวยตอการผลิตแตอยางใด เนื่องจากทําใหความแข็งแรง
ของเหงาลดลง ซึ่งจะทําใหผลผลิตของหนอและลําใหมลดลง ถามีการตัดเชนนี้ซ้ํา ๆ ทุกป อาจจะทํา
ใหไผนั้นตายไดในที่สุด
2. ระบบเลือกตัด (Coppie Selection System) วิธีนี้เปนการเลือกตัดไมออกบางสวนและ
เหลือไวบางสวน หรือเลือกตัดเฉพาะลําที่ตองการเทานั้นและคาดวาเหมาะอยางยิ่งที่จะนํามาใชกับ
ชนิดพันธุไมไผในประเทศไทยทั้งหมด เพราะวิธีตัดแบบแรกนั้นทําใหตองใชรอบหมุนเวียนในการตัดฟน
ยาวนานมาก อยางนอย ๆ ไมต่ํากวา 10 ป จึงจะทําการตัดไดใหมและขอสําคัญที่สุดก็คือ กอที่ไดทํา
การตัดลําออกหมดแลว เหลือเพียงตอนั้นมักจะตายเสียสวนมากในชวงฤดูแลง
ระบบเลือกตัดนั้น ในการจะเลือกตัดลําได ควรจะพิจารณาจากอายุของลําไมไผเปนหลักโดย
ไผที่ควรตัดออกนั้นควรมีอายุมากกวา 2 ปขึ้นไป เนื่องจากไผที่มีอายุนอยกวานี้ยังมีความจําเปนตอ
การเจริญเติบโตของไผลําใหม เนื่องจากเปนแหลงสะสมอาหารเพื่อใชเลี้ยงไผลําใหมที่เจริญเติบโตขึ้น
อีกทั้งยังชวยประคับประคองไผลําใหมใหตั้งตรงไมคดงอดวย โดยเฉพาะกับไผที่ขึ้นเปนกอ เชน ไผ
รวก ไผปา ไผซางนวล เปนตนนั้น ลําที่มีความสําคัญที่สุดไมควรตัดก็คือลําออน 1-2 ป เพราะลํา
พวกนี้จะทําหนาที่เปนพี่เลี้ยงของลําใหม โดยทําหนาที่คุมกันรักษาและปรุงเก็บอาหารเพื่อที่จะสงไป
เลี้ยงลําใหมตอไป จึงควรที่จะใชรอบตัดฟน 3 ปขึ้นไปจึงจะใหผลดีที่สุด คือตัดลําอายุตั้งแต 3 ป ขึ้น
ไปออกใหหมดคงเหลือไวเฉพาะลําที่มีอายุ 1-2 ป เทานั้น
21

การตัดไม ไผโดยวิธีนี้สามารถใหผลผลิตไดมากกวาวิธีตัดหมดตามวิธีแรกดังกลาวขางตน
นอกจากนี้ยังเปนการบํารุงกอไผใหมีความแข็งแรงมากขึ้นอีกดวย โดยในการตัดฟนนั้นควรตัดใหชิด
พื้นดินมากที่สุด ทั้งนี้เพื่อสามารถนําไมไผไปใชประโยชนไดมากที่สุด และนอกจากนี้การตัดฟนไมไผ
ในบริเวณแถบรอนเชนเมืองไทย สําหรับไมไผที่มีการเจริญเติบโตเต็มที่แลวนั้น ควรตัดไผที่อยูกลางกอ
ออกจะดีก วาตั ดลํ าที่อยูดานนอกของกอ และจะทําใหการขยายพันธตามธรรมชาไดผลดีอีก ดว ย
เนื่องจากลําที่อยูดานในของกอนั้นมีอายุมากไมมีประโยชนต อการขยายพันธุตอไปแตประการใด
เพราะไผแถบนี้มีลักษณะเปนกอลําที่มีอายุนอยนอกกอ ลําอายุมากอยูดานในกอเสมอแมวาจะทําให
การตัดมีอุปสรรคอยูบาง แตอาจแกปญหาไดโดยผูตัดยอมลําบากเพียงครั้งแรกครั้งเดียว เลือกตัดลํา
ที่มีอายุมากภายในกอ ออกกอนเหลือลําอายุ 1-2 ป ไวรอบนอกกอ หากทําเชนนี้จะทําใหการตัดใน
ครั้งตอ ๆ ไปงายขึ้น เพราะภายในกอจะมีพื้นที่วางเพียงพอ หากเปนกอใหญอาจตองตัดลําอายุ 1-2 ป
รอบนอกออกบาง เพื่อเปดทางใหสามารถเขาไปดานในของกอไดงายขึ้น วิธีการตัดเชนนี้เรียกวา “ตัด
รูปเกือกมา"

หลักเกณฑในการตัดไผ
1. ในการตัดทุกครั้งจะตองคํานึงถึงจํานวนลําที่ควรจะเหลือไวในกอแตพอเหมาะ ไมควร
เลือกตัดเฉพาะลําที่มีลักษณะดีเทานั้นและไมควรจะตัดลําจนกระทั่งเปดโลงทั้งกอ เพราะ
จะทําใหลําใหมคดงอไดงายเนื่องจากไมมีลําพี่เลี้ยงคอยประสานค้ําจุนเอาไว
2. ลําคดงอไมสมบูรณซึ่งเหลือตกคางมาจากรอบตัดฟนกอนควรจะไดตัดฟนออกเสียในคราว
เดียวกัน เพื่อเปดโอกาสใหลําใหมไดเจริญอยางยิ่งที่ เวนไวเฉพาะลําออนที่สมบูรณื
เทานั้น
3. การเลือกตัดควรจะไดกระทําใหทั่วทั้งกอ ไมควรจะตัดเฉพาะสวนใดสวนหนึ่งเทานั้น
เพราะอาจจะทําใหผลผลิตที่ไดในรอบตัดฟนตอ ๆ ไปลดลงก็ได
4. ถาเปนไปไดควรตัดลําใหชิดดินที่สุด อยางต่ําควรจะเหลือตอสูงจากพื้นดินประมาณ 30
ถึง 50 เซนติเมตรก็พอเพื่อเปนการใชไมไผอยางคุมคาเทาที่เปนอยูโดยเฉพาะพวกไผลํา
ขนาดใหญ เชน ไผสีสุก ไผปา ฯลฯ ในปาธรรมชาติมักจะถูกตัดฟนเหลือตอมากเกินไป
บางลําเหลือตอสูงมากถึง 3-4 เมตรก็มี สวนไผรวกก็ยังมีการตัดไวเหลือตอสูงถึง 1 เมตร
ทําใหเสียเนื้อไมไปโดยเปลาประโยชน
22

5. ไมควรตัดแบบถอนรากถอนตอ เพราะสวนใหญใชประโยชนจากลําเทานั้น จึงไมควรขุด


เหงาและตอออกมาดวย ซึ่งจะทําใหผลผลิตต่ําลงและสิ้นเปลืองคาใชจายในการปลูกซอม
โดยใชเหตุ
6. ถาเปนระยะที่ไผกําลังออกดอกและเมล็ดก็ไมควรตัดในระยะนั้น เพื่อผลในการขยายพันธุ
ตอไปหลังจากเมล็ดรวงลงดินหมดแลวจึงคอยทําการตัด

การประมาณอายุไมไผ
การประมาณอายุของไมไผนั้น มีความสําคัญทั้งในการปลูกบํารุงไมไผและการนําเอาไมไผมา
ใชประโยชน เนื่องจากไผเกือบทุกชนิดในประเทศไทยนั้นมีลักษณะเปนกอ ลําที่มีอายุมากจะอยูด า นใน
กอ สวนลําที่อยูดานนอกของกอ สวนมากจะมีอายุนอย ซึ่งการตัดฟนสวนใหญมักจะใชความสะดวก
มากกวาคํานึงถึงดานอื่น จึงทําใหการตัดฟนลําที่อยูดานนอกกอไปใชประโยชน ซึ่งมีอายุประมาณ 1-2
ปเทานั้น ทําใหกําลังการผลิตของไมไผลดนอยลงเพราะลําที่มีอายุนอยนั้นเปนแหลงสะสมอาหารแกลาํ
ที่เกิดใหม และประคับประคองลําใหมใหตั้งตรงไมคดงอดวย สวนดานการใชประโยชนนั้นไมวาใชใน
การกอสราง ทําเฟอรนเิ จอรหรือเครื่องจักสานก็ตาม ถาไมไผมีอายุนอยการใชประโยชนจะไดไมเต็มที่
มักจะถูกมอดและแมลงรบกวนอยูเสมอทําใหสินคาที่ผลิตไดไมคงทนถาวร อายุไมไผที่เหมาะสมตอ
การใชงานนั้น จะแตกตางกันไปตามชนิดของไมไผและวัตถุประสงคของการใชงาน ซึ่งมีหลักในการ
พิจารณาดังนี้
1. ในกรณีที่ตองใชไมไผผาซีกไปตามความยาวของลําตนเพื่อใชประโยชนในทางหัตถกรรม
ไมไผที่ใชควรมีลักษณะเหนียวและมีความยึดหยุนไดดี ไมไผที่ใชควรเปนไผสีสุกไผ
ลํามะลอก ไผไรหรือไผซาง เปนตน และควรมีอายุประมาณ 2-3 ป
2. กรณีที่ตองการใชผิวไผ ที่ฟอกขาว ควรใชไผที่มีอายุประมาณ 1.5-2.5 ป
3. ในกรณีที่ตองการใชไป ที่มีเนื้อเหนียวและมีลําโต ควรใชไผที่มีอายุประมาณ 4-6 ป
นอกจากนี้ฤดูการตัดฟนไมไผที่เหมาะสมก็ชวยใหไมไผมีอายุใชงานที่นานขึ้นดวยโดยฤดูกาล
ตัดฟนที่เหมาะสมควรอยูในชวงฤดูหนาวถึงฤดูรอนหรือประมาณเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนเมษายน
เนื่องจากในชวงฤดูฝนถึงตนฤดูหนาวนั้น เปนระยะที่ไผกําลังเจริญเติบโต เนื้อไมจะประกอบดวยแปง
ธาตุไขขาวอยางหยาบ และธาตุอาหารอื่น ๆ เพื่อการเจริญเติบโตของลําตน เปนจํานวนมากซึ่งทําให
23

อาจเกิดอันตรายจากมอดและเชื้อราตาง ๆ ไดงาย แตในชวงฤดูหนาวและฤดูรอนนั้น ไผจะหยุดการ


เจริญเติบโต เนื้อไมมีความแข็งแกรงจึงทําใหเหมาะสมแกการนํามาใชประโยชนตาง ๆ
วิธีการประมาณอายุลําไมไผ สามารถแบงออกได 3 วิธีคือ
1. การนับรอยของโคนใบที่หลุดรวง (By counting the leaves scar) จะสังเกตไดจากปลาย
กิ่งของลํา เนื่องจากไผในเขตรอนนั้น ใบจะหลุดรวงในฤดูรอนประมาณเดือนมีนาคม
เมษายน ซึ่งจะทําใหสวนโคนของกานใบหลุดรวงไปดวยและกานใบใหมจะเริ่มแตกตรง
สวนใกล ๆ กับขอเดิม กลายเปนใบใหมตอไป และจะหลุดรวงในฤดูรอน เปนเชนนี้ทุก ๆ
ป ซึ่งทําใหสามารถทราบอายุของไผลํานั้นได โดยนับจํานวนขอที่ใบหลุดรวงในแตละป
2. ดูลักษณะสีของลํา (By the Colour of Cum) ในไผที่ขึ้นเปนลําเดียว (Monopodial type)
โดยทั่วไป ลําที่มีอายุประมาณ 1-2 ป จะมีผงคลายแปงสีขาว (White waxy powder) ติด
อยูตามปลองของลํา นอกจากนี้ยังสามารถสังเกตสีของกาบที่หุมหอลําอยูก็ได
สวนการสังเกตอายุของไผที่ขึ้นเปนกอ (Sympodial type) ซึ่งไผสวนใหญในประเทศไทยเปนไผ
ประเภทนี้นั้น อาจใชวิธีประมาณอายุตามแบบชาวอินเดีย มีรายละเอียดดังนี้ คือ
ฤดูแรก ลําที่เกิดใหมจะมีสีคอนขางสดใส มีกาบหุมอยูตามขอตลอดและมีผงแปงสีขาวติด
อยูตามปลอง (ไผซางนวล) เมื่อจับดูจะรูสึกลื่นมือปกติจะเริ่มแตกกิ่งเพียง 2-3 กิ่งหรืออาจจะไมแตกกิ่ง
เลยก็ได
ฤดูที่สอง ลําจะมีกาบกิ่งเล็ก (bract) หุมอยู บางลําอาจมีกาบหอยติดอยู หรือบางกาบหลุด
รวงไป ปลองจะมีสีเขียว ขอจะหนาและเริ่มมีผงคลายตกกระเปนจุด ๆ หรือคลายขนแหลมเล็ก ๆ จับดู
จะหลุดติดมือไดงายและเริ่มแผกิ่งกานสาขาออกโดยรอบ
ฤดูที่สาม กาบ (bract) จะหลุดรวงไปเกือบหมด ขณะเดียวกันสีของกายก็จะเริ่มเข็มขึ้น ลําเริ่ม
โคงมากขึ้น และเริ่มตกกระเปนจุด ๆ เมื่อจับสากมือและไมหลุดติดมือออกมางาย ๆ
ฤดูที่สี่ ลําจะมีสีเขียวและมีแปงติดอยูเล็กนอย หรืออาจจะไมมีเลย เริ่มมีขนและลายเปนจุด
ๆ ตามลําเมื่อจับจะหลัดติดมือออกมา

การถนอมรักษาไมไผดวยวิธีธรรมชาติ
สามารถกระทําได 2 วิธีคือ การแชน้ําและการใชความรอน ทั้งนี้เพื่อทําลายสารตาง ๆในเนื้อ
ไมที่อาจเปนอาหารของแมลงตาง ๆ เชน แปงและน้ําตาลใหหมดไป แตวิธีดังกลาวนี้เปนเพียงการ
24

รักษาเนื้อไมเพียงชั่วคราวเทานั้นเพราะสารอาหารตาง ๆ ในเนื้อไมมิไดถูกขจัดออกไปจนหมดสิ้น จึง


อาจถูกทําลายจากแมลงตาง ๆ ไดอีก โดยแตละวิธีสามารถปฏิบัติไดดังนี้
1. การแชน้ํา
เปนการถนอมรักษาไมไผอยางงาย ๆ แตไดผลดีพอสมควรเนื่องจากน้ําจะชะลางแปง น้ําตาล
และสารละลายอื่น ๆ จนแมลงไมสนใจใชเปนอาหารสามารถใชไดทั้งไมไผไผสดและไมไผแหง โดยนํา
ไมไผไปแชน้ําจนมิด ถาเปนน้ําไหลยิ่งดีหรือในน้ําเค็มบริเวณที่ไมมีเพรียงอยูก็ได น้ําที่ไมสะอาดจะทํา
ใหไมไผสกปรกตามไปดวย ระยะเวลาแชน้ําสําหรับไมไผสดนั้นตั้งแตสามวันจนถึงสามเดือน แตถา
เปนไมไผแหงตองเพิ่มเวลาอีกไมนอยกวาสิบหาวันจึงจะไดผลดีที่สุด
2. การใชความรอนหรือการสกัดน้ํามันจากไมไผ
มีลักษณะเชนเดียวกับการนําไมไผไปแชน้ํา เพื่อทําลายสารประกอบในเนื้อไมไผที่อาจเปน
แหลงอาหารของแมลงและเชื้อราตาง ๆ ได ทําใหเนื้อไมแหงและมีความแข็งแรงทนทานขึ้น
น้ํามันของไผจะถูกสกัดออก กอนที่จะนําไปอาบน้ํายาปองกันแมลงฟอกขาวและยอมสีทงั้ นี้
เพื่อใหการอาบน้ํายาไดผลจริง ๆ ยิง่ กวานัน้ จะไดประโยชนจากการสกัดนํามันจากไมไผ คือทําใหไมไผ
แข็งแรงทนทาน ทําใหผิวภายนอกสวยงามและยังเปนการรักษาเนื้อไมไผมิใหเสียหายจากแมลงและทํา
ใหความแหงมากขึ้น หรือเปนการทําใหสารประกอบในเนื้อไมไผทจี่ ะเกิดการเนาไดกลับกลายเปนก
ลางไปเสีย
ไมไผที่ตัดมาแลวกอนนํามาสกัดน้ํามัน ควรตั้งพิงเอาโคนขึ้นขางบนหรือวางกองบนรานใน
ที่นมเพื่อปองกันมิใหเหีย่ วแหงเร็วเกินไปและควรผึ่งไวประมาณหนึ่งเดือนหลังจากที่ไดตัดมาแลว จึง
เอามาอายน้ํายาเพื่อประสงคลบรอยจุดตาง ๆ ที่ปรากฏผิวภายนอกของลํา
การสกัดน้าํ มันออกจากไมไผ สามารถทําได 2 วิธี คือใหความรอนดวยไฟและดวยการตม
หรือเรียกวาวิธแี หงและวิธีเปยก ไมไผที่สกัดน้ํามันออกแลวเรียกกันวา “ไมไผสุก" มีประโยชนที่จะใชใน
การกอสรางและอุตสาหกรรมประเภทศิลปะ และเหมาะสมในการใชงานแตกตางกันไปตามวิธีการ
สกัดน้ํามัน วิธีใหความรอนดวยไฟทําใหเนื้อไมแข็งแรงและแกรง สวนการใหความรอนดวยการตมทํา
ใหเนื้อไมออนนุม ดังนัน้ จะสกัดน้ํามันดวยวิธีใดนัน้ จึงขึ้นอยูกับวัตถุประสงคของการใชงานเปนสําคัญ
ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
1. การสกัดน้าํ มันดวยไฟ วิธนี ี้เอาไมไผเขาปงในเตาไฟ ซึ่งอาจจะใชถา นไมหรือถานหินเปน
เชื้อเพลิงก็ได ระวังอยาใหไหมไฟ และรีบเช็ดน้ํามันที่เยิ้มออกมาจากผิวไผทงั้ หมด เพราะ
25

เมื่อเย็นลงแลวจะเช็ดไมออก สวนอุณหภูมิและระยะเวลาในการใหความรอนนัน้
แตกตางกันไปตามชนิดและความหนาของไมไผ แตโดยทั่วไปแลวใชเวลาประมาณ 20
นาที และมีอณ
ุ หภูมิประมาณ 120-130 องศาเซลเซียส การใหความรอนนัน้ อาจกระทํา
ซ้ําอีกครั้งไดเพื่อความรอนกระจายอยางทั่วถึง เพราะการใหความรอนครั้งเดียวมาก ๆ
อาจทําใหไมแตกได
2. การสกัดน้าํ มันดวยการตม วิธีนี้ตมในน้ําธรรมชาติเทานั้น ใชเวลาประมาณ 1-2 ชั่วโมง
เนื่องจากวิธนี คี้ วามรอนต่าํ กวาการสกัดความรอนดวยไฟ แตถาผลที่ไดไมเปนทีพ่ อใจ ก็
อาจใชสารเคมีเขาชวยดวย โดยใชโซดาไฟหรือโซเดียมคารบอเนตจํานวน 10.3 กรัม หรือ
15 กรัม ตามลําดับละลายในน้าํ 18.05 ลิตร ใชเวลาตมประมาณ 15 นาที หลังจากตน
เสร็จแลวใหรีบเช็ดน้ํามันทีซ่ ึมออกมาจากผิวไมไผกอนที่จะแหง เพราะถาเย็นลงแลวจะ
เช็ดไมออก และนําไมไผที่สกัดน้ํามันออกแลวไปลางน้ําใหสะอาด และทําใหแหงตอไป

การถนอมรักษาไมไผดวยวิธีเคมี
เปนการใชสารเคมีอาบ หรืออัดเขาไปในเอไมไผ เปนวิธที ี่สามารถรักษาเนื้อไมใหมอี ายุการใช
งานทีย่ าวนานกวาวิธีธรรมชาติ ซึง่ สามารถปฏิบัติไดดังนี้คือ
1. การชุม จุม และทา
วิธีเหลานี้เปนการปองกันผิวนอกของไมไผ ซึ่งเปนการปองกันชั่วคราวกอนนําไปทําการปองกัน
อยางจริงจังอีกครั้ง หรือใชไมไผที่ใชในสถานทีท่ ี่ไมมีอนั ตรายจากแมลงมากนัก เชน ทําของใชภายใน
บาน ก็สามารถรักษาเนื้อไมไดนานพอสมควร ตัวยาที่ใชมหี ลายชนิด เชน ดีลครินรอยละ 0.05
หรืออัลครินรอยละ 0.15 ละลายในน้าํ จะสามารถรักษาเนื้อไมไดนานกวา 1 ป ดีดีที่รอยละ 7-10
ละลายในน้าํ มันกาด ก็สามารถใชไดผลดีเชนกัน
ในการจุมนัน้ ปกติจะใชเวลาสั้น ๆ เพียงไมกี่นาที ซึง่ ดีกวาวิธพี น ที่สิ้นเปลื้องนอยกวา ใน
เปอรโตริโกใชไมไผสดและไมไผแหงจุมในน้ํายาดีดีทีความเขมขนรอยละ 5 ผสมในน้าํ มันกาดนาน
ประมาณ 10 นาที จะปองกันเนื้อไมไดนานถึง 1 ป แตถาแชใหนานขึน้ จะสามารถทนทนไดนานถึง 2-2
½ ป สวนในอินเดียมีการใชตัว 3 สูตรเปรียบเทียบกันคือ โซเดียมเพนตาคอลโรพิเนต รอยละ 1
26

ละลายน้ําบอแรกซ กรดบอริก อัตราสวน 1:1 รอยละ 2 ละลายน้ําและแอลิค คิวปริก โครเมต (ACC


รอยละ 5 ละลายน้าํ ปรากฏวาสูตรแรกสามารถกันมอดไดดีที่สุดเรียงตามลําดับถึงสูตรที่สาม
การแชนา้ํ ปกตินานเปนชั่วโมงหรือเปนวันขึ้นไป วิธีนงี้ ายและเสียคาใชจายนอยที่สุดแตมี
ขอเสีย คือ เสียเวลานาน ไมไผสดถาแชน้ํายาจะใชเวลาประมาณ 5 สัปดาหในการดูดซึมน้ํายามีมาก
นอยเพียงใดนัน้ ขึ้นอยูกับชนิดของไม อายุ และความหนาของไม แตถาเปนไมไผที่ผาแลว จะลด
เวลาลงไดครึ่งหนึง่ นอกจากนี้ การอุนน้าํ ยาใหรอนขึ้น การทุบขอหรือการทะลวงปลอง ก็ทําใหลด
เวลาในการแชลงไดเชนกัน และจากการทดลอง ปรากฏวาไมสั้นน้ํายาจะเขาทางปลายไมไดดี สวนไม
ยาวการผาจะไดผลดีกวาไมไมผา
2. การอัดน้ํายา
เปนวิธีการรักษาเนื้อไมที่ดีทสี่ ุด เนื่องจากตัวยาสามารถแทรกซึมเขาไปในเนื้อไมไดดีกวาวิธีอื่น
ซึ่งสามารถปฏิบัติไดหลายวิธคี ือ
1. การอาบโคน (Stepping) เหมาะสําหรับกรณีที่มีไมไผจํานวนไมมากนักแตตองเปนไมไผ
สด ตัดใหม ๆ ยังมีกิ่งกานและใบติดอยู ซึง่ เหมาะสําหรับการอายน้ํายาไมในสถานทีต่ ัด มี
วิธีปฏิบัติโดยนําน้ํายารักษาเนื้อไมใสภาชนะทีท่ ี่มีความลึก 30-60 เซนติเมตร เอาไมไผจะ
ดูดน้ํายาเขามาแทนที่ ระยะเวลาการอาบน้ํายาวิธีนี้จะมากนอยเพียงใดนั้นขึน้ อยูก ับชนิด
ของไมไผ ความยาวดินฟาอากาศ และชนิดของน้าํ ยาที่ใช
2. การสวมปลอกหัวไม (Capping) เปนการอัดน้ํายาไมไผสด ที่ตัดกิ่งกานออกแลวสามารถ
ทําไดงา ยโดยใชยางในจักยาน ยาวพอใสน้ํายาไดขางหนึ่ง สวมเขาที่โคนไมไผใชเชือกรัด
น้ํายาซึมออก สวนยางในดานที่เหลือใชกรอกน้ํายาเขาไป แลวนําไปแขวนใหสว นโคนสูง
กวาดานปลาย วิธีนี้ใชไดผลดีกับไมไผสดมากกวาไมไผแหงเพราะน้ําธรรมชาติในไมไผ
เมื่อซึมออกจะดูดน้ํายาเขาแทนที่
3. วิธีการอาบน้าํ ยารอน-เย็น (Hot and Cold Bath) วิธีสามารถทําได 2 วิธี คือ ใชความดัน
และไมใชความดัน ซึ่งแตละวิธีมีขอดีขอเสียแตกตางกัน คือ การใชความดัน สามารถทํา
ใหรวดเร็วและจํานวนมาก และเสียคาใชจายมาก สวนวิธหี ลังนัน้ เสียคาใชจายต่ํา แตใช
เวลานานกวาวิธีแรก โดยการอาบน้ํายาที่ไมใชแรงดันนัน้ ใสไมไผที่แหงแลวน้าํ ยาที่มี
อุณหภูมิประมาณ 90 องศาเซลเซียส ประมาณ 6 ชั่วโมง ความรอนจะไลอากาศออกมา
แลวปลอยใหเย็นลง อากาศที่หดตัวในเนื้อไมจะดูดน้ํายาเขาไปแทนที่
27

4. วิธีบูเซรี (Boucherie Process) เปนวิธีทงี่ าย ๆ อาศัยแรงดันของน้าํ ตามธรรมชาติ หรือ


แนวโนมถวงน้าํ ยาเขาไปในเนื้อไม โดยตัง้ ถังน้าํ ยาสูงประมาณ 10 เมตร แลวตอทอสวมที่
โคนไมสดดวยทอรัดรอบโคนไมแรงดันของน้ํายาสูง 10 เมตร จะดันน้ํายาจากโคนไม
แรงดันของน้าํ ยาสูง 10 เมตร จะดันน้าํ ยาจากโคนถึงปลายไมในเวลาไมนานนักวิธีนี้อาจ
ดัดแปลงมาใชถังน้าํ ยาที่อัดลมก็ได
5. วิธีใชแรงอัด (Pressure Treatment) เหมาะสําหรับไมไผแหง จะผาหรือไมผาก็ได
ความชืน้ ความต่ํากวารอยละ 20 จะทําใหไดผลดีที่สุด ไมไผที่ไมไดผา เมื่อนํามาอัดน้ํายา
อาจจะแตกหรือระเบิดออกได ซึ่งอาจแกไขโดยเจาะรูระหวางปลองกอน ซึง่ นอกจากจะไม
แตกแลว ยังทําใหอัดน้ํายาไดทั่วถึงดวย วิธีนี้ตองขนไมไผไปยังโรงงานและแรงดันนัน้ ก็ไม
ควรสูงเกินไป เพื่อปองกันไมไผแตก ซึ่งจากการทดลองของผจญ สินทธิกัน (2527) อัด
น้ํายาไมไผบง ความยาว 1.70 เมตร ใชแรงดัน 1.4-1.8 กิโลกรัม/ตารางเซนติเมตร ใน 2-5
นาที ก็สามารถปองกันการแตกได

การทําใหไมไผแหง
ในกรณีที่จะเก็บไมไผหรือผลิตภัณฑไมไผในปริมาณมากมายรวมกันไวในที่แหงเดียวกัน จะทํา
ใหไมไผและผลผลิตภัณฑทง้ั หมดเกิดความเสียหายไดโดยเฉพาะไมไผที่ดอยคุณภาพไมตรงตาม
ฤดูกาลดวยแลว ก็จะเกิดความเสียหายไดโดยไมคาดฝน ไมไผที่เก็บไวในที่แหง ๆ ดีตามลักษณะปกติ
จะมีขอเสียหายนอยที่สุด และผลิตภัณฑไมไผที่ตากแหงสนิทดีภายหลังที่ตมในน้าํ รอน 10 นาที จะทน
ไปไดนานหลายเทาของไมไผธรรมดาที่เก็บโดยไมตม การทําใหไมไผแหงมี 2 วิธีดังนี้
การตากธรรมชาติ ใหเอาลําทิง้ ไวในที่รม อากาศปลอดโปรงถายเทไดดี เอาโคนกลับขึ้นไวทาง
ดานบน ผึง่ ไวประมาณ 3 ถึง 4 เดือน สําหรับไผซีกใหเอามาวางเรียงบนกระดารใหมี
ชองวางโปรงและผึ่งไวประมาณ 10 ถึง 20 วัน
การทําใหแหงดวยเครื่อง การตากไผหรือใหแหงตามธรรมชาตินนั้ ไดนิยมใชกันมาอยาง
กวางขวางแลว แตวิธนี ไี้ มสามารถควบคุมอัตราของน้าํ ทีม่ ีอยูในเนื้อไมไผใหแนนอนได
และไมไผเปนจํานวนมากแลวจําเปนตองทําใหแหงดวยเครื่อง ซึ่งทํางานไดดกี วาวิธี
28

ธรรมชาติ บางทีแมจะผลิตไดจํานวนนอย ก็จาํ เปนตองทําใหแหงดวยเครื่อง เนือ่ งจาก


เปนกรรมวิธีบงั คับเพื่อไดประโยชนและคุณภาพไมไผเปนพิเศษ
อยาไรก็ดี การทําใหแหงดวยเครื่องนัน้ จําเปนตองใชเมื่อตองการความสะดวกรวดเร็วซึ่งตอง
เปลืองคาใชจา ยมากดังนั้นวิธีนี้จงึ ไมนํามาใชเสมอไป เวนแตเมื่อเห็นวาคุมคาทางเศรษฐกิจ เมื้อ
ตองการใหแหงทันใจในเวลาอันสัน้ หรือตองการใหผลิตภัณฑนั้นแหงสนิทดีจริง ๆ วิธีการทําใหแหงนัน้
อาจทําการอบไมไผใหแหงโดยนําเขาหองอบ ใหความรอนตออากาศดวยสตรมเครื่องไฟฟาจากเปลวไฟ
หรือดวยการเปาลมรอนเขาไปในหองอบ อีกวิธหี นึง่ คือทําใหแหงดวยเครื่องความรอนสูงและทําใหมี
ความกดดันหรือทําใหแหงดวยวิธีสุญญากาศ

ภาพที่ 2.7 แสดงการตกไมไผทอนดวยวิธีธรรมชาติ


29

การปองกันเชื้อรา
การปองกันเชื้อราที่เกี่ยวของกับการสกัดน้ํามันจากไมไผ การฟอกขาว การตากแห
การยอมสี ผลของการแชน้ํายาเหลานี้ทําใหเกิดผลดีในการรักษาเนื้อไมไผใหพนจากเชื้อราได ดังนั้น
วิธีปองกันแมลงและวิธีปองกันเชื้อราโดยอาศัยก็ทําไดโดยวิธีเดียวกันซึ่งพอจะกลาวไดโดยยอดังนี้
วิธีเคลือบหรือฉาบเคลือบ ไผสวนมากมักเปนตัวดูดความชื้นในอากาศไดอยางสูง ผิวนอกซึ่ง
มีเยือหนาแนนและแข็งแกรง ไมคอยจะเปนอันตรายจากแมลงและเชื้อราดินนัก แตผิว
เยื้อภายในซึ่งหยาบและออนนุมมักจะเสียหายกอนสวนอื่นเสมอ ดังนั้นควรตองฉาบยาให
ทั่วผิวดานในและตามสวนที่เปนเนื้อไมของตนไผ ทั้งการเคลือบยาเพื่อปองกันความชื้นก็
ตองทําในเวลาเดียวกัน เพื่อปองกันเชื้อรา ไมใหเกิดขึ้นได กอนทําการเคลือบตองเอา
น้ํามันของไมไผออกเสียกอน สวนผิวภายนอกก็อาจถูกทําลายจากแมลงดวยเหมือนกัน
แตไมคอยมาก ถ าไม จํา เป นเราไม ตองเคลือบยา เวนแตก รณี จําเป นการเคลื อบเพื่อ
ป อ งกั น ความชื้ น นั้ น ใช ช นิ ด เดี ย วกั น กั บ ยาฆ า แมลงและน้ํ า ยาเคลื อ บผิ ว อื่ น ๆ เช น
น้ํามันยาง แซลแลคเหลือง แชลแลคขาว แลคเกอร และ ฯลฯ เหลานี้ เปนน้ํายาเคลือบ
ผิวสําเร็จรูปที่จะใหผลในทางปองกันความชื่น สวนมากเราใชผลิตภัณฑเนื้อไผเทานั้น ไม
คอยนิยมใชกับตนไผ
วิธีตากแหง เชื้อรานี้โดยปกติ มักจะแพรออกไปในขณะที่อากาศมีอุณหภูมิ 28-29๐C และมี
ความชื้นสัมพัทธสูงกวา 80% คือมีความชื้นสัมพัทธขึ้นไปถึง 100% แลวอีกสมวันเชื้อราก็
จะแพรออกไป แตถาความชื้นสัมพัทธต่ํากวา 80% เชื้อราก็จะไมคอยแพรหลายออกไป
ดังนั้นจึงจําเปนตองรักษาคลังสินคาไมไผใหมีอากาศแหงไวเสมอ โดยใชเครื่องเคมีที่ดูด
ความชื่น เชน ปูน ดิน (Raw Lime) ฯลฯ โดยเอาใสถุงขนาดพอเหมาะวางไวในตูหรือ
คลังสินคาที่เก็บสินคานั้น ๆ

กรรมวิธีตาง ๆ ที่ทําใหผลิตภัณฑไมไผทนทานและสวยงาม
ดวยผลิตภัณฑจากไมไผของไทยเราปจจุบันนี้ คุณภาพและความสวยงามยังไมทัดเทียมเทา
ของตางประเทศ ดังนั้นจึงควรใชวิธีการใหม ๆ เขาชวยเพื่อใหผลิตภัณฑเหลานี้มีคุณภาพที่ดีกวาที่
เปนอยูในปจจุบันซึ่งอาจทําเปนอุตสาหกรรมสงออกจําหนายยังตางประเทศไดแนนอน
30

การนําไผเขาเก็บสะสม ไมไผที่ตัดในฤดูที่เหมาะสมอาจเก็บใหเขียวสดอยูไดประมาณ 1 ป ถา


เก็บไวอยางดีและอาจนําออกมาใชไดอยางดีเหมือนตัดมาใหม ๆ การเก็บตองระมัดระวังมาก ความ
เสียหายจากแมลงมีพิษและเชื้อราดินเปนปญหามากในการเก็บสะสมไมไผ ดังนั้นจําเปนตองทําแคร
ยกพื้นขึ้นประมาณ 1 ฟุต และใหอยูในรมดวย ใหวางลําไผบนแครนั้นเพื่อปองกันความชื้นจากพื้นดิน
ปองกันลม ทั้งใหมีอากาศถายเทและปลอดโปรงดวย ในกรณีที่เก็บเปนการชั่วคราวไวยังที่ตัดนั้น ตอง
เก็บใหพนจากที่ที่ทําใหมันแหงเกินขนาดไปเพราะแสดงแดดและความชื้น ควรเก็บไตรมไมหรือทําเปน
เพิงใหมีรมเงาบังไว หรือถาเก็บในโกดังโรงงาน ก็ตองปองกันมิใหเกิดความชื้นและไมไใหเบียดกันแนน
จากการทับกันอยางหนาทึบอากาศในโรงเก็บตองถายเทไดดี
การเก็บไมไผที่ทําเปนสินคากึ่งสําเร็จรูปแลว ควรสรางพื้นบนดินภายในหองคลังสินคา และ
เวนระยะใหวางหางจากฝาไวเพื่อใชเปนที่ ๆ จะเอาไมไผตั้งพิงฝาไว และในกรณีวางซอนกันแบบวาง
ราบก็ใหมีแครรองวางใหสูงกวาพื้นดิน 1 ฟุต และควรเปลี่ยนที่กองสักครั้งหรือสองครั้งในฤดูหนาวกับ
ฤดูรอน การตั้งไมไผพิงฝาไดผลดีกวา แตควรเอาปลายลง การถายเทอากาศเลวก็เปนผลทําให
คุณภาพไมไผเสื่อมลง

ภาพที่ 2.8 แสดงใชน้ํามันเครื่องทาฝาไมไผให


สวยงามและทนทานแตมีกลิ่นน้ํามันตกคางอยูนาน

ภาพที่ 2.9 แสดงใชแลกเกอรทาฝาไมไผใหสวยงาม


และทนทาน
31

2.3 งานวิจัยทางวิศวกรรมที่ใชไมไผเปนองคประกอบอาคาร
1. ความแข็งแรงของไมไผ
Glenn (2493) ไดทําการทดลองนําไมไผมาเสริมคอนกรีต โดยศึกษาถึงคุณสมบัติของไมไผ
ดังนี้ ไมไผมีคุณสมบัติขึ้นอยูกับชนิดของไมไผ มีหนวยแรงดึงประลัยบริเวณขอเฉลี่ย 2285 กก./ตรซม.
มีหนวยแรงดึงประลัยบริเวณปลอง 2636 กก./ตรซม. คาโมดูลัสความยืดหยุนเมื่อรับแรงดงอยูระหวาง
1.41x 105 ถึง 3.16x 105 กก./ตรซม.
Cox & Geymayer (2512) ไดทําการทดลองคานและพื้นคอนกรีตเสริมไมไผโดยศึกษาถึง
คุณสมบัติของไมไผดังนี้ ไมไผมีหนวยแรงดึงประลัยอยูระหวาง 485 ถึง 1760 กก./ตรซม. คาโมดูลัส
ความยืดหยุนของไมไผอยูระหวาง 0.88x 105 ถึง 2.82x 105 กก./ตรซม. ความสัมพันธระหวางหนวย
แรงดึงและความเครียดเปนเสนตรงและแสดงคุณสมบัติเปนวัสดุเปราะ ( Brittle type of Failure)
Amad jan Durranai (2518) ไดศึกษาคุณสมบัติของไมไผไวดังนี้ ไมไผมีหนวยแรงดึงประลัย
บริเวณขอเฉลี่ย 1335 กก./ตรซม. มีหนวยแรงดึงประลัยบริเวณปลอง 1687 กก./ตรซม. คาโมดูลัส
ความยืดหยุนเมื่อรับแรงดงอยูระหวาง 1.47x 105 กก./ตรซม. เมื่อแชไมไผในน้ํานานจะทําใหแรงยึด
เหนี่ยวลดลง เมื่อแชน้ํา 24 ชั่วโมง ไมไผจะดูดซึมน้ําได รอยละ 50 ของน้ําหนักไมไผ การพองตัวของ
ไมไผจะเปนรอยละ 80 ของการพองตัวทั้งหมด การขยายตัวตามรัศมีเกิดขึ้นรอยละ 8.25 การขยาย
ตัวตามเสน สัมผัสเกิดขึ้นรอยละ 6.25 การขยายตัวตามแนวยาว
เกิดขึ้นรอยละ 0.05
สุทัศน จันทรแสงเพชร (2519) ไดศึกษาถึงความเหมาะสมในการนําไมผมาทําเปนยุงขาว
พรอมทั้งหาคุณสมบัติของไมไผไวดังนี้ ไมไผที่ใชทําการทดลองใชไมไผรวก มีหนวยแรงดึงประลัยเฉลี่ย
1973 กก./ตรซม. คาโมดูลัสความยืดหยุนเมื่อรับแรงดงอยูระหวาง 2.64x 105

สูตรคํานวณ
แรงดึงประลัย = 2.546PLD0 P = น้ําหนักจํากัด (N)
(D0 4 - Di 4 ) Q = น้ําหนักบรรทุกสูงสุด (N)
L = ชวงพาด (mm)
D0 = เสนผาศูนยกลางดานนอก(mm)
คาโมดูลัสความยืดหยุน = 0.42PL3 Di =เสนผาศูนยกลางดานนอก(mm)
(D0 4 - Di 4 )d d =ระยะแอนที่ยอมได(mm)
32

2.การใชไมไผในโครงสรางคอนกรีต

ก. ประจิต(2516) ไดทดสอบไมไผขนาดเสนผาศูนยกลางประมาณ 8 ซม. ที่โคนและที่ปลาย


ประมาณ 4ซม. ยาวประมาณ 6ม.ตอกเปนเข็มเดี่ยวและเข็มกลุมในดินเหนียวออนกรุงเทพ ปรากฏผล
ว า ประสิ ท ธิ ภ าพของเข็ ม กลุ ม ประมาณ 75 เปอร เ ซ็ น ต เมื่ อ ระยะห า งระหว า งเข็ ม 3 เท า ของ
เสนผาศูนยกลางที่โคนเข็ม โดยถือวาเข็มกลุมเริ่มพิบัติเมื่อทรุดตัวเกิน 2.5 มม. และไดแนะนําขนาดไม
ไผที่เหมาะสมที่จะใชเปนเสาเข็มฐานราก ควรมีขนาดยาวตั้งแต 4.00 ม.ขึ้นไป เสนผาศูนยกลางที่โคน
ไมควรจะนอยกวา 5 ซม. ไผที่นํามาใชไดคือ ไผปา ไผสีสุก ไผบงหนาม ไผซางดํา ไผหอม ไผบง ไผ
เหลือง ไผบงใหญ ไผนวลนอย ไผตง โดยสรุปผลไวดังนี้
1. น้ําหนักที่เข็มควรจะไดรับโดยปลอดภัย ใหมีสัมประสิทธิ์ความปลอดภัย เทา 1.5 ในกรณีนี้
ไมไผที่นํามาทดลองสามารถรับน้ําหนักโดยปลอดภัยที่ 1.9 ตัน
2. ระยะระหวางเข็มแตละตนควรเปนสามเทาของเสนผาศูนยกลางโคนเข็ม
3. เข็มไมไผนี้จะตองตอกลงไปใหอยูในระดับน้ําใตดิน โดยทําการเจาะรูใหน้ําเขชาไปอยูใน
ปลองเพื่อใหเนื้อไมไผทุกสวนจะถูกหุมดวยน้ําใตดิน

ข.อัครวิทย(2519) ไดทดสอบเข็มไมรวกที่มีขนาดเสนผาศูนยกลางที่โคน 3.20 ถึง3.45ซม.


และที่ปลาย 2.60 ถึง 2.70 ซม. ยาวประมาณ 3.00ม. ตอกลงในดินบริเวณจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
โดยตอกเป น เข็ ม เดี่ ย วและเข็ ม กลุ ม พบว า ค า สั ม ประสิ ท ธิ ก ารเกาะตั ว ระหว า งดิ น กั บ ไม ไ ผ มี
คาประมาณ 0.89และ 0.59 เมื่อเปรียบเทียบกับแรงเฉือนแบบน้ําระบายออกไมทัน ประสิทิภาพของ
เข็มกลุมมีคาระหวาง 68-98 เปอรเซ็นต ขึ้นอยูกับระยะหางระหวางเข็มกลุม โดยพบวา
1. เข็มจะพิบัติเมื่อระหวางเข็มในกลุมต่ํากวา 2.5 เทา
2. น้ําหนักบรรทุกพิบัติของเข็มเดี่ยวมีคาเทากับ 464 กก.
3. การที่สัมประสิทธิ์การเกาะตัวที่ประจิตทดลองมีคาคอนขางสูงเนื่องจากใชไมไผขนาดใหญ
สันที่นูนออกจากขอจะนูนมากกวาไมรวก ซึ่งสันที่ยื่นมาจะเปนตัวเฉือนดินรอบๆเข็มใหขาด
ออกเมื่อมีน้ําหนักกด
33

ค. เทวินทร ผาติอุตมภาพ (2521) ศึกษาเรื่อง การนําคอนกรีตเสริมไมไผมาใชในบานราคา


ราถูก โดยทําการทดลองหาแรงดึง แรงอัด ของไมไผ และแรงยึดเหนี่ยวระหวางไมไผกับคอนกรีต และ
ไดทําการออกแบบบานราคาถูกที่ใชโครงสรางเสา-คานคอนกรีตเสริมไมไผ ผนังสําเร็จรูปเสริมไมไผ
และเสาเข็มไมไผ โดยสรางแบบบานตัวอยางขึ้นพบวา
1. ไมไผสามารถที่จะใชเปนเข็มฐานรากแทนเข็มไมเบญจพรรณไดอยางดี ราคาถูกกวากันมาก
นอกจากนี้ไมไผยังสามารถปลูกขยายพรรณไดงายและรวดเร็วกวาไมชนนิดอื่น
2. การใชไมไผแทนเหล็กเสริมในองคอาคารที่ไมรับน้ําหนักมาก และชวงระยะที่รองรับไมยาม
มากเกินไป ก็ใหไดผลดีเพียงพอ ทั้งราคาไมเมื่อเทียบกับเหล็กก็ราคาถูกกวากันมาก นอก
จากนี้ยังเปนการใชทรัพยากรที่มีอยูในประเทศและหาไดงายและเปนการทดแทนการนําเขา
ไผรวกเปนไมไผที่มีมากในประเทศไทย จากการทดลองไดคาแรงดึงประลัยของไมไผเทากับ
1,704 กก./ตรซม. คาเฉลี่ยโมดูลัสยืดหยุนเมื่อรบแรงดึงเทากับ2.29 x105กก./ตรซม.
คาแรงอัดประลัยของไมไผเทากับ260 กก./ตรซม. คาเฉลี่ยโมดูลัสยืดหยุนเมื่อรับแรงอัด
เทากับ 1.74x105กก./ตรซม และหาคาเฉลี่ยหนวยแรงยึดเหนี่ยวระหวางคอนกรีตกับไมไผ
เทากับ6.31 กก./ตรซม.
บานราคาถูกสําหรับผูมีรายไดนอยที่จัดขึ้นเปนบานตัวอยาง ใชวิธีการกอสรางแบบธรรมดา
งายๆไมจําเปนตองใชชางที่มีความชํานาญงาน คาแรคงแพงหรือเครื่องมือชนิดพิเศษอื่นๆ
เปนบานชั้นเดียว ประกอบดวยหองรับทานอาหาร-พักผอนหองนอน หองครัว หองน้ําหอง
สวมมีขนาดกวาง8.84 ม. ยาว 7.40 ม. เนื้อที่ใชสอย 60 ตรม. ขนาดเนื้อที่ของแตละหอง
มากกวาขอกําหนดต่ําสุดของมาตราฐานที่อยูอาศัยแหงประเทศไทย
นอกจากนั้นยังมีขอเสนอแนะที่สามารถนํามาใชไดดังนี้
1. ไมไผที่จะใชทําเข็มฐานราก ตองคัดเลือกไมไผลําที่ตรงและมีความหนามาก จะทําใหตอก
งายขึ้น สวนรูไมไผแตละปลองเพื่อใหน้ําเขา ควรเจาะตรงบริเวณใกลๆขอไมไผและไมควร
เจาะมากกวา 4 รู ในแตละปลอง เพราะจะทําใหไมไผโกงหักไดงายในขณะตอก
2. เข็มไมไผปลายขางเล็กเสี้ยมไหแหลม กอนตอกไมไผถามีการเจาะรูนํากอนโดยใชเหล็กกลม
ขนาดเสนผานศูนยกลาง 25 มม. ยาว 2 ม. ตอกนํากอนลึก 1 ม.แลวถอนขึ้น จากนั้นจึงตอ
กมไผตามลงไปในรูเดิม จะทําใหเข็มไมไผไมสายมากและไมโกงหักในขณะตอก
34

ปลอกเสาเดิมเปนปลอกไมไผ แตเนื่องจากหนาตัดเสามีขนาดเล็ก การงอปลอกเปนสี่เหลี่ยม


หรื อ วงกลมทํ า ได ย ากมาก จึ ง เปลี่ ย นมาใช เ ป น ปลอกหวายแทน โดยใช ห วายขนาด
เสนผาศูนยกลาง 9 มม. ผาซีก ซึ่งทําเปนปลอกวงกลมไดงาย

ง. COX(1969) ไดสรุปรายละเอียดคอนกรีตเสริมไมไผดังนี้
1. การขยายและหดตัวของไมไผมีผลตอแรงยึดเหนี่ยว ปญหาสําคัญในการใชไมไผเสริมใน
คอนกรีต ไมไดอยูที่กําลังและการเปลี่ยนรูปของมันเมื่อรับแรงดึง แตอยูที่การเปลี่ยนแปลง
ปริมาตรและแรงยึดเหนี่ยว ไมไผสามารถเปลี่ยนแปลงทางรัศมีไดถึง 5 เปอรเซ็นต และ
ทางความยาวเปลี่ยนแปลงได 0.05 เปอรเซ็นต เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความชื้นความชื้น
การที่เสนผาศูนยกลางเปลี่ยนแปลงไดถึงขนาดนี้จะสงผลใหเกิดรอยแตกราวในคอนกรีตที่
หอหุม และจะทําใหเกิดการสูญเสียแรงยึดเหนี่ยวระหวางคอนกรีตกับไมไผ จากการหดตัว
ของไมไผ นอกจากนี้สัมประสิทธิ์การขยายตัวเนื่องจากอุณหภูมิ (Coefficient of Thermal
Expansion) ของไมไผทางยาวก็ต่ําประมาณ1/3 เทาของคอนกรีต และทางรัศมี 10 เทา
ของคอนกรีต ความแตกตางนี้จะสงผลใหเกิดการแตกราวและทําใหสูญเสียแรงยึดเหนี่ยว
2. ขอแนะนําในการแกปญหาเรื่องการสูญเสียแรงยึดเหนี่ยวจาการหดตัวของไมไผดังนี้
- เคลือบผิวไมไผตากแหง (Seasoned Culms) ดวยสารกันความชื้นบางอยาง เชนน้ํามัน
วานิช, ยางแอสฟลท, สี เปนตน เพื่อลดอัตราการเปลี่ยนแปลงความชื้นในไมไผใหนอยลง
แตขอควรระวังในวิธีนี้คือ สารที่ใชเคลือบตองไมมีผลในการหลอลื่น
- เคลือบผิวไมไผตากแหง ดวยอีพอกซี่ หรือ โพลีเอสเทอร ที่เกาะผิวไมไผไดแนน แลวใช
ทรายพ นไปที่ ยางเคลือบ ทํ าใหเ กิดผิว ขรุ ขระ เพื่อเพิ่ม แรงยึ ดเหนี่ย วระหวางไมไผกับ
คอนกรีต
- แชไมไผตากแหงใหอิ่มตัวในของเหลวที่ไมระเหยหรือมีผลทําใหแรงยึดเหนี่ยวสูญเสีย
- การใชไมไผผา ซีก ดีกว าใช ไม ไผทั้งลํา เพราะไมไผผาซี กมี พื้นที่ผิว สัมผัสกั บคอนกรีต
มากกวา และชวยการผุกรอนของไมไผไดดีกวา
- ถาไมไผไมสูญเสียความชื้นจํานวนมาก ก็จะไมมีปญหาเกี่ยวกับการหดตัวของไมไผ และ
ถาความชื้นสัมพัทธ มากวา 80 เปอรเซ็นต ปญหาการหดตัวของไมไผก็จะไมเกิดขึ้น
35

3. การคงรูปแรงยึดเหนียวและการผุของไมไผ เพื่อที่จะใหแรงยึดเหนี่ยวระหวางไมไผและ
คอนกรีตดีขึ้น จึงควรใชไมไผผาซีก และการใชไมไผผาซีกนั้นควรวางจะหันผิวดานในขึ้น
ข า งบนหรื อ หั น เข า ด า นใน เพื่ อ ไม ใ ห อ ากาศขั ง อยู ข ณะเทคอนกรี ต และในขณะที่ เ ท
คอนกรีตควรยึดไมไผเสริมใหอยูกับที่ มิฉะนั้นไมไผจะลอยขึ้นขางบนโดยเฉพาะอยางยิ่ง
เวลาใช เ ครื่อ งจี้ ค อนกรีต คอนกรีต การวางไม ไผ เ สริม ต อ งวางสลั บ โคนกับ ปลายไม ไ ผ
เพื่อใหพื้นที่หนาตัดเฉลี่ยเทากันตลอดความยาวคาน ขนาดใหญที่สุดของหินที่จะใชเปน
สวนผสมคอนกรีตไมควรโตเกิน 3/8” เพื่อไมใหมีปญหาในขณะเทคอนกรีต และทําให
คอนกรีตแนน ถาอัตราสวนการใชไมไผเสริมมีคาสูง นอกจากนี้การใชสารปองกันความชื้น
เคลือบผิวไม ก็มีความจําเปนถาสามรถหาไดเพื่อปองกันและลดการดูดซมน้ําจากคอนกรีต
สดของไมไผ อยางไรก็ตามตองไมใหสารเคลือบผิวไมมีผลทางหลอลื่น วิธีที่แกปญหาการ
ขยายตัวของเนื้อไมไผคือ แชไมไผในน้ํา 2-3วัน การที่จะฝงในคอนกรีต
4. กําลังรับแรงดัดและการโกงตัว สําหรับคานหนาตัดรูปสี่เหลี่ยมผืนผาอัตราสวนไมไผเสริม
สูงสุด (พื้นที่หนาตัดของไมไผตอพื้นที่หนาตัดทั้งหมดของคาน) อยูระหวาง 3-4 เปอรเซ็นต
ตัวอยางคานหนาตัดสี่เหลี่ยมผืนผาเสริมดวยไมไผซีก ใชไมไผเสริม 3.5 % ที่แชน้ําไวกอน
จะมีกําลังรับแรงดัดสูงกวาคานคอนกรีตลวนที่มีขนาดหนาตัดเทากันประมาณ 3 เทา(๔อวา
กําลังรับแรงดงของคอนกรีตประมาณ1/10เทาของกําลังรับแรงอัด) และถามีการใชวิธี
ขางตนเพิ่มแรงยึดเหนียวระหวางคอนกรีตกับไมไผ กําลังแรงดัดก็จะมากเกินกวา 4 เทา
ของคอนกรีตลวน
5. หลักในการออกแบบและกอสราง
- ในคานที่รับแรงดัดควรใชไมไผซีกในแนวยืนเพื่อรับแรงดึงทแยงตลอดชวงคานที่รับแรง
เฉือนมาก หากไมสามรถงอคอมาไมไผเสริมตามยาวได ในทางปฏิบัติถาสามารถทําได
การงอคอมาไมไผเสริมตามยาวในคานตอเนื่องที่จุดซึ่งรับแรงเฉือนสูงเพื่อใหรับแรงดึงทแยง
จะไดผลดี อยางไรก็ตามสามารถใชทั้งสองวิธีขางตนก็จะไดผลดียิ่งขั้น
- ระยะห า งระหว า งไม ไ ผ เ สริ ม มี ค วามสํ า คั ญ มาก จากการทดลองชี้ ใ ห เ ห็ น ว า เมื่ อ ให
ระยะหางระหวางไมไผเสริมตามยาวใกลชิดกันมาก กําลังรับแรงดัดของคานจะลดลง
นอกจากนี้ไมไผเสริมตามความยาวที่วางเรียงเปนแถวและแถวบนสุดของไมไผที่เสริมใน
36

สวนลางของคานอยูใกลแกนสะเทินของคานมาก พื้นที่ของคอนกรีตที่หนาตัดนี้รับแรง
เฉือนแนวนอนก็ลดลงดวย จะทําใหเกิดการพิบัติของคานเนื่องจากแรงเฉือนแนวนอน
- ในการวางไมไผเสริม ควรวางไมไผเสริมใหโคนและปลายของไมไผสลับกันในแตละแถว
เพื่อที่จะใหหนาตัดของไมไผสม่ําเสมอตลอดความยาวคาน
- วิธีการคํานวณออกแบบคานคอนกรีตเสริมไมไผ ก็ใชวิธีการคํานวณออกแบบโครงสราง
คอนกรีตเสริมเหล็ก เพียงแตหนวยแรงตางๆที่ยอมให เชนหนวยแรงยึดเหนี่ยวระหวาง
คอนกรี ต และไม ไผห น ว ยแรงดึง ในไมไ ผแ ละโมดูรัส ความยืดหยุ น ของไม ไผต อ งทํ า การ
ทดลองหาคาออกมา
จ.Glenn(1950) สรุปการทดลองคอนกรีตเสริมไมไผไวดังนี้
1. ความสามารถในการรับน้ําหนักของคอนกรีตเสริมไมไผจะเปลี่ยนแปลงตามขนาดหนาตัด
ของคาน และหนวยแรงในไมไผเสริมตามยาวในคานคอนกรีตจะลดลงเมื่อเพิ่มเปอรเซ็นต
ของคอนกรีตเสริมไมไผ
2. คอนกรีตเสริมไมไผตากแหง(Unseasoned Bamboo) จะรับน้ําหนักไดสูงกวาคานคอนกรีต
ขนาดหนาตัดเดียวกันเสริมดวยไมไผตากแหงไมเคลือบผิวเล็กนอย (Seasoned untreated
Bamboo) ตราบเทาที่ไมไผสดไมแหงและหดตัวขณะที่ฝงในคอนกรีตเมื่อมีน้ําหนักกระทํา
3. คานคอนกรีตเสริมไมไผตากแหง (Seasoned Bamboo) ซึ่งเคลือบผิวดวยแอสฟลท อีมัล
ชั้น (Brush Coat of Asphalt Emulsion) จะสามารถรับน้ําหนักไดสูงกวาคานคอนกรีต
เสริมไมไผตากแหงไมเคลือบผิวที่มีขนาดหนาตัดเดียวกัน(Seasoned untreated
Bamboo) หรือไมไผไมตากแหง(Unseasoned Bamboo)
4. เมื่อใชไมไผตากแหง(Seasoned Bamboo) ที่เคลือบผิวดวยแอสฟลท อีมัลชั้น (Brush
Coat of Asphalt Emulsion) เปนไมไผเสริมตามแนวยาวในคานคอนกรีต คอนกรีตยังมี
แนวโนมที่จะแตกเนื่องจากการขยายตัว โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อเปอรเซ็นตของไมไผเสริมมี
คาสูง
5. ตองระมัดระวังเมื่อใชแอสฟลท อีมัลชั้น (Water proofing Agent) ทาไมไผตากแหง
(Seasoned Bamboo) เนื่องจากสวนเกินของอีมั่นชั่นจะเปนตัวหลอลื่น ทําใหแรงยึด
เหนี่ยวระหวางคอนกรีตกับไมไผลดนอยลง
37

6. คานคอนกรีตเสริมไมไผไมตากแหง(Unseasoned Bamboo) ที่ผาซีกจะรับน้ําหนักไดสูง


กวาเมื่อใชไมไผไมตากแหงทั้งลําที่มีพื้นที่หนาตัดเทากัน
7. พิบัติประลัยของคานคอนกรีตเสริมไมไผปกรติจะเกิดจากแรงดึงทแยงถึงแมวาจะมีไมไผ
เสริมรับแรงดึงทแยงก็ตาม

3. การใชไมไผเปนทอสงน้ํา
ก.มนตรี ค้ําชู ไดศึกษาเกี่ยวกับ การใชลําไมไผเปนทอสําหรับ การชลประทานแบบหยดน้ํา
การทดลองโดยใชไมไผทั้งลําเจาะขอดวยเครื่องเจาะ ซึ่งสามารถเจาะขอปลองไดเรียบและไมขูดถูกผิว
ภายในของผนังทอทําใหลดการสูญเสียหัวความดัน เนื่องจากความฝดที่ขอและผิวลดลงไดมาก และ
พบวาเมื่อน้ําไหลจากดานปลายทอไปยังโคนทอ จะสูญเสียความดันนอยกวา เมื่อไหลจากโคนทอไป
ยังปลายทอและนอย สําหรับความสามารถในการทนตอแรงทันของน้ําภายในทอไมไผชนิดตางๆ เชน
ไผเลี้ยง ไผสีสุก ไผบง จะมีคามากกวา 30 ปอนด/ตร.นิ้ว ซึ่งมีคาสูงพอสําหรับใชเปนทอสงน้ําทั่วไป
และไดทดลองหาอายุการใชงานของทอไมไผซึ่งสรุปไดวา อายุการใชงานของทอไมไผจะขึ้นอยูกับ
สภาพการใชงาน กลาวคือ เมื่อมีน้ําขังอยูในทอไมไผบางไมมีบางและใชงานกลางแจงทอไมไผจะคง
สภาพการใชงานประมาณ 3 เดือน จึงเกิดการแตกราวมีน้ําซึมออกมา แตถามีน้ําขังอยูตลอดเวลาและ
อยูในที่รม จะมีอายุการใชงานไมต่ํากวา 1 ป ดังนั้นในการนําทอไมไผไปใชงานควรใหมีน้ําขังอยู
ตลอดเวลา และถาเปนไปไดควรหาวัสดุปดบังไมใหทอไมไผถูกแสงแดดและไมใหมีความแตกตาง
ระหวางอุณหภูมิภายในและภายนอกทอตางกันเกินไป

ลักษณะภายนอกของไมไผเปนกระบอกกลมยาว ภายในกลวง มีขอกั้นเปนชวงๆ ถาหาก


เจาะขอออกแลวจะไดลํากลมยาว ภายในกลวงยาวตลอดลํา มีลักษณะเหมือนทอน้ํา ซึ่งสามารถใช
เปนทอสงน้ําแทนทอที่ผลิตจากโรงงานได การเจาะปลองไมไผมีอยูสองวิธี ดังนี้
1. ใชเหล็กเสนขนาดเสนผาศูนยกลาง 9 มม. ขึ้นไป ตอกทะลวงขอไผเปนวิธีที่สะดวกรวดเร็ว
และเสียคาใชจายนอย แตรูที่เจาะไดไมกลมนัก
2. ใชเครื่องเจาะโดยใชมือหมุนที่กานเจาะซึ่งมีหัวเจาะอยูที่กานปลายอีกดานหนึ่ง วีนี้จะไดรู
ที่คอนขางกลมเรียบแตไมสะดวกและมีขีดจํากันในการใช กลาวคือไมไผที่นํามาจะตอง
ตรงและไมยาวกวากานเจาะมากนัก
38

สําหรับการตอไมไผสามารถทําไดโดยนําทอไมไผมาติดกันแลวใชยางในรถจักรยานที่ชํารุดแลว
มัดตอกันใหแนน โดยหุมดวยแผนพลาสติกแลวมัดดวยลวดอีกครั้ง เพื่อปองกันไมใหยางรถถูกน้ําและ
ความรอนจากแสงแดดสลับกันมากนัก
39

บทที่ 3
วิธีการดําเนินการวิจัย

การวิจัยในครั้งนี้มีเปาหมายสําคัญเพื่อศึกษาเทคนิคการกอสรางอาคารดวยไมไผและออกแบบ
แกไขปญหาเทคนิคการกอสรางอาคารดวยไมไผที่สํารวจพบ โดยทําการทดลองสรางตัวอยางอาคารใน
พื้นที่โครงการพัฒนาดอยตุง อ.แมฟาหลวง จ.เชียงราย ในการออกแบบเพื่อแกปญ  หาจากการกอสราง
แบบเดิมนั้นไดคํานึงถึง การใชแรงงานคน เทคโนโลยีที่เหมาะสมและการเลือกใชวัสดุที่มีอยูในพื้นที่
โครงการพัฒนาดอยตุง ผสมผสานกับวัสดุใหม ใหมีเหมาะสมกับการกอสรางในปจจุบันและอนาคต

3.1 สมมุติฐาน
“ การกอสรางอาคารดวยไมไผที่ผานการถนอมรักษาไมไผ ผสานกับวัสดุกอสรางอื่นๆและ
เลือกใชเทคนิคการกอสรางที่เหมาะสม สามารถสรางอาคารพักอาศัยขนาดกลางในสภาพสังคม
ปจจุบันได “

3.2 การสํารวจและวิธีเก็บรวบรวมขอมูล
3.2.1 ขั้นตอนการศึกษาขอมูลเบื้องตน
- ศึกษาลักษณะทั่วไป ชนิด และกรรมวิธีการปลูก บํารุงรักษาตนไผ ทําการศึกษา
ขอมูลทุตติยภูมิโดยคนควาจากหนังสือและตําราการเกษตรที่เกี่ยวของกับไมไผ จากนั้นทําการสํารวจ
และศึกษาโดยลงพื้นที่เพื่อทําการจําแนกลักษณะไผที่ใชจริงในงานกอสราง ทําใหทราบวาในแตละ
พื้นที่ที่ทําการศึกษาลักษณะการกอสรางดวยไมไผมีความแตกตางในการเรียกชื่อพื้นเมืองของไมไผแต
ละพันธุ การถนอมรักษาไมไผก็ใชวิธีตางกัน
- ศึกษาเทคนิคการกอสรางอาคารดวยไมไผ และการถนอมรักษาไมไผ โดยการสํารวจ
ภาคสนามพื้นที่ ใน อ.สังขละบุรี จ.กาญจนบุรี (15-17 ธ.ค.2544) เก็บขอมูลโดยการถายภาพ วาดผัง
พื้นและวาดรายละเอียดเทคนิคการกอสราง รวมทั้งสัมภาษณกรรมวิธีการกอสรางในเรือนนั้นๆ
- ศึกษาเทคนิคการกอสรางอาคารดวยไมไผโดยการสํารวจภาคสนามพื้นที่ ใน อ.เมือง
จ.แมฮองสอน (1-3 ม.ค.2545)เก็บขอมูลโดยการถายภาพ วาดผังพื้นและวาดรายละเอียดเทคนิคการ
กอสราง รวมทั้งสัมภาษณกรรมวิธีการกอสรางในเรือนนั้นๆ
- ศึกษาเทคนิคการกอสรางอาคารดวยไมไผโดยการสํารวจภาคสนามพื้นที่ ใน อ.เวียง
แหง จ.เชียงใหม (9-12 มี.ค.2545)เก็บขอมูลโดยการถายภาพ วาดผังพื้นและวาดรายละเอียดเทคนิค
การกอสราง รวมทั้งสัมภาษณกรรมวิธีการกอสรางในเรือนนั้นๆ
40

- ศึกษาเทคนิคการกอสรางอาคารดวยไมไผโดยการสํารวจภาคสนามพื้นที่ ใน อ.แมฟา
หลวง จ.เชียงราย (28ก.ค.-1ส.ค.2545)เก็บขอมูลโดยการถายภาพ วาดผังพื้นและวาดรายละเอียด
เทคนิคการกอสราง รวมทั้งสัมภาษณกรรมวิธีการกอสรางในเรือนนั้นๆ
- ศึกษาเทคนิคการกอสรางอาคารดวยไมไผในตางประเทศ จากขอมูลทุตติยภูมิ และ
จากโครงขายอินเตอรเน็ต
- ศึกษาการกอสรางอาคารดวยคอนกรีตเสริมไมไผ สมบัติเชิงกลของไมไผ จาก
วรรณกรรมที่เกี่ยวของ เชน วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมโยธา
- สัมภาษณขอดีและขอเสียของการกอสรางดวยไมไผจากผูเชี่ยวชาญ จากชางประจํา
หมูบานตางๆที่ทําการสํารวจ, ชางทําเครื่องเรือนจากไมไผ บานแมเปน อ.แมฟาหลวง จ.เชียงราย,
ผูเชี่ยวชาญดานการเกษตรของโครงการพัฒนาดอยตุง

3.2.2 การเก็บรวบรวมขอมูลขณะทําการกอสรางอาคารตัวอยาง
- ทําแผนการกอสรางระยะยาวและจัดกําลังพลลวงหนากอการกอสราง
- ทําแผนการกอสรางลวงหนาวันตอวัน ตามสภาวการณปจจุบัน และปฏิบัติใหเปนไป
ตามแผนมากที่สุด โดยมีการแกปญหาเฉพาะหนาอยางเปนระบบ
- จดบันทึกการกอสราง Dairy Log และบันทึกเทปวีดิทัศนการกอสรางในแตละวัน

3.3 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย
การวิจัยในครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงทดลอง(Experimental research) ใชการสังเกตในการเก็บ
ขอมูลจากการทดลองเปนหลัก เครื่องมือที่ใชเปนแบบจดบันทึกการกอสราง(Check List) และใช
ชิ้นสวนอาคารที่สรางขึ้นเปนอุปกรณ(Equipment) ในการวิจัย
ออกแบบอาคารตนแบบที่ใชเทคโนโลยีการกอสรางดวยไมไผ
- ออกแบบอาคารที่ใชเทคโนโลยีการกอสรางดวยไมไผ ใหมีความเหมาะสมกับการ
กอสรางในปจจุบันและสภาพพื้นที่โครงการพัฒนาดอยตุง
- ทําแบบจําลองอาคารพักอาศัยที่ทําการออกแบบ
- กําหนดขั้นตอนการกอสรางอาคารและใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ทดลองสรางอาคารตนแบบที่ใชเทคโนโลยีการกอสรางดวยไมไผ
- บันทึกและถายภาพขั้นตอนตางๆในการกอสราง ตามสถานการณที่เกิดขึ้นจริง
- บันทึกปญหาที่เกิดขึ้นในการกอสรางและหาแนวทางแกไข
41

3.4 ขั้นตอนการวิเคราะหขอมูล
3.4.1ขั้นตอนการวิเคราะหขอมูลขั้นตน
- เปรี ย บเที ย บเทคนิ ค การก อ สร า งอาคารที่ ก อ สร า งด ว ยไม ไ ผ ใ นแต ล ะท อ งที่ ที่
ทําการศึกษา
- วิเคราะหขอดี-ขอเสียขององคประกอบอาคารในสวนตางๆ ที่ใชเทคนิคที่ตางกัน
- วิเคราะหสภาพปญหาการกอสรางอาคารดวยไมไผจากพื้นที่ที่ทําการสํารวจ และเนน
สภาพปญหาที่เกิดขึ้นในพื้นที่โรงการพัฒนาดอยตุงเปนหลัก
- วิเคราะห และปรับปรุง ลักษณะองคประกอบอาคารที่ใชไมไผ ใหมีความเหมาะสม
กับการกอสรางในปจจุบันและพื้นที่โครงการพัฒนาดอยตุง
3.4.2 ขั้นตอนการวิเคราะหขอมูลขั้นสุดทาย
- เปรียบเทียบเทคนิคการกอสรางอาคารที่กอสรางดวยไมไผที่ใชทดลองแกปญหาตางๆ
ในอาคารตัวอยางที่สรางขึ้น
- วิเคราะหขอดี-ขอเสียขององคประกอบอาคารในสวนตางๆ ที่ใชเทคนิคที่ตางกันใน
แกปญหาตางๆในอาคารตัวอยางที่สรางขึ้น
3.4.3 สรุปและประเมินผล
- ติดตามและประเมินผลการออกแบบที่ไดทําการกอสราง
- เสนอแนะแนวทางปรับปรุงและเผยแผเทคโนโลยีการกอสรางอาคารดวยไมไผ
42

3.5 โครงการ “ถายทอดเทคนิคการกอสรางอาคารดวยไมไผ” สูพื้นทีโ่ ครงการพัฒนาดอยตุง

1. ความเปนมาของโครงการ
มูลนิธิแมฟาหลวงไดรวมมือกับสภาคณบดีคณะสถาปตยกรรมศาสตรแหงประเทศไทย จัด
โครงการปฏิบตั ิการออกแบบสูชุมชน”พัฒนาที่อยูอาศัยและชุมชนดอยตุง” เมื่อวันที่ 7-22 พฤษภาคม
2545 โดยเนนการพัฒนาคุณภาพชีวิตในระดับชุมชน โดยเฉพาะที่อยูอ าศัยของชาวไทยภูเขา โดยมี
จุดประสงคในการดําเนินงานดังนี้
1. เพื่อหากับวัสดุภายในทองถิ่น เพื่อใหเกิดความเหมาะสมในการเลือกใชวัสดุสอดคลองกับสภาพ
สังคมในปจจุบันแนวทางการพัฒนาที่อยูอ าศัยของชาวไทยภูเขาใหมคี วามเหมาะสมกับสภาพภูมิ
ประเทศ สภาพภูมิอากาศ และปจจัยการเปลี่ยนแปลงทางสังคมปจจุบัน ใหสอดคลองกับราก
บานวัฒนธรรมและการดํารงชีวิต
2. เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาชุมชนหมูบานขาวไทยภูเขา โดยใชวัสดุและผลิตภายในทองถิน่
รวมทัง้ ศักภาพของตนเอง ใหสามารถกอเกิดรายไดกลับมาสูชุมชน
3. เพื่อหาทางเลือกในการใชวสั ดุใหมผสาน
4. เพื่อสานตอและนําโครงการไปพัฒนาปรับปรุง ไปสูการนําแผนไปปฏิบัติ(Implementation
plan)เพื่อพัฒนาดอยตุงในอนาคต

จากโครงการปฏิบัติการออกแบบสูชุมชนไดผลงานจากกลุม นิสิตนักศึกษาสถาปตยกรรมตาม
วัตถุประสงค
อยางครบถวนและภายหลังจากโครงการดังกลาว นาย ทรงเกียรติ เที้ยธิทรัพย นิสิตปริญญา
มหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสถาปตยกรรมการกอสราง คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัยไดเสนอหัวขอวิทยานิพนธเรื่อง “เทคนิคการกอสรางอาคารดวยไมไผ”การศึกษาอาคาร
ตนแบบ ศูนยชุมชนโครงการพัฒนาดอยตุงโดยมีวัตถุประสงคในการวิจัยดังนี้
4. ศึกษาการออกแบบอาคารที่ใชเทคโนโลยีการกอสรางอาคารดวยไมไผ โดยคํานึงถึง
1.3 ระบบการผลิต การขนสง การประกอบ และการติดตั้ง แรงงาน กรรมวิธีการกอสราง
และเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับพื้นที่โครงการพัฒนาดอยตุง
1.4 การรับแรงและการถายแรงอยางถูกตองในสวนตางๆโครงสราง
5. พัฒนาเทคโนโลยีการกอสรางอาคารดวยไมไผ และวัสดุใชที่มีอยูในพื้นที่โครงการพัฒนาดอยตุง
ผสมผสาน
กับวัสดุใหม ใหมีเหมาะสมกับการกอสรางในปจจุบันและอนาคต
43

6. ออกแบบอาคารศูน ยชุมชนให มีความสอดคลองในการพัฒนาที่ อยูอาศัย ในพื้นที่โครงการ


พัฒนาดอยตุง ใหมี
ความเหมาะสมกับสภาพภูมิประเทศ สภาพภูมิอากาศ และปจจัยการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ในปจจุบัน ให
สอดคลองกับรากฐานวัฒนธรรมและการดํารงชีวิต

จากการสํารวจภาคสนามและสัมภาษณชาวบานในพื้นที่โครงการพัฒนาดอยตุงเมื่อวันที่ 28
กค.-1 สค. 2545 และไดทํารายงานสรุป พบวามีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองพัฒนาเทคนิคการ
กอสรางดวยไมไผใหมีความเหมาะสมกับโครงการพัฒนาดอยตุงและถายทอดเทคนิคนั้นสูชุมชน
ตอไป

2.วัตถุประสงคของโครงการ
1. หาทางเลือกเทคนิคและวัสดุที่เหมาะสมกับการสรางอาคารพักอาศัยในโครงการพัฒนาดอยตุง
2. ถายทอดเทคนิคการกอสรางอาคารดวยไมไผ และการเลือกใชวัสดุกอสรางที่เหมาสมแกชาวไทย
ภูเขาที่อาศัยอยูภายในโครงการพัฒนาดอยตุง
3. พัฒนาเทคนิคการกอสรางอาคารดวยไมไผ และวัสดุใชที่มีอยูในพื้นที่โครงการพัฒนาดอยตุง
ผสมผสาน กับวัสดุใหม ใหมีเหมาะสมกับการกอสรางในปจจุบันและอนาคต

3. วิธีการดําเนินโครงการ
1. วางแผนโครงการและจัดหางบประมาณ
2. เตรียมเนื้อหาในการถายทอดเทคนิคการกอสรางอาคารที่เหมาะสมกับพื้นที่โครงการพัฒนา
ดอยตุง
3. จัดหาทีมงานที่รวมโครงการ
4. ประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของ เชน โครงการพัฒนาดอยตุง กรมวิชาการเกษตร ภูใจ
ใสรีสอรท เพื่อหาติดตอบุคคลกรและจัดหาวัสดุที่เกี่ยวของ
5. เตรียมไมไผเพื่อใชในการกอสรางลวงหนาการอบรม 3 อาทิตย
6. ติดตอและจัดหาผูเขารวมอบรม(ชาวเขาที่เปนผูนําชุมชนและชางประจําหมูบาน)
7. ทําตัวอยางที่ใชในการสิตรวมกับชางประจําโครงการพัฒนาดอยตุง(สถานที่ ดอยตุง)
8. จัดอบรมเพื่อถายทอดเทคนิคการกอสรางอาคารที่เหมาะสมกับพื้นที่โครงการพัฒนาดอยตุงใช
เวลาประมาณ 2วัน
44

4. รายละเอียดการถายทอดเทคนิคการกอสรางอาคารที่เหมาะสมกับพื้นที่โครงการพัฒนา
ดอยตุง
1. ขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับตนไผ
1.1 ประเภทและชนิดของไผที่ใชในการกอสราง
1.2 วิธีการคัดเลือกและการตัดตนไผ
1.3 การถนอมรักษาไผทั้งกอนและหลังการกอสราง ทั้งวิธีธรรมชาติและการใชเคมี โดยสาธิต
และนําตัวอยางจริงประกอบ
2. เทคนิคการกอสรางอาคารดวยไมไผและวัสดุในทองถิ่น
2.1 วัสดุที่มีในทองถิ่น
2.2 การกอสรางองคประกอบอาคารในสวนตางๆ
- เสา การเลือกใชชนิดไม(ไมเนื้อแข็ง ไมไผ) ขนาดและการถนอมรักษาเสาใหมีความคงทน
- โครงสรางพื้น การเลือกใชชนิดไม (ไมเนื้อแข็ง ไมไผ) ขนาด การจัดวางโครงสรางใหถูกตองตาม
การถายแรง การเลือกใชพื้น ลักษณะการสานพื้นไมไผการถนอมรักษาใหมคี วามคงทน
- ฝาผนัง การใชวัสดุทําฝาผนัง (ฝาไมไผสานแบบตางๆ ฝาไมไผฉาบดวยดิน ขี้เถา) การทํา
หนาตางในฝาผนัง การประกอบและการติดตั้งและการถนอมรักษาใหมีความคงทน
- โครงสรางหลังคาและวัสดุมุง องคประกอบโครงสรางหลังคาที่ใชอยูในหมูบานตางๆ การเลือกใช
วัสดุทําโครงสรางหลังคา การถนอมรักษาโครงสรางหลังคาและวัสดุมุงใหมีความคงทน

3. เทคนิคการกอสรางอาคารดวยวัสดุทองถิ่นผสานกับวัสดุใหม
3.1 วัสดุใหม
3.2 คอนกรีตเสริมไมไผ การเลือกใชไผ การผสมคอนกรีต การใชสารเคมีทาเพื่อเพิ่มแรงยึด
เหนี่ยวระหวางไผกับคอนกรีต การจัดวางไมไผในแบบหลอโครงสราง
3.3 การกอสรางองคประกอบอาคารในสวนตางๆ
- เสา การใชเสาคอนกรีตสําเร็จรูป และเสาคอนกรีตเสริมไมไผกับเสาไม การหลอเสาคอนกรีต
เสริมไมไผ
- โครงสรางพื้น การใชโครงสรางคานคอนกรีตเสริมไมไผ การใชพื้นไมไผ การใชพื้นคอนกรีตเสริม
ไมไผและการหลอพื้นคอนกรีตเสริมไมไผ
- ฝาผนัง การใชผนังกออิฐแบบตางบนคานคอนกรีต การใชผนังไมไผ
- โครงสรางหลังคาและวัสดุมุง การใชโครงสรางหลังคาไมไผรับหลังคากระเบื้องลอนคูและสังกะสี
การใชโครงสรางไมเนื้อแข็ง
45

4. ประเมินเทคนิคการกอสรางที่เหมาะสมกับพื้นที่โครงการพัฒนาดอยตุง

5. ประโยชนที่จะไดรับจากโครงการ
5. ไดแนวทางเลือกใชวัสดุและกรรมวิธีการกอสราง เพื่อพัฒนารูปแบบอาคารที่กอสรางดวยไมไผ
ในพื้นที่โครงการพัฒนาดอยตุง
6. ไดคูมือที่รวบรวมการใชเทคนิควิธีการกอสรางอาคารดวยไมไผในภาคเหนือและภาคตะวันตก
ของประเทศไทย
7. เปนแนวทางการออกแบบโครงสรางอาคารที่กอสรางดวยไมไผโดยคํานึงถึงการรับแรงที่ถูกตอง
ในโครงสราง ความประหยัดทางดานตนทุนและเวลาในการกอสราง
8. ไดตนแบบอาคารที่กอสรางดวยเทคโนโลยีการกอสรางดวยไมไผ เพื่อเปนตัวอยางในการ
กอสรางและพัฒนาที่อยูอาศัยในพื้นที่โครงการพัฒนาดอยตุง

6. คุณสมบัติผูเขารวมรับการอบรม
1. เปนประชาชนที่อาศัยอยูในโครงการพัฒนาดอยตุงจากหมูบานตางหมูบานละ 2 คน รวม 52
คน
2. มีความสนใจในการพัฒนาที่อยูอาศัยและมีความสนใจเกี่ยวกับการกอสราง
3. สามารถถายทอดความรูและนําเทคนิคที่ไดรับไปถายทอดใหผูอื่นได
46

รายละเอียดการอบรมเชิงปฏิบัติการ
การอบรมเชิงปฏิบัติการครั้งนี้เปนการถายทอดเทคนิคการกอสรางอาคารดวยไมไผที่มีอยูทั่วไป
เพื่อหา
แนวทางการกอสรางอาคารพักอาศัยที่มีความเหมาะสมกับพื้นที่โครงการพัฒนาดอยตุง โดยการ
แลกเปลี่ยนความรูและเทคนิควิธีระหวางระหวางผูจัดอบรมกับประชาชนที่เขารวมโครงการ โดยมี
เนื้อหาและวิธีการอบรมดังนี้
รายการ อุปกรณ
1. ขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับตนไผ
1.1 ประเภทและชนิดของไผที่ใชในการกอสราง - ไผตง ศก.20 ซม 1ลํา
อธิบ ายชื่อและแสดงไผทั้ ง ที่มี อ ยูในทอ งที่แ ละตางพื้น ที่ที่ - ไผรวก ศก.5 ซม 1ลํา
เหมาะสมกับการกอสราง เชน - ไผปา ศก.15 ซม 1ลํา
- ไผตง,ไผรวก,ไผปา,ไผเฮี้ยะ,ไผซาง,ไผซางดําไผไร,ไผ - ไผเฮี้ยะ ศก.15 ซม 1ลํา
ลํามะลอก,ไผปา - ไผซาง ศก.8 ซม 1ลํา
- ไผซางดํา ศก.10 ซม 1ลํา
- ไผไร ศก.2 ซม 1ลํา
- ไผลํามะลอกศก.8 ซม 1ลํา
หมายเหตุ ทุกลํายาวประมาณ 1.5 ม.

1.2 วิธีการคัดเลือกและการตัดตนไผ - ใชรูปจากสไลดหรือแผนภาพประกอบ


ระบบตัดหมด
ระบบเลือกตัด

1.3 การถนอมรักษาไผทั้งกอนและหลังการกอสราง
- การใชวิธีธรรมชาติ - ใชไมไผซาง ศก.8ซม. ยาว2 ม .6 ลําลนไฟ
การแชน้ํา - ตอกไผเฮี้ยะ กวาง1.5 ซม. 80 เสน ตมในหมอขนาดใหญ
การใชความรอน - การตม ตมไผเฮี้ยะที่ใชทํา
ตอกในน้ําเดือด
- การลนไฟ ใชไมไผลนไฟ
และเช็ดน้ํามันใหเห็น แสดงการตัดไมไผถึงความแข็งแกรง
ของการไมที่ไฟและไมลนไฟ
- ไมไผซาง ศก. 10ซม. ยาว2ม.3ลําตากแดด15วัน
การตากไมไผ ไมไผซางสับฟาก สก 10ซม.ยาว 2ม. ตากแดด15วัน
47

รายการ อุปกรณ

- การใชเคมี
1. การจุมทา เปนการปองกันผิวนอกของไมไผ - ไผซาง ศก. 10ซม. ยาว1.5 ม. 15ลํา
2.การอัดน้ํายา การอาบโคน, การสวมปลอกหัว - น้ํายาดีดีที รอยละ7-10 จํานวน 3ขวด
ไม - น้ํามันกาด 8 ลิตร
- โซเดียมเพนตาคอลโรพิเนต รอยละ1 ละลายในกรดบอ
ริก อัตราสวน 1:1 จํานวน 12 ลิตร
- กะละมังขนาดใหญ ลึก 30 ซม. 2 ใบ
- ยางในจักรยาน 3เสน
- เชือกฟาง 1 มวน
- แชลแลคเหลือง 5 ขวด
- แลคเกอร 5ขวด
- แปลงทาสี ขนาดกลาง 10ดาม
- กากน้ํามันเครื่อง 2 แกลลอน
48

บทที่ 4

ลักษณะเรือนที่กอสรางดวยไมไผ

4.1 เรือนพื้นถิ่นชุมชนบานแผนดินธรรมแผนดินทองและบานหมองสะเทอ ต. หนองลู อ.


สังขละบุรี จ. กาญจนบุรี

บานแผนดินธรรมแผนดินทองตั้งอยูใน ต.หนองลู อ.สังขละบุรี อยูห างจากตัวเมืองกาญจณบุรี


210 กิโลเมตร อยูบริเวณชายแดนไทย ดานทิศตะวันตกติดตอกับประเทศพมา ทีต่ ั้งของอ.สังขละบุรี
มีแมนาลําหวยหลายสายมาบรรจบกันอยูเหนืออางเก็บน้ําเขื่อนเขาแหลม ราษฎรสวนใหญเปนชาวไทย
เชื้อสายมอญตั้งถิ่นฐานอยู และไดใชน้ําเปนปจจัยยังชีพ แตเมื่อมีการสรางเขื่อนเขาแหลม พื้นทีข่ อง
หมูบานที่อยูในเขตน้ําทวมเพื่อใชเปนอางเก็บน้าํ หลายสิ่งไดจมหายไปพรอมกับสายน้ํา โดยเฉพาะวัด
สําคัญประจําหมูบาน หมูบา นมีพนื้ ที่ประมาณ 614 ไร เปนที่ดนิ ของกรมศาสนา

ตัวอยางเรือนที่กอสรางดวยไมไผ

1. เรือนไมไผหลังที1่

ภาพที่4.1 แสดง ทัศนียภาพเรือนไมไผหลังที่ 1


49

ลักษณะทัว่ ไป : เรือนไมไผหลังที่ 1 เปนเรือนของชมรมคนชราของหมูบ านแผนดินธรรม


แผนดินทอง ตั้งอยูริมถนนสายหลักของหมูบาน เรือนนี้เปนเรือนชัน้ เดียวขนาดใหญเมื่อเทียบกับเรือน
หลังอืน่ ๆในหมูบาน ภายในเรือนประกอบดวยหองครัว หองโถง หองนอน
โครงสรางโดยทั่วไป : เปนการผสมระหวางวัสดุกอสรางสมัยใหมทขี่ ายตามทองตลาด
เชน สังกะสี คอนกรีตบล็อก กับโครงสรางไม ที่ใชไมไผเปนองคประกอบหลังของ ผนัง และหลังคา
โครงสรางหลัก เปนเสาไมเนื้อแข็ง ถายน้าํ หนักลงสูดินโดยตรง
ผนัง เปนผนังสานไมไผตากแหงสานเปนขั้นบันไดทาน้าํ มันเครื่องเพือ่ ปองกันแมลง มี
โครงเคราไมยดึ เสริมความแข็งแรงโดยรอบ
โครงหลังคา อะเส และโครงอื่นๆที่รับน้าํ หลักของโครงสรางเปนไมเนื้อแข็ง สันนิษฐานวา
เปนไมยูคาลิปตัสและไมเต็ง โครงหลังคาอืน่ ๆเชน จันทัน แป กลอน เปนไมไผทอน

ภาพที่4.2 แสดงรูปดานหนาเรือนไมไผหลังที่1

ภาพที่ 4.4 แสดง ภาพ


ภาพที่ 4.3แสดงภาพขยาย
ผนังไมไผสานแบบ
รอยตอระหวางเสาไมและ
ขั้นบันไดกับโครงสราง
คอนกรีตบลีอก และฝาไมไผ
เสา คานไมเนอแข็ง
50

2. เรือนไมไผหลังที2่

ภาพที่ 4.5 แสดง ทัศนียภาพเรือนไมไผหลังที่ 2


ลักษณะทัว่ ไป : เปนเรือนไมไผที่กําลังกอสราง แตสามารถเขาไปอยูไดแลว เปนเรือนไม
ไผขนาดเล็ก มีหองนอน 1หอง หองโถงและชานบานสําหรับทําครัว ขณะที่ไปสํารวจและเก็บขอมูลนั้น
ผนังของเรือนยังไมครบทุกดาน มีแรงงานกอสรางสองคนเปนหญิงอายุประมาณ35ปและชายอายุ
ประมาณ40ป และสังเกตไดวา มีความจําเปนอยางยิ่งที่จะสรางเรือนนี้ใหเสร็จโดยเร็วที่สุด เนื่องจาก
ผนังไมไผสานแบบขั้นบันไดไมไดรับการตากแหง ไมไผยงั สดและมีสีเขียวอยู ซึง่ ตอไปอาจเกิดปญหา
การหดตัวของไมไผ ทําใหเกิดรูโหว ไมสามารถกันฝนได นอกจากนัน้ เมื่อเวลาผานไปประมาณ1-2 ป
ฝาไมไผนี้อาจถูกมอดและแมลงอื่นๆกัดกินได
โครงสราง : เปนโครงสรางไมทั้งหลังใชระบบเสาคาน โครงสรางรับน้าํ หนักหลักของเรือน
เปนไมเนื้อแข็ง สันนิษฐานวาเปนไมเต็ง และไมทอนยูคาลิปตัส เสาไมขนาด ศก.10ซม.ถายน้าํ หนักลง
สูดิน โดยมีฐานรากลึกเพียง 0.5 ม.
คาน : เปนคานไมเนื้อแข็ง ใชตะปูยึดติดกับเสาไม ขนาดคานประมาณ 11/2”x5”
ตง : เปนไมไผทอน ขนาด ศก. 3-5 ซม.@ 15-20 ซม.
ผนัง : เปนผนังไมไผสานแบบขั้นบันได ขนาดไมไผประมาณ 1.5 ซม. ความกวางของแนวสาน
ประมาณ 10 ซม.
พื้น : เปนพื้นฟากไมไผ หนาประมาณ 0.75-1 ซม.
หลังคา : เปนโครงสรางไมไผ วัสดุมงุ เปนจากแตชาวมอญเรียกวาปอ
51

ภาพที่ 4.6 แสดง แปลนพื้นเรือนไมไผหลังที่ 2 ภาพที่ 4.7แสดง โครงสรางพื้นเรือนไมไผหลังที่ 2

ภาพที่ 4.8 แสดง โครงสรางพื้นเรือนไมไผหลังที่ 2

ภาพที่ 4.9 แสดง โครงสรางพื้นเรือนไมไผหลังที่ 2


52

3. เรือนไมไผหลังที4่

ภาพที่ 4.10แสดง ทัศนียภาพเรือนไมไผหลังที่ 4

ลักษณะทัว่ ไป : เปนเรือนไมไผชั้นเดียวยกใตถุน เปนเรือนขนาดใหญ ตั้งอยูในทีล่ าด


เอียงเล็กนอยประกอบดวย ชานที่มีความยาวมาก หองโถง หองครัว และหองนอน2หอง อายุของเรือน
ประมาณ1-2เดือน ทําใหใตถุนสามารถใชประโยชนไดเปนที่เลีย้ งสัตว มีหองน้ําแยกอยูตางหาก
หองน้ําเปนสวมซึมมีขนาดประมาณ2x2.5ม.พื้นหองน้ําเปนพืน้ ปูนเสริมไมไผ สภาพทั่วไปของเรือนคาด
วานาจะเพิง่ สรางเสร็จไมนาน มีความเรียบรอยและประณีตในการกอสราง โดยใชชา งกอสราง
โดยเฉพาะ
โครงสราง : เปนโครงสรางไมทั้งหลังใชระบบเสาคาน โครงสรางรับน้าํ หนักหลักของเรือน
เปนไมเนื้อแข็ง สันนิษฐานวาเปนไมสกั และเสาไมยูคาลิปตัส เสาไมขนาด10x10ซม. มีชวงพาดของ
คานประมาณ1.5-2 ม.ดานลางเปนพืน้ ดินอัดแนน
คาน : เปนคานไมเนื้อแข็ง ใชตะปูยึดติดกับเสาไม ขนาดคานประมาณ 11/2”x4” และ 2”x5”
ตง : เปนไมไผทอน ขนาด ศก. 3-5 ซม.@ 15-20 ซม.
ผนัง : เปนผนังไมไผสานแบบขั้นบันได ขนาดไมไผประมาณ 1.5 ซม. ความกวางของแนวสาน
ประมาณ 10-15 ซม.
พื้น : เปนพืน้ ฟากไมไผ หนาประมาณ 0.75-1 ซม. บริเวณชานเรือนเปนไมเนื้อแข็งหนาประมาณ
1.5 ซม.
หลังคา : เปนโครงสรางไมไผ วัสดุมุงเปนจาก
53

ภาพที่ 4.11 แสดงแปลนพื้นเรือนไมไผหลังที่ 4 ภาพที่ 4.12 แสดงรูปดานเรือนไมไผหลังที่ 4

ภาพที่ 4.14 ภาพไอโซเมตริกโครงสรางพื้น เรือนไมไผหลังที่ 4


ภาพที่ 4.13 แสดงรูปตัด
โครงสรางพื้นเรือนไมไผ
หลังที่ 4

ภาพที่ 4.16 แสดงรอยตอบาน


ประตูกับผนังหองน้ําทีมีโครงสราง
ไมไผ

ภาพที่ 4.15 แสดง ประตูหองน้ําที่สรางดวยไมไผ


54

4. เรือนไมไผหลังที6่

ภาพที่ 3.34 แสดงแบบขยายประตู หองน้ําที่สรางดวยไมไผ

ภาพที่ 4.17 แสดงทัศนียภาพ เรือนไมไผหลังที่ 6

ลักษณะทัว่ ไป : เปนเรือนไมไผที่ใชไมไผทั้งหลัง เปนหลังเดียวในหมูบ านที่สํารวจพบ


เปนเรือนไมไผชั้นเดียว ยกใตถุนสูงประมาณ1.2 ม. มีชาน หองนอน และครัว ที่อาศัยอยูไดไมเกิน สอง
คน ตามคําบอกเลาของคนในพืน้ ที่สามารถสรุปไดวา ชาวมอญที่ไมมเี งินจะสรางเรือนดวยไมไผ และ
หายากที่จะสรางดวยไมไผทงั้ หลังเชนนี้ เนือ่ งจากเมื่อมีเงินแลวก็จะหาวัสดุที่ทนทานกวาไมไผ เชนไม
เต็ง หรือหลังคาสังกะสีเปนตน
โครงสราง : เปนโครงสรางไมไผทั้งหลัง ใชระบบเสาคาน โครงสรางรับน้ําหนักหลักของ
เรือนเปนไมไผทอนขนาด ศก. ประมาณ 5-7.5ซม. มีชวงพาดของคานประมาณ 1.25-2 ม. ใชเสาไมไผ
แยกรับโครงสรางพืน้ และหลังคาออกจากกัน สังเกตไดจากเสาไมไผคู ที่อยูดานนอกของเรือน ตรง
กลางเรือนมีสามเสา แยกโครงสรางหลังคาออกจาโครงสรางพื้น และแยกโครงสรางพื้นครัวที่ลดระดับ
ออกจากหองนอน
คาน : เปนไมไผ ศก. ประมาณ 7.5 ซม. อยุตามชวงเสา
ตง : เปนไมไผทอนคู ขนาด ศก. 3-5 ซม.@ 15-20 ซม. ยึดติดกับคานไมไผดวยตอก
ผนัง : เปนผนังไมไผฟากตามตั้งหรือตามนอน ขนาดไมไผประมาณ 1.5 ซม.
พื้น : เปนพืน้ ฟากไมไผ หนาประมาณ 0.75-1 ซม.
หลังคา : เปนโครงสรางไมไผ วัสดุมุงเปนจาก
55

ภาพที่ 4.18 แสดงผังเสา เรือนไมไผหลังที่ 6

ภาพที่ 4.19แสดงแปลนพื้น เรือนไมไผหลังที่ 6

ภาพที่ 4.20แสดงรูปดานหนา เรือนไมไผหลังที่ 6 ภาพที่ 4.21แสดงรูปดานขาง เรือนไมไผหลังที่ 6

ภาพที่ 4.22 แสดงรูปดานหลัง เรือนไมไผหลังที่ 6


ภาพที่4.23แสดง ขยาย
รอยโครงสรางพื้นบริเวณ
ชานหนาเรือน เรือนไมไผ
หลังที่ 6

ภาพที่ 4.24 แสดง ขยายรอยตอระหวางพื้น


หองนอนกับครัวที่ตางระดับกัน เรือนไมไผหลัง
ที่ 6
56

4.2ตัวอยางเรือนไมไผ อ.เมือง จ.แมฮอ งสอน

จังหวัดแมฮองสอน เปนจังหวัดหนึง่ ในภาคเหนือของประเทศไทย มีอาณาเขตทิศเหนือและทิศ


ตะวันตกติดชายแดนประเทศพมา ทิศตะวันออกติดกับจังหวัดเชียงใหม และทิศใตติดกับจังหวัดตาก
จังหวัดแมฮองสอนมีภูมิประเทศเปนเทือกเขา มีที่ราบในหุบเขาบางเล็กนอย มีภูมิอากาศที่แตกตาง
กันอยางมากในแตละฤดูกาล ฤดูรอนมีอากาศรอนอบอาวถึง 40 องศา ในขณะทีฤ่ ดูหนาวมีอากาศที่
หนาวเย็น10-15องศา นอกจากนั้นสภาพอากาศยังมีหมอกทัง้ สามฤดู ในฤดูรอนและฤดูฝนมีหมอกซึ่ง
เกิดจากควันไฟที่ไหมปา ในฤดูหนาวมีหมอกที่มากจาอากาศอันหนาวเย็น นับไดวาปรากฏการณนี้ได
สรางชื่อใหแมฮองสอนเปนเมืองสามหมอกอยางแทจริง
เนื่องจากมีภมู ิประเทศที่เปนเทือกเขาสูงชันลอมรอบ การสัญจรทางรถยนตเปนไปดวยความ
ยากลําบากและตองใชเวลานานในการเดินทาง ทําใหจังหวัดแมฮองสอน เปนจังหวัดหนึง่ ที่อยูห า งใกล
จากการรุกรานของวัฒนธรรมเมือง ดังนัน้ วัสดุกอสรางที่ตั้งสั่งซื้อจากโรงงานที่อยูน อกตัวจังหวัดจะมี
ราคาคอนขางสูงกวาราคาทีข่ ายตามทองตลาดทั่วไป ชาวบานที่มีฐานะปานกลางหรือคอนขางยากจน
จะใชทรัพยากรและวัสดุกอสรางทีม่ ีอยูในทองถิ่นเชน ไมสัก ไมแดงและไมไผมากอสรางบานเรือน
แทนวัสดุกอสรางทีม่ ีราคาแพงเชน ปูนซีเมนต ในปจจุบัน
ประชากรที่อยูใ นจังหวัดแมฮอ งสอนมีเชื้อของชาวไตใหญเปนสวนใหญ นอกนัน้ มีชาวจีนฮอ
พมา ชาวเขา และชาวไทยภาคอื่นๆที่อพยพพมาอยู ในตัวอําเภอเมืองแมฮองสอน ต.จองคําเปนตําบล
ที่มีความเจริญที่สุดในจังหวัดเปนที่ตั้งของสถานที่ราชการ ธนาคาร และ สนามบินประจําจังหวัด
สถาปตยกรรมมีทง้ั ที่เปนพืน้ ถิน่ พืน้ ถิน่ ประยุกตใหเขากับวัฒนธรรมไตใหญ และอาคารพาณิชยทั่วไป
ในตําบลนีว้ ัสดุกอสรางอาคารเปนวัสดุสมัยใหมนั้นคือ เปนผนังกออิฐ ฉาบปูน โครงสรางคอนกรีต
เสริมเหล็ก แตบริเวณรอบนอกตําบลหรือตําบลอื่นๆในจังหวัดนี้ยงั เปนอาคารไมจริงและเปนไมไผ
ในการสํารวจอาคารที่กอสรางดวยไมไผในจังหวัดแมฮอ งสอนไดแบงการสํารวจออกเปนสอง
พื้นที่คือ ต.ปางหมู อ.เมือง จ.แมฮองสอน และ บานแมสะกึด ต.ผาบอง อ.เมือง จ.แมฮองสอน ในการ
สํารวจพืน้ ที่อนื่ ๆพบวามีความคลายคลึงกันในสองพืน้ ที่นี้มากจึงใชสองตําบลเปนการศึกษาตัวอยาง
เรือนพืน้ ถิน่ ไมไผ ในจังหวัดแมฮองสอน
57

เรือนหลังที1่
บานแมสะกึด ต.ผาบอง อ.เมือง จ.แมฮองสอน

ภาพที่ 4.25 แสดง รูปทัศนียภาพเรือนไมไผ บานแมสะกึด หลังที่ 1

ลักษณะทัว่ ไป : เปนเรือนไมไผชั้นเดียวยกใตถุน ประกอบดวย ชาน หองโถง หองครัว


และหองนอน อายุของเรือนประมาณ10ป มีหองน้าํ แยกอยูตางหาก เจาของเปนหญิงชราชาวไตใหญ
อายประมาณ55ป เปนใบ มีอาชีพรับจางทําไรทาํ นา
โครงสราง : เปนโครงสรางไมทั้งหลังใชระบบเสาคาน โครงสรางรับน้าํ หนักหลักของเรือน
เปนไมเนื้อแข็ง สันนิษฐานวาเปนไมสกั และเสาไมสัก เสาไมขนาด10x10ซม. มีชวงพาดของคาน
ประมาณ1.5-2 ม.ดานลางเปนพืน้ ดินอัดแนน
คาน : เปนคานไมเนื้อแข็ง ใชตะปูยึดติดกับเสาไม ขนาดคานประมาณ 11/2”x4” และ 2”x5”
ตง : เปนไมขนาด 11/2”x4
ผนัง : เปนผนังไมไผสานแบบลายดอก ขนาดไมไผประมาณ 1ซม. ความกวางของแนวสาน
ประมาณ 12.5 ซม.
พื้น : เปนพืน้ ไมไผหนาประมาณ 1 ซม.
หลังคา : เปนโครงสรางไม วัสดุมงุ เปนสังกะสี
วิเคราะห : เรือนนี้ไมมชี องเปดทําใหภายในอับและชื้น การถนอมไมไผโดยวิธพี ื้นบานทํา
ใหไมไผมีความแข็งแรงนับสิบป
58

ภาพที่ 4.26 แสดง แปลนเรือนไม ภาพที่ 4.27 แสดง ผังโครงสรางพื้นเรือนไมไผ


ไผ บานแมสะกึด หลังที่ 1 บานแมสะกึด หลังที่ 1

ภาพที่ 4.28 แสดงรูปดานหนาเรือน


ไมไผ บานแมสะกึด หลังที่ 1

ภาพที่ 4.29 แสดงรูป


ดานขางเรือนไมไผ บาน
แมสะกึด หลังที่ 1
59

เรือนหลังที่ 2
บานใหม ต.ปางหมู อ.เมือง จ.แมฮองสอน

ภาพที่ 4.30 แสดง รูปทัศนียภาพเรือนไมไผ จ.แมฮองสอนหลังที่ 2

ลักษณะทัว่ ไป : เปนเรือนไมไผชั้นเดียว ประกอบดวย ชาน หองโถง หองครัว และ


หองนอน อายุของเรือนประมาณ5ป เจาของเปนชาวไตใหญ มีอาชีพรับจางทําไรทาํ นา ขณะไปสํารวจ
ชาวบานไปลงแขกทําไรอยูขางๆบานพัก ภายในเรือนมีการจัดพืน้ ที่อยางเปนสัดสวน แบงการใชงาน
โดยยกระดับพื้นของเรือนใหตางกัน หองครัวใชระดับพื้นดินที่ยกสูงจากพืน้ ถนน โถงกลางยกเปนชาน
สูงประมาณ 1.00 ม หองนอนยกจาโถงกลางอีก 0.10 ม. เปนการจัดพืน้ ที่ไดสวยงาม
โครงสราง : เปนโครงสรางไมทั้งหลังใชระบบเสาคาน โครงสรางรับน้าํ หนักหลักของเรือน
เปนไมเนื้อแข็ง เสาไมขนาด10x10ซม. มีชวงพาดของคานประมาณ2-2.5 ม.
คาน : เปนคานไมเนื้อแข็ง ใชตะปูยึดติดกับเสาไม ขนาดคานประมาณ 11/2”x4” และ 2”x5”
ตง : เปนไมไผ ศก. 3 ซม.@ 0.25 ม.
ผนัง : เปนผนังไมไผสานแบบขัดแตะ ขนาดไมไผประมาณ 1.5 ซม. ความกวางของแนวสานทาง
นอน ประมาณ 30ซม. ทางตัง้ ประมาณ 10 ซม.
พื้น : เปนพืน้ ไมไผหนาประมาณ 1 ซม.
หลังคา : เปนโครงสรางไมไผ วัสดุมุงเปนสังกะสี
วิเครคาะห : เปนเรือนที่มีการจัดพื้นที่ไดอยางสวยงาม แตการที่มีครัวไฟอยูในบานทําให
เกิดควน และความรอนใหกบั เรือน ผนงไมไผที่ใชมีความหนาและแข็งแรงมากแตไมสามารถกันน้ําได
60

ภาพที่ 4.32 แสดง แปลนหลังคาเรือนไมไผ จ.


ภาพที่ 4.31 แสดง แปลน
แมฮองสอนหลังที่ 2 ใชหลังคาสังกะสีในสวนหลักของ
เรือนไมไผ จ.แมฮองสอนหลัง
เรือน สวนยืนของเรือนใชหลังคามุงดวยใบตองตง
ที่ 2

ภาพที่ 4.33 แสดง รูปดานหนาเรือนไมไผ จ.แมฮองสอนหลังที่ 2

ภาพที่ 4.34แสดง แบบขยายรอยตอโครงสรางพื้นเรือนไมไผ จ.แมฮองสอนหลังที่ 2


61

เรือนหลังที่ 3
บานใหม ต.ปางหมู อ.เมือง จ.แมฮองสอน

ลักษณะทัว่ ไป : เปนเรือนไมไผชั้นเดียว
ประกอบดวย ชาน หองโถง หองครัว และ
หองนอน อายุของเรือนประมาณ3ป
เจาของเปนชาวจีนฮอ มีอาชีพรับจางทําไร
ทํานา ครอบครัวนี้อยูกนั 4 คน เรือนไมไผ
หลังนี้ตั้งอยูบนเชิงเขาที่ลาดชัน ดานหนา
เรือนเปนลําธารเล็กๆ เมื่อมองจาชานจะ
เห็นทิวทัศนของทองทุง และลําธาร จาก
ถนนที่จะเขามายังเรือนหลังนี้ตองเดินเลียบ
ลําธารและขามลําธารดวยไมกระดานเล็กๆ
จากการสอบถสามเจาของบานทราบวา
ตั้งใจเลือกที่ตงั้ นี้เพราะมีความสวยงามและ
อยูตนน้าํ แมจะหางจากบานหลังอื่นก็ตาม
การกอสรางเจาของบานรวมกับเพื่อนที่เปน
ชางที่อยูตางอําเภอรวมกันสรางใชเวลา สี่

ภาพที่ 4.35 แสดง ทัศนียภาพเรือนไมไผ จ.แมฮองสอนหลังที่ 3

โครงสราง : เปนโครงสรางไมทั้งหลังใชระบบเสาคาน โครงสรางรับน้าํ หนักหลักของเรือน


เปนไมเนื้อแข็ง เสาไมขนาด ศก.15ซม. มีชวงพาดของคานประมาณ1.5-2 ม. วางบนกอนหินขนาดใหญ
โดยไมมีการขุดหรือยึดเสาไวเลย
คาน : เปนคานไมเนื้อแข็ง ใชตะปูยึดติดกับเสาไม ขนาดคานประมาณ 11/2”x4” และ 2”x5”
ตง : เปนไมไผทอน ศก 3ซม.
ผนัง : เปนผนังไมไผสานแบบขัดแตะ ขนาดไมไผประมาณ 0.5 ซม. ความกวางของแนวสานทาง
นอน ประมาณ 10ซม. ทางตัง้ ประมาณ 10 ซม.
พื้น : เปนพืน้ ฟากไมไผหนาประมาณ 1 ซม.
หลังคา : เปนโครงสรางไมไผ วัสดุมุงเปนใบตองตึง
62

ภาพที่ 4.37 แสดง แปลนเรือนไมไผ จ.


แมฮองสอนหลังที่ 3

ภาพที่ 3.36 แสดง ทัศนียภาพเรือนไมไผ จ.แมฮองสอนหลังที่ 3


63

4.3 เรือนไมไผ อ.เวียงแหง จ. เชียงใหม

อ.เวียงแหง จ.เชียงใหม เปนอําเภอเล็กๆทีอ่ ยูติดชายแดน ไทย-พมา อ.เวียงแหงอยูห างจาก


ตัว จ.เชียงใหมระยะทางทางรถยนตประมาณ200 กม. ภูมิประเทศโดยทั่วไปเปนภูเขาสูง ถนนเปนทาง
ขดเคี้ยวและลาดชัน ตองใชเวลาประมาณ 3 ชั่วโมงในการเขาสูตัวเมืองเชียงใหม ในตัวอําเภอมีชาว
ไทยอาศัยอยูบ างและเปนทีร่ าบในหุบเขา โดยรอบๆเปนชาวไต ชาวเขา- มูเซอ ลีซอ และชนกลุมนอย
ตางๆ ในขณะนี้ (2545) บริเวณชายแดนก็ยังมีปญหาระหวางพมาและชนกลุม นอย และมีผลกระทบ
ตอชาวไทยที่อาศัยติดพรมแดน
ประชากรที่อยูใ นพืน้ ทีน่ ี้ มีหลายเชื้อชาติ หลายภาษา และหลากวัฒนธรรม ในการสํารวจ
ไดทําการสํารวจ หมูบ าน เลาวู ซึง่ เปนลีซอเผาหนึ่งอาศัยอยูบนยอดเขาอยูติดทางหลวงกอนถึง ตัว
อําเภอเวียงแหง เปนชุมชนขนาดใหญ ทีม่ ีการปกครองตนเองโดยใช ขนบธรรมเนียมของเผาอยาง
เครงครัด มีการจัดการของหมูบานโดยมีหอกระจายเสียงบอกขาวสารตางๆ แตบุคคลภายนอกทีต่ าง
ถิ่นเขามาจะไมไดรับการตอนรับอยางดี การหาขอมูลจึงเปนไปดวยความยากลําบาก การถายรูปเรือน
หรือผูคนไมไดรับการอนุญาตใหถาย ตองลักลอบเก็บขอมูลอยางรวดเร็ว จึงไมไดขอมูลจากชาวบาน
เลาวูมากนัก

ภาพที่ 4.38 แสดง ทัศนียภาพหมูบานเลาวู ชนเผาลีซอ อ.เวียงแหง จ.เชียงใหม


64

เรือนไผหลังที่1
หมูบานเลาวู อ.เวียงแหง จ.เชียงใหม

ภาพที่ 4.39 แสดงทัศนียภาพ เรือนไมไผ หมูบานเลาวู

ลักษณะทัว่ ไป : เปนเรือนไมไผชั้นเดียว ประกอบดวยหองโถงโลงๆหองเดียว ขนาด


ประมาณ 6x8ม. อายุของอาคารประมาณ 5ป เปนสถานรับเลี้ยงเด็กประจําหมูบานอยูใกลกับถนน
หลวง คาดวา อาคารและสถานทีท่ ี่เปนสาธารณะจะอยูใกลกับถนนใหญ
โครงสราง : เปนโครงสรางไมทั้งหลังใชระบบเสาคาน โครงสรางรับน้าํ หนักหลักของเรือน
เปนไมเนื้อแข็ง เสาไมขนาด15x15ซม. มีชวงพาดของเสาประมาณ 2.5 ม.
คาน : เปนคานไมเนื้อแข็ง ใชตะปูยึดติดกับเสาไม ขนาดคานประมาณ 2”x4”
ตง : เปนคานไมเนื้อแข็ง ขนาด 1/2”x4”
ผนัง : เปนผนังฟากไมไผหันผิวดานนอกของไมไผไปยังดานนอกของเรือน
พื้น : ดานนอกเรือนเปนพืน้ ดินอัดแนน ดานในเรือนเปนพืน้ ไมจริงหนาประมาณ 1 ซม.
หลังคา : เปนโครงสรางไมจริง อะเสไมขนาด 1/2”x4” วัสดุมุงเปนกระเบื้องซีเมนต
วิเคราะห : เนื่องจากเรือนไมไดยกพื้นสูงทําใหมีปญหาความชืน้ จากผิวดินมายังผนังไม
ไผทําใหเกิดเชือ้ รา สงผลใหผนังผุและมีรอยดําไมสวยงาม การใชฝาไมไผฟากตามตั้งเปนผนังดานนอก
เรือนทําใหเกิดการรั่วซึมจากน้ําฝนได
65

เรือนไมไผหลังที่2
หมูบานเลาวู อ.เวียงแหง จ.เชียงใหม

ภาพที่ 4.40 แสดงทัศนียภาพภายนอกเรือนไมไผหลังที่ หมูบานเลาวู


ลักษณะทัว่ ไป : เปนเรือนไมไผชั้นเดียวยกพืน้ สูงประมาณ 1.00 ม. ประกอบดวย ชาน
หองโถง หองครัว และหองนอนสองหอง อายุของเรือนประมาณ 4-5ป เจาของเปนชาวลีซอ ภายใน
เรือนมีการจัดพื้นที่อยางเปนสัดสวน หองครัวเปนสวนตอเติม ผสานการใชวัสดุตางๆกันตัง้ แตผนังไม
จริง ฝาฟากไมไผ ฝาไมไผสานขัดขั้นบันได ตลอดทั้งตงไมไผ และตงทอนไมจริง
โครงสราง : เปนโครงสรางไมทั้งหลังใชระบบเสาคาน โครงสรางรับน้าํ หนักหลักของเรือน
เปนไมเนื้อแข็ง เสาไมขนาด10x10ซม. มีชวงพาดของคานประมาณ2-2.5 ม.
คาน : เปนคานไมเนื้อแข็ง ใชตะปูยึดติดกับเสาไม ขนาดคานประมาณ 11/2”x4” และ 2”x5”
ตง : เปนไมไผและไมทอน ศก. 3 ซม.@ 0.25 ม.
ผนัง : มีทงั้ ฝาไมจริงขนาด1/2” x6” ผนังไมไผสานแบบขัดแตะ ขนาดไมไผประมาณ 1
ซม. ความกวางของแนวสานทาง และทางแนวนอนประมาณ 30ซม. ทางตั้งประมาณ 10
ซม.และฝาฟากมไผตามตั้งหันดานในของไผออกมานอกเรือน
พื้น : เปนพืน้ ไมไผหนาประมาณ 1 ซม.
หลังคา : เปนโครงสรางไมไผ วัสดุมุงเปนสังกะสี
66

วิเคราะห : เปนเรือนที่มีขนาดใหญเมื่อเทียบกับเรือนอื่นๆในหมูบาน แตดวยความ


หลากในการใชวัสดุ ทําใหสนั นิษฐานวาเจาของบานนาจะหาวัสดุเทาทีห่ าไดแลวคอยๆนํามาประกอบ
เปนตัวอาคาร เรือนทีม่ ีขนาดใหญนี้ก็ไมมหี นาตาง หรือชองระบายอากาศและใหแสงสวางเลย

ฝาฟากไมไผตามตั้ง
หันผิวไผดานใน
ออกมา

ภาพที่ 4.41 แสดงรูปดานหลังเรือน

ภาพที่ 4.42 แสดง


โครงสรางพื้นที่ใชตงไม
เนื้อแข็ง ขนาด 2”x4”
วางแนวนอนและใชไม
ทอนกลมรับพื้นฟากไม
ไผ
67

เรือนหลังที่3
หมูบานเลาวู อ.เวียงแหง จ.เชียงใหม

ลักษณะทัว่ ไป : เปนอาคารสูงชัน้
ขนาดประมาณ 5x5ม. อายุอาคาร
ประมาณ6-8ป อาคารมีสภาพทรุด
โทรมมากกวาอายุการใชงาน คาด
วามีการลื้อผนังชั้นลางออก แลวนํา
ฝาไมฟากมาเสริมแทน

ภาพที่ 4.43แสดง ทัศนียภาพเรือนหลังที่3


โครงสราง : เปนโครงสรางไมทั้งหลังใชระบบเสาคาน โครงสรางรับน้าํ หนักหลักของเรือน
เปนไมเนื้อแข็ง เสาไมขนาด20x20ซม. มีชวงพาดของคานประมาณ 4-5 ม.
คาน : เปนคานไมเนื้อแข็ง ใชตะปูยึดติดกับเสาไม ขนาดคานประมาณ 2”x5”
ตง : เปนไมจริง 2”x4” @0.4 ม.
ผนัง : เดิมเปนผนังไมจริงตีตามตั้ง ขนาด ½” x6” และใชผนังฟากไมไผตามตั้งหนา 0.5ซม ทีม่ ี
ความสูงไมเทา
กัน โดยหันผิวไมไผดานในออกนอกอาคาร
พื้น : เปนพืน้ ไมจริงหนาประมาณ 1 ซม.
หลังคา : เปนโครงสรางไมไผ วัสดุมุงดวยกระเบื้องซีเมนต
68

ฝา ผนังไมจริงตีตามตั้ง
ขนาด ½” x6”

ผนังฟากไมไผตามตั้งหนา
0.5ซม ที่มีความสูงไมเทา

ไมไผซีก ขนาด1/2”x 1”ยึด


ฟากไมไผ

ภาพที่ 4.44 แสดงรูปดาน


อาคาร

ไมไผซีก ขนาด1/2”x 1”ยึด


ฟากไมไผ

ผนังฟากไมไผตามตั้งหนา
0.5ซม หันผิวดานในของไม
ไผออกมา ทําใหเกิดเชื้อรา
และผุผังไดงาย

รอยแยกของฝาฟากไมไผ
ใชเศษไมมาปดไว
ภาพที่ 4.45 แสดงรูปดาน
อาคาร
69

เรือนไมไผหลังที่ 1
ต.แสนไห อ.เวียงแหง จ.เชียงใหม

ภาพที่ 4.46 แสดงเรือนไมไผหลังที่ 1 ต.แสนไห อ.เวียงแหง จ.เชียงใหม


ลักษณะทัว่ ไป : เปนเรือนไมไผชั้นเดียวยกใตถุน ประกอบดวย หองโถง หองครัว และ
หองนอน อายุของเรือนประมาณ3-5ป เจาของเปนชาวไตใหญ แตไดทิ้งบานไปอยูท ี่อื่นแลว
โครงสราง : เปนโครงสรางไมทั้งหลังใชระบบเสาคาน โครงสรางรับน้าํ หนักหลักของเรือน
เปนไมเนื้อแข็ง สันนิษฐานวาเปนไมสกั และเสาไมสัก เสาไมขนาด10x10ซม. มีชวงพาดของคาน
ประมาณ1.5-2 ม.ดานลางเปนพืน้ ดินอัดแนน
คาน : เปนคานไมเนื้อแข็ง ใชตะปูยึดติดกับเสาไม ขนาดคานประมาณ 11/2”x4”
ตง : เปนไมไผ ศก.3 ซม. @ 0.25 ม.
ผนัง : เปนผนังฟากไมไผตามตั้ง
พืน้ : เปนพืน้ ไมไผหนาประมาณ 1 ซม.
หลังคา : เปนโครงสรางไม วัสดุมงุ ดวยฟาง
วิเคราะห : เปนเรือนขนาดกลาง มีการจัดพื้นที่โดยใชการยกระดับพืน้ ใหตางกัน ในสวน
ของโครงสรางหลังคามีความนาสนใจเนื่องจากมีการประยุกตใชการการตอไมเพื่อรับน้ําหนักของ
หลังคาในการเปลี่ยนระดับหลังคา
70

ภาพที่ 4.47 แสดง แปลนเรือนไมไผหลังที่ 1 ต.แสนไห อ.เวียงแหง จ.เชียงใหม

ภาพที่ 4.48 แสดง รูปดานหนาเรือนไมไผหลังที่ 1 ต.แสนไห อ.เวียงแหง จ.เชียงใหม

ภาพที่ 4.49 แสดง รูปดานขางเรือนไมไผหลังที่ 1 ต.


แสนไห อ.เวียงแหง จ.เชียงใหม
71

เรือนไมไผหลังที่ 2
ต.แสนไห อ.เวียงแหง จ.เชียงใหม

ภาพที่ 4.50 แสดงเรือนไมไผหลังที่ 2 ต.แสนไห

ลักษณะทัว่ ไป : เปนเรือนไมไผชั้นเดียว ประกอบดวย ชาน หองโถง หองครัว และ


หองนอน อายุของเรือนประมาณ3-5ป มีหอ งน้าํ แยกอยูต างหาก เจาของเปนชาวไตใหญ
โครงสราง : เปนโครงสรางไมทั้งหลังใชระบบเสาคาน โครงสรางรับน้าํ หนักหลักของเรือน
เปนไมเนื้อแข็ง
คาน : เปนคานไมเนื้อแข็ง ใชตะปูยึดติดกับเสาไม ขนาดคานประมาณ 11/2”x4”
ตง : เปนไมจริง ศก.4 ซม. @ 0.4 ม.
ผนัง : เปนผนังฟากไมไผตามตั้ง
พืน้ : เปนพืน้ ไมไผหนาประมาณ 1 ซม.
หลังคา : เปนโครงสรางไม วัสดุมงุ ดวยฟาง
72

พื้นฟากไมไผตากแหงหนา 1ซม.

ตงไมจริงทอนกลม ศก. 4ซม.

คานไมเนื้อแข็ง 2”x4”

เสาไม ศก. 15ซม.

ภาพที่ 4.51 แสดงโครงสรางพื้นเรือน


ไมไผหลังที่ 2 ต.แสนไห

ภาพที่ 4.52
แสดงรูป
ดานหนาเรือน
73

เรือนไมไผหลังที่ 3
ต.แสนไห อ.เวียงแหง จ.เชียงใหม

ภาพที่ 4.53 แสดงทัศนียภาพดานนอกเรือนไมไผ หลังที่ 3 ต.แสนไห


ลักษณะทัว่ ไป : เปนเรือนไมไผชั้นเดียวยกใตถุน ประกอบดวย ชาน หองโถง ครัว และ
หองนอน อายุของเรือนประมาณ4-5ป มีหอ งน้าํ แยกอยูต างหาก เจาของเปนหญิงชราชาวไตใหญอาย
ประมาณ35ป มีอาชีพรับจางทําไรทํานา ครอบครัวมี 4 คน เรือนมีขนาดใหญ ใต ถุนเรือนใชเปนที่
เก็บของ บริเวณชานใชเปนที่นงั่ เลนและซักลาง
โครงสราง : เปนโครงสรางไมทั้งหลังใชระบบเสาคาน โครงสรางรับน้าํ หนักหลักของเรือน
เปนไมเนื้อแข็ง สันนิษฐานวาเปนไมสกั และเสาไมสัก เสาไมขนาด10x10ซม. มีชวงพาดของคาน
ประมาณ1.5-2 ม.ดานลางเปนพืน้ ดินอัดแนน
คาน : เปนคานไมเนื้อแข็ง ใชตะปูยึดติดกับเสาไม ขนาดคานประมาณ 2”x5”
ผนัง : เปนผนังฟากไมไผตามตั้ง เสริมความแข็งแรงดวยเคราไมผาผาซีก
พืน้ : เปนพืน้ ไมไผหนาประมาณ 1 ซม.
หลังคา : เปนโครงสรางไม วัสดุมงุ ดวยฟาง
วิเคราะห : การจัดพื้นที่ภายในจัดพืน้ ที่ไดอยางเปนสัดสวน การใชหลังคาคลุมเรือน
ไดอยางลงตัว ทัง้ ความสวยงามและโครงสราง สอบถามจากเจาของบาน ทราบวาตองจางชางฝมือ
ในหมูบา นมาสรางรวมทั้งอาศัยแรงงานของคนในบานดวย
74

ภาพที่ 4.54 แสดง แปลน เรือน ภาพที่ 4.55 แสดง แปลนหลังคา เรือนไมไผหลังที่ 3
ไมไผหลังที่ 3 ต.แสนไห ต.แสนไห

ฝาไมไผสานลายขัดแตะ
หนา 1 ซม. แนวนอนอกวาง
0.3 แนวตั้งกวาง 0.15 ม.

ตงไมไผ ศก.2.5 ซม.

ภาพที่ 4.569แสดงรูป
ดานหลัง
75

4.5 ลักษณะเรือนไมไผในพื้นที่โครงการพัฒนาดอยตุง
โครงการพัฒนาดอยตุงมีพื้นที่ประมาณ 150 ตารางกิโลเมตร ในเขตอําเภอแมฟาหลวง และ
อําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย ปจจุบัน มีชาวเขาในบริเวณพื้นที่โครงการฯ จํานวน 27 หมูบาน
ประกอบดวยชนกลุมนอยหลายเผาพันธุ ไดแก ไทยใหญ จีนฮอ ชาวเขาเผาอีกอ และเผามูเซอ ชาวบาน
เหลานี้มีการตั้งรกรากเปนหลักแหลงและมีการดํารงชีวิตที่แตกตางกันไป ชนกลุมนอยเหลานี้สวนใหญ
อพยพมาจากประเทศจีนและพมา ปจจุบันมีจํานวนประชากรทั้งหมดประมาณ 10,709 คน มี 2,582
ครัวเรือน (ขอมูลการสํารวจสภาพเศรษฐกิจ ประจําป 2545)
76

4.5.1 นโยบายการพัฒนาดอยตุง
สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงริเริ่มโครงการพัฒนาดอยตุง เมื่อกลางป พ.ศ. 2530
ดวยพระประสงค อันแนวแนที่จะทรงชวยฟนฟูสภาพปาเสื่อมโทรม ใหเปนปาที่สมบูรณอีกครั้ง โดยให
ทั้งปาและชุมชนที่อยูอาศัยดั้งเดิม อยูรวมกันได ตางพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน และทําใหประชาชนมี
คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โครงการพัฒนาดอยตุง มีพื้นที่ประมาณ 150 ตารางกิโลเมตร ในเขตอําเภอแมฟา
หลวง และอําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย มีสภาพปาเสื่อมโทรม เนื่องจากชาวเขาที่อาศัยอยูในพื้นที่ได
มีการตัดไมทําลายปา เพื่อนําที่ดินไปทําการเกษตร เนื่องจากบริเวณเหลานี้เปนปาตนน้ําทั้งสิ้น ทําใหมี
ความอุดมสมบูรณกวาที่อื่น วัตุประสงคของโครงการพัฒนาดอยตุง เปนไปตามแนวพระราชดําริของ
สมเด็จพระบรมราชชนนี ที่ตองการใหประชาชนและปาอยูรวมกันได ใหมีสภาพแวดลอมดีขึ้น มีการ
ปลู ก ป า ไม น านาพั น ธุ ให เ สมือ นปา ตามธรรมชาติ ปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพชี วิต ของชาวบา น ที่ อ ยู ใ นเขต
โครงการใหดีขึ้นทั้งดานสังคมและเศรษฐกิจ โดยมีวัตถุประสงค ดังนั้น
1. ยกระดับรายไดเฉลี่ยตอบุคคลและการกระจายรายได ของราษฎรในพื้นที่โครงการพัฒนา
ดอยตุงฯ โดยเนนการมีสวนรวมขององคกรภาคเอกชนและราษฎรในพื้นที่
2. พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ของราษฎรในพื้ น ที่ โ ครงการพั ฒ นาดอยตุ ง ฯ ในด า นการศึ ก ษา
สาธารณสุข สวัสดิการสังคม ใหอยูในระดับเทาเทียมเกณฑเฉลี่ยของประเทศ และใหมี
ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน
3. จัดระเบียบชุมชนและระบบการปกครองใหเปนไปตามกฎหมาย พรอมกับสงเสริมความ
ตื่นตัวตอระบอบประชาธิปไตย อันมีสถาบันพระมหากษัตริยเปนศูนยรวมจิตใจ
4. พัฒนาเชิงอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอมตามแนวพระราชดําริ
5. อนุรักษขนบธรรมเนียมประเพณีของเผาตางๆ ที่อาศัยอยูในพื้นที่โครงการฯ ใหคงไวใน
ขณะที่การพัฒนาดานตางๆ ยังคงดําเนินไปอยางไมหยุดยั้ง
6. พัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวในพื้นที่โครงการพัฒนาดอยตุงฯ ใหเปนแหงทองเที่ยว
ระดับประเทศและนานาชาติ ที่มีธรรมชาติอันสวยงาม และสิ่งแวดลอมที่เอื้อตอความสุข
สมบูรณของรางการและจิตใจ
โครงการพัฒนาดอยตุงนั้น มีการกําหนดระยะเวลาของการพัฒนาไว 30 ป ตั้งแตป พ.ศ.2531-
2560 โดยแบงการดําเนินงานเปน 3 ระยะ ดังนี้
แผนพัฒนาระยะที่ 1 ระหวางป 2531 - 2536
จุดมุงหมายเพือ่ หยุดยัง้ การทําไรเลื่อนลอย และการปลูกฝนของชาวเขาดวยการเริ่มโครงการ
สรางความเขาใจ ไมวาจะเปนกับเจาหนาทีท่ ี่ตองปฏิบตั ิงานในโครงการและกับชาวบาน เพื่อใหเกิด
ความรวมมือรวมใจ ตลอดจนวางรากฐานทางกายภาพ ไดแก ถนน แหลงน้ํา ไฟฟา และพัฒนา
77

คุณภาพชีวิตดวยการสรางงาน ปรับปรุงสาธารณสุข การศึกษา เพื่อจะใหประชาชนอยูดีกินดีขึ้นระดับ


หนึง่
แผนพัฒนาระยะที่ 2 ระหวางป 2537 - 2545
จุดมุงหมายเพือ่ สงเสริมอาชีพที่เหมาะสมกับสภาพภูมิประเทศ อนุรกั ษสิ่งแวดลอมอยางเปน
ระบบและตอเนื่อง ตลอดจนพัฒนาระบบการผลิตใหสามารถแขงขันกับ ในตลาดระดับชาติและสากล
ได มีเปาหมายใหราษฎรในพื้นที่มีรายไดเฉลี่ยไมต่ํากวา 30000 บาทตอคน ตอป สาระสําคัญอยางหนึง่
ในการดําเนินการของแผนระยะที่ 2นี้คือการพัฒนาโครงการฯ ใหเปนแหลงทองเที่ยวที่มมี าตรฐานใน
ระดับสากล โดยเนนนิเวศนทัศนาจร (ECO-TOURISM) และอนุรักษศิลปวัฒนธรรมประจําเผาใหคงไว
แผนพัฒนาระยะที่ 3 ระหวางป 2546 - 2560
จุดมุงหมายคือการที่ราษฎรในพืน้ ที่สามารถพึ่งตนเองไดในการดํารงชีพ ดวยการอนุรกั ษ
สิ่งแวดลอมอยางเปนระบบ สามารถควบคุมตนเองในระดับหมูบา นได และขยายผลในเชิงการปกครอง
ใหสอดคลองกับกฎหมายไทย และเมื่อราษฎรมีรายไดดีแลว สามารถเสียภาษีคนื สูรัฐไดเชนเดียวกับคน
ไทยทัว่ ประเทศ

นโยบายการพัฒนาที่อยูอาศัย (ขอกําหนดเรื่องที่อยูอาศัย)
1
การก อสร างบ านเรือ นที่อยูอาศัย และการประกอบอาชีพ เกษตรกรรมของราษฎรในเขต
โครงการพัฒนาดอยตุง เดิมมีลักษณะของการทําไรแบบเลื่อนลอย มีการยายหมูบานและพื้นที่ทํากิน
บ อ ยๆ ทุ ก ป ซึ่ ง เป น การตั ด ไม ทํ า ลายป า อย า งต อ เนื่ อ ง แต ใ นป จ จุ บั น โครงการพั ฒ นาดอยตุ ง ได
กําหนดใหราษฎรกอสรางบานเรือนอยูเปนหลักแหลง และประกอบอาชีพเกษตรกรรมอยูในพื้นที่เดิม
โดยมีเจาหนาที่เกษตรมาใหคําแนะนําเรื่องการเกษตรแผนใหม ดังนั้นฝายพัฒนาสังคม สํานักงาน
ประสานงานโครงการพัฒนาดอยตุงฯ จึงเห็นสมควรใหมีการจัดระบบการเขาอยูอาศัยและทํากินใหแก
ราษฎร ในการพิจารณาการจัดพื้นที่อยูอาศัยและทํากิน จะพิจารณาการจัดระบบใหสอดคลองกับระบบ
นิเวศนวิทยา โดยมุงหวังใหคนอยูรวมกับปาไดอยางเหมาะสม โดยโครงการฯ มีนโยบายคาเชาพื้นที่อยู
อาศัยจากราษฎรในอัตรา 1 หลังคาเรือนละ 1 บาทตอป และพื้นที่ทํากินในอัตราไรละ 1บาทตอป
เพื่อใหราษฎรมีความรับผิดชอบและมีสวนรวมกับโครงการฯ ตามวัตถุประสงคของโครงการพัฒนาดอย
ตุง.

1
สัมภาษณ สมเกียรติ ปนน้ํา, หัวหนาฝายขอมูล ฝายพัฒนาสังคม โครงการพัฒนาดอยตุง, 21 พฤศจิกายน 2545
78

4.5.2 การสํารวจภาคสนาม
การสํารวจภาคสนาม ระหวางวันที่ 28 กค.-1 สค. 2545 ทําการสํารวจภาคสนามและ
สัมภาษณ*หมูบ านตอไปนี:้ บ.ผาบือ, บ.ปางหนุนพัฒนา, บ.ปาซางแสนสุดแดน, บ.ปายางมูเซอ,บ.
สามัคคีเกา
สํารวจหมูบาน ดังนี้ : บ.เปน บ.หวยไรสามัคคี , บ.หวยปูใหม, บ.หวยน้ําขุน , บ.มูเซอลาบา
ประเด็นในการสํารวจภาคสนามดังนี้
1. สภาพทางกายภาพทั่วไปของหมูบา น
2. ลักษณะอาคารในหมูบา นนัน้ ๆ
3. การใชวัสดุในการกอสรางอาคาร
4. เทคนิคการกอสรางอาคาร
5. ปญหาทางเทคนิคการกอสราง

ตัวอยางเรือนที่กอสรางดวยไมไผ
1.บานหวยน้าํ ขุน

หมูบานหวยน้ําขุน เปน
หมูบานที่มีพื้นที่ราบและอยู
ปากทางขึ้นโครงการพัฒนา
ดอยตุง การคมนาคม
สะดวก บานเรือนสวน
ใหญเปนกออิฐฉาบปูน

ภาพที่ 4.57 แสดงสภาพทั่วไปหมูบานหวยน้ําขุน

หลังคามุงหญาคา

ผนังไมไผสานสําเร็จรูปวาง
บนซีเมนตบล็อค

ภาพที่ 4.58 แสดงเรือนที่ใชผนังไมไผสานสําเร็จรูปกับเสาคอนกรีต


สําเร็จรูป
79

2.บานหวยไรสามัคคี

หลังคากระเบื้องลอนคู

ผนังซีเมนตบล็อคฉาบปูน
ทาสี

พื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก

ภาพที่ 4.59 แสดงโรงเรียนสอนภาษาจีน

ภาพที่ 4.60 แสดงโรงเรียนสอนภาษาจีน

บานหวยไรสามัคคีเปนหมูบา นชาวจีนอพยพ และอยูใกลกับบานหวยน้ําขุน ทําใหไมหางไกล


ความเจริญมากนักและชาวบานโดยสวนใหญมีฐานะดีมาก บานเรือนสวนใหญเปนอาคารกออิฐ
ฉาบปูน โครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็กเกือบทั้งหมูบา น และไมมีบานที่ใชไมไผอยูเลย
80

3.บานผาบือ

หลังคามุงหญาคา

ผนัง ไมไผสาน

เสาไมไผ

คอนกรีตเสริมเหล็ก
สําเร็จรูป

ภาพที่ 4.61 แสดงบานพักรับรองของโบสถ ศาสนาคริสต

ภาพที่ 4.62 แสดงเรือนไมไผในหมูบาน ภาพที่ 4.63 แสดงการสรางถังเก็บน้ําคสล.

หมูบานผาบือเปนหมูบานทีอ่ ยูบนสันเขาหางใกลจาก พระตําหนักดอยตุงประมาณ 6-


7 กม. เสนทางที่เขาหมูบานขดเคี้ยว มีบานแบบดั้งเดิมของชาวอาขา 1 หลัง มีบานไมไผและบานที่
ใชวสัดุภายนอกเชน ซีเมนตบล็อค สังกะสี เสา คสล.สําเร็จรูปในจํานวนรใกลเคียงกัน
81

4. บานมูเซอลาบา

หลังคามุงหญาคา

ผนังไมอัด

เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก

ภาพที่ 4.64 แสดงเรือนไมไผประยุกตในหมูบาน

หลังคามุงหญาคา

ผนังไมไผซางสับฟาก

พื้นไมไผทั้งลํา

ภาพที่ 4.65 แสดงเรือนไมไผในหมูบาน

ภาพที่ 4.66แสดงโรงประชุมประจําหมูบาน ภาพที่ 4.67แสดงวัสดุที่ใชสรางโรงประชุม

หมูมูเซอลาบาอยูหางจากพระตําหนักดอยตุงประมาณ5-6 กม. ตั้งอยูบนเนินเขา มีบา นที่สราง


ดวยไมไผทั้งทีใ่ ชไมไผทั้งหลัง และใชผสมกับวัสดุอื่นๆมีพบเห็นทั่วไป
82

5.บานปาซางแสนสุดแดน

หลังคามุงหญาคา

ผนังไมไผซางสับฟาก

พื้นไมไผทั้งลํา

ภาพที่ 4.68แสดงเรือนไมไผทั้งหลังในหมูบาน

ผนังไมไผเฮียะสาน

ยกพื้นจากระดับดิน

ภาพที่ 4.69แสดงเรือนภายในไมไผในหมูบาน

ผนังไมไผเฮียะสาน

ตงไมไผซางเสียบกับกับ
คานไมไผซาง

ภาพที่ 4.70 แสดงโครงสรางพื้น

หมูบานปาซางแสนสุดแดนอยูหางไกลจาก พระตําหนักดอยตุงมาก ประมาณ20 กม. ทําใหการ


คมนาคมไมสะดวกวัสดุกอสรางใหมๆไมคอยมีในหมูบา นนี้ มีเพียง 2 หลังเทานั้นที่มีการกอผนังซีเมนต
บล็อค
83

7.บานปางหนุนพัฒนา

หลังคามุงหญาคา

ผนังดินมีแกนเปนไมไผ

พื้นดินอัดแนน

ภาพที่ 4.71 แสดงบานดินโครงไมไผของจีนฮอ

ดินแดง

แกนไมไผ

ภาพที่ 4.73 แสดงโครงผนังดินของจีนฮอ

ภาพที่ 4.72 แสดงโครงหลังคาไมไผของจีนฮอ

หมูบานปางหนุนพัฒนาเปนหมูบานที่อยูตดิ ชายแดนไทย-พมาอยูพระตําหนักดอยตุงมาก
ประมาณ20 กม. ทําใหการคมนาคมไมสะดวกวัสดุกอ สรางใหมๆไมมีพบเห็นในหมูบานนี้ ยกเวน
สิ่งกอสรางของทางราชการเทานั้น
84

จากการสํารวจภาคสนามทัง้ หมูบา นและสัมภาษณกลุม ตัวอยางหมูบ านละสามหลังคาเรือน


สามารถสรุปเบื้องตนไดดังนี้
1. สภาพทางกายภาพทั่วไปของหมูบาน
สภาพทัว่ ไปของหมูบา นตางๆมีลักษณะตางกันตามภูมิประเทศความหางไกลของหมูบานจาก
ชุมชนเมือง และความเชื่อตามชนเผาของหมูบานนั้นๆ สามารถแบงเปนชนผาตางๆไดดังนี้
เผาอาขา: บ.ปางหนุนพัฒนา, บ.ปาซางแสนสุดแดน, บ.สามัคคีเกา
เผามูเซอ : บ.ปายางมูเซอ, บ.มูเซอลาบา, บ.หวยปูใหม
เผาจีนฮอ: บ.หวยไรสามัคคี,บ.ปางหนุนพัฒนา,บ.เปน

2. การใชวสั ดุในการกอสรางอาคาร สามารถแบงออกเปน 3 ลักษณะดังนี้


.ใชวัสดุทองถิน่ ทัง้ หมด คือ การใชเสาไมเนื้อแข็ง พื้นและผนังจากไมไผ หลังคามุงดวยหญาคา
โครงสรางหลังคาเปนไมไผ
ใชวัสดุผสมระหวางวัสดุในทองถิ่นและวัสดุใหม คือการใชวัสดุใหมเชนคอนกรีตเสริมเหล็กเปน
โครงสรางรับน้าํ หนัก หลังคามุงสังกะสีหรือกระเบื้องลอนคู แตองคอาคารบางสวนเปนไมไผ เชนพืน้
หรือผนัง
ใชวัสดุใหมทั้งหมด คือใชวัสดุกอสรางที่เปนวัสดุสําเร็จรูปที่มีการผลิตนอกพืน้ ทีโ่ ครงการพัฒนา
ดอยตุงทัง้ หมด

3. เทคนิคการกอสรางอาคารดวยไมไผ
ไผเปนวัสดุทหี่ าไดงายในพืน้ ที่โครงการพัฒนาดอยตุง สามารถนํามาใชเปนสวนประกอบของ
อาคารไดดังนี้
พื้นฟากไมไผ : ไผซาง
ฝาผนังฟากไมไผ : ไผซาง
ฝาผนังไมไผสาน : ไผเฮี้ยะ
โครงสรางรับน้าํ หนัก : ไผซาง,ไผตง
ใชเทคนิคที่ถายทอดกันมาตามเผาของที่ตงั้ ชุมชนนัน้ ๆทําใหพนื้ ที่โครงการพัฒนาดอยตุงมีความ
หลากหลายในการกอสรางอาคารดวยไมไผ
มีการประยุกตเทคนิคการกอสรางตามวัสดุ และความสะดวกในการกอสรางนัน้ ๆ(ใชภูมิปญญา
เฉพาะตัว)
ไมมีการถายทอดเทคนิคขามเผา
85

4. สภาพปญหาทางเทคนิค
ไมมีการถนอมรักษาไมไผ ทั้งกอนและหลังการกอสราง ทําใหมอดและแมลงกัดกินไผ
แนวทางการแกไข : ใหขอมูลและเผยแผเทคนิคการถนอมรักษาไมไผโดยวิธีตางๆ
ไมมีการถายทอดเทคนิคทีม่ อี ยูในทองที่และรับเทคนิคอืน่ ๆ เนื่องจากชาวบานในหมูบานนั้นๆใช
เทคนิคที่ถายทอดกันมาในหมูบานทําตามกันมาเรื่อยๆ แมจะทราบขอเสียก็ตาม
แนวทางการแกไข : นําเสนอขอดีและขอเสียของเทคนิควิธีตางๆในการกอสรางอาคารดวยไมไผ
และเลือกวิธที เี่ หมาะสมกับชุมชน
ชาวบานไมมคี วามรูความเขาใจในการเลือกองคประกอบของโครงสรางอาคาร ทําใหอาคารบาง
หลังไมแข็งแรงหรือบางหลังใชวัสดุโครงสรางที่เกินพอดี
แนวทางการแกไข : นําหลักการรับแรงและการถายแรงงาย และแนะนําองคประกอยทีถ่ ูกตอง
ใหแกชางในหมูบาน
วัสดุบางชนิดในทองที่ เริ่มขาดแคลน เชนหญาคาที่ใชเปนวัสดุมุง หรือไมเนื้อแข็งที่ใชทําเสา
อาคารไมสามารถตัดไดในพืน้ ที่ปา สงวน
แนวทางการแกไข : หาวัสดุทดแทน
องคประกอบบางชนิด เริ่มไมเหมาะสมกับวิถีชิวิตปจจุบันของชาวบานบางกลุม เชนมีการใชตูเย็น
ทําใหโครงสรางพืน้ ไมไผแบบยกพืน้ ไมสามารถรับน้ําหนักได
แนวทางการแกไข : ใชโครงสรางที่สามารถรับน้ําหนักและเหมาสมกับกับการวิถีชีวติ แบบใหมได
86

บทที่ 5
การวิเคราะหแนวทางเพื่อการออกแบบ

การวิเคราะหแนวทางเพื่อการออกแบบเปนการนําขอมูลที่ไดจากการสํารวจภาคสนามและจากขอมูลปฐมภูมิ
อื่นๆมาวิเคราะหเทคนิคการกอสรางอาคารดวยไมไผโดยคํานึงถึงลักษณะหนาที่การใชงานเปนหลัก แลวจึงวิเคราะห
ขอดีและขอเสียตามหนาที่นั้น แบงตามองคประกอบการกอสรางได ดังนี้
1. เสาและฐานราก
2. พื้นและโครงสรางพื้น
3. ฝาผนัง
4. โครงหลังคาและวัสดุมุง
5. ขอตอไมไผในองคประกอบอาคาร

องคประกอบ การใชงาน ขอดี ขอเสีย หมายเหตุ


1.เสา - ใชเปนฐาน 1. สวนใหญ รับ 1. มีปญหาจาก -พบในที่สถานที่
1.1 เสาไมเนื้อแข็งสี่เหลี่ยม รากและเสาใน แรงอัดทางดิ่ง ความชื้นจาก ที่ทําการสํารวจ
อาคารขนาดเล็ก ไดประมาณ ผิวดินทําใหไม แตในบานที่มี
รับน้ําหนักบรรทุก ผุไดงาย ฐานะดี
ปานกลาง 2. สามารถบาก 2. ปลวกและมอด
- ชวงขนาด 2-4 ม. และฝากโครง กัดกิน
สรางพื้นได 3. ปจจุบันตองซื้อ
ไมจากรานคา
ทําใหยากใน
การจัดหา
1.2 ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก - ใชเปนฐานราก 1. สามารถ 1. บริเวณรอยตอ - พบในหมู บาน
เสาไมเนื้อแข็ง และเสาในอาคาร แกปญหา ระหวางเสา มูเซอใน อ.เวียง
ขนาดเล็กรับ ความชื้น และ คอนกรีตและ แหง
น้ําหนักบรรทุก ปญหามอด เสาไมตองใช - พบใน บ.เปน
ปานกลาง และปลวกกัด ชางที่มีความ อ.แมฟาหลวง
- ชวงขนาด 2-4ม. กิน ชํานาญ จ.เชียงราย
87

องคประกอบ การใชงาน ขอดี ขอเสีย หมายเหตุ


1.3เสาไมไผ - ใชรับน้ําหนัก 1.หางายใน 1.ในจุดที่ตองรับ - พบในหมู บาน
อาคารขนาดเล็ก ทองถิ่น น้ําหนักมากหรือ มอญ อ.สังขละ
รับน้ําหนักบรรทุก มีหลายโครง บุรี จ.
นอย สรางตองใชไมไผ กาญจนบุรี
- ชวงพาด1-2 ม. หลายลําทําให เพียงหลังเดียว
- ไผ 1 ลําเปนเสา 2.เมื่อทําเปนฐาน เทานั้น
รับน้ําหนัก 1 รากจะเกิดปญหา
โครงสรางเทานั้น จากความชื้นและ
ปญหาจากแมลง
ได

1.4 เสาไมเนื้อแข็ง - ใชเปนเสาและ 1. ชาวบานหาเสา 1. อาจเกิดการ - พบตามบานที่


ฐานรากอาคาร ลักษณะนี้ได โกงของเสา เปนเรือนไมไผ
ขนาดเล็กรับ งาย เพราะมี 2. ปญหาความ ทั้งหลังเปนสวน
น้ําหนักบรรทุก ขนาดไมใหญ ชื้นและจาก ใหญ
นอย มาก ปลวกและมอด
- ใชไมที่ตัดจากปา ได
หรือปกไมมาทํา

1.5 เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก - ใชเปนเสารับ 1. รับน้ําหนัก 1. ไมสามารถ สวนใหญพบใน


สําเร็จรูป โครงสรางหลังคา ไดมาก เชื่อมกับโครง บานที่ประยุกต
และใชเปนที่ยึด สรางพื้นได คลายบานทั่วไป
กับผนัง 2. ราคาสูงเมื่อ แลว เชนใน
- ใชกับบานที่ไมมี เทียบกับเสา บ.ปาขาวมูเซอ
โครงสรางพื้นยึด อื่นๆ บ.สามัคคีเกา
กับเสา อ.แมฟาหลวง
จ.เชียงราย
88

องคประกอบ การใชงาน ขอดี ขอเสีย หมายเหตุ


1.6 เสาทอซีเมนตหุมดวยฟากไม - ใชเปนเสาภายใน - พบในภูใจใส
ไผ - ใชเปนเสารับ รีสอรท
น้ําหนักโดยหลอ
คอนกรีตและ
เสริมเหล็กเขาไป

1.7 เสาไมไผตงเสริมคอนกรีต - ใชเปนเสารับ 1. รับน้ําหนัก 1. การทะลวง


โครงสรางของ ไดมาก ปลองไมไผเพื่อ
อาคาร เทคอน กรีตเขา
ไปไดลําบาก
2. ตองเลือกไมไผ
ที่มีเสนผา
ศูนยกลาง
ขนาดใหญ15-
20 ซม. ลําตน
ตรง
89

องคประกอบ การใชงาน ขอดี ขอเสีย หมายเหตุ


1.8 เสาคอนกรีตเสริมไมไผ - ใชเปนโครง สรางรับ 1. รับน้ําหนัก 1. ตองใชฝมือ
น้ํา หนักอาคาร ไดมาก ชางที่มี
2. มีความ ความถนัด
คงทนถาวร โดยเฉพาะ
3. หลอเปน 2. ไมไผที่นํามา
รูปรางตางๆ ใชตอ งผาน
ได การถนอม
รักษาตามวิธี
ตางๆกอน

องคประกอบ การใชงาน ขอดี ขอเสีย หมายเหตุ


2.พื้น - พื้นเรือน 1. วัสดุในทองถิ่น 1. รับน้ําหนักได - ระยะของ ตง
2.1พื้นฟากไมไผวางบนตงไมไผ - พื้นระเบียง 2.สรางไดเร็ว นอย ขึ้นอยูกับขนาด
ซีก 3. แรงงานไมตอง 2. พื้นแอนงายไม ของความหนา
ชํานาญ เรียบ ของฟากไมไผ
3. มีรูระหวางแผน
ฟาก

2.2 พื้นฟากไมไผวางบนตงไม - พื้นเรือนที่มีการ 1. วัสดุในทองถิ่น 1. รับน้ําหนักได - 2 มีการใชไม


ไผ รับน้ําหนักมาก 2.สรางไดเร็ว นอย ไผครึ่งซีกรับพื้น
3. แรงงานไมตอง 2. พื้นแอนงายไม
ชํานาญ เรียบ
3. มีรูระหวางแผน
ฟาก
90

องคประกอบ การใชงาน ขอดี ขอเสีย หมายเหตุ


2.3 พื้นคอนกรีตเสริมไมไผ - พื้นเรือนทั่วไป 1. มีความ 1. ตองใชวัสดุ - ไมไผที่ใชเสริม
- พื้นหองน้ํา แข็งแรงรับ จากตางพื้นที่ ในคอน กรีตตอง
- ถนน น้ําหนักไดมาก 2. ใชแรงงานมาก ผานการตาก
2. อายุการใชงาน 3. ตองมีการ แหงและทา
นาน ควบคุมการ สารเคมีเคลือบ
3. ซึมน้ําไดยาก ผลิตคอนขาง ไวแลว
สูง - ไมที่ใชเสริม
4. ราคาแพง ตองวางหงาย
เพื่อใหคอน กรีต
ผสมไดทั่วแผน
พื้น
2.4 พื้นไมไผซีก - ใชเปนพื้นทั่วไป 1. สวยงาม 1. ตองคัดเลือก - ถาทําให
2. แข็งแรงตาม ไมไผที่มีขนาด บริเวณ โดย
ความขนาดไม เทากัน การขัดดอก
ไผ

2.5 พื้นไมไผทอน - ใชเปนพื้นระเบียง 1. สามารถรับ 1. บริเวณผิวโคง


- ใชเปนพื้นใน น้ําหนักได มาก - ทําใหมีเศษ
บริเวณที่ตองรับ โดยมีความ ฝุนหรือ
น้ําหนักมาก แอนตัวของพื้น สิ่งของตกไป
นอย คางได
- เดินไม
สะดวก
2. ตองเลือกทอน
ไมไผ ที่มี
ขนาดเทาๆกัน
91

องคประกอบ การใชงาน ขอดี ขอเสีย หมายเหตุ


3. ฝาผนัง - ใชเปนผนังกั้น 1. แข็งแรง 1. มีรูระหวาง -พบในหนังสือ
3.1 ฝาไมไผทั้งลํา พื้นที่ใชสอย 2. มีความ ทอนไมไผ จึง Bali Style
ภายใน จําเปน สวยงาม ไมเหมาะใช
ตองมีกรอบไมมา เปนผนัง
รองรับทอนไมไผ ภายนอก
แตละทอน 2. มีน้ําหนักมาก

3.2 ฝาฝากไมไผตามนอน - ใชเปนผนังกัน 1. สรางไดรวดเร็ว 1. ไมกันฝน - พบในเรือน


ภายในเรือนเปน 2. ใชแรงงานนอย 2. แมลงสามารถ 1,2
สวนใหญ 3. น้ําหนักเบา เขามาตามรอย - การยึดฝากกับ
- มีบางแหงใชเปน แตกของฝาก เคราโดยใชเชือก
ฝาภาย นอก หรือลวด
สําหรับเรือน เหล็ก
ชั่วคราว
- ตองมีเคราตั้ง @
1 ม.

3.3 ฝาฝากไมไผตามตั้ง - เชนเดียวกับผนัง 1. สรางไดรวดเร็ว 1. ไมกันฝน - พบใน 3 ซึ่ง


ตามนอน 2. ใชแรงงานนอย 2. แมลงสามารถ สวนใหญจะหัน
- ตองมีเครานอน 3. น้ําหนักเบา เขามาตามรอย ดานในของไผ
@ 0.8 ม. แตกของฝาก ออกสูดานนอก
เรือนทําใหเกิด
การผุ เนื่องจาก
โดนแดด-ฝน
และแมลงกินได
92

องคประกอบ การใชงาน ขอดี ขอเสีย หมายเหตุ


3.4 ฝาสานละเอียด - ใชเปนผนัง 1. กันน้ําและ 1. ใชเวลาและ - พบใน Dr.Joaquin
ภายในและ แมลงได แรงงานมาก O.Siopongco
ภายนอก 2. สวยงาม 2. ตองใชโครง Techology manual
- ตองมีกรอบโครง 3. น้ําหนักเบา เคราจึงจะทํา on bamboo as
เคราเพื่อใชความ ใหผนังแข็งแรง building material
แข็งแรงแกผืน 3. ทนแรง หนา 37
ผนัง กระแทกเปน - บางแหงทําเปน
จุดไมได ฝาเพดานใน
รานอาหารใน จ.
ลําปาง
3.5 ฝาสานลายเสื่อลําแพน - ใชเปนผนัง 1. มีความ 1. ใชเวลาและ - ใน 1 มีการใช
ภายนอกของ แข็งแรง แรงงานมาก ฝาลักษณะนี้
เรือน 2. สวยงาม คอนขาง มากมี
3. สามารถกันน้ํา การใช
ไดถาไมไผที่ น้ํามันเครื่องทา
สานไมหนา เพิ่มความ
มากเกินไปและ ทนทานแกไม
มีการยาแนว ไผ
รอยตอ - 2 บางหลังใช
ไมไผที่มีความ
หนามาก
(ประมาณ 1.5
ซม. แถบสาน
ประมาณ0.3
ม.) ทําใหผนังมี
ความแข็งแรง
แตรอยตอมี
ชอง วางมาก
จึงไมกันน้ํา
และแมลง
93

องคประกอบ การใชงาน ขอดี ขอเสีย หมายเหตุ

3.6 พื้นไมไผสาน -ใชเปนพื้นทั่วไป 1. สวยงาม 1. ตองใชเวลา


2. แข็งแรง, แนน และแรงงาน
มาก

3.7ผนังไมไผสานตามนอน - ใชในผนังที่ 1. ใชเวลาและ 1. ไมกั้นน้ํา


ตองการความ แรงงานไมมาก 2. ไมบังสายตา
โปรง 2. ระบายอากาศ
- ทํารั้วบาน ไดดี
,ระเบียง

3.8ฝาไมไผฟากฉาบปูน - ใชเปนผนัง 1. กั้นความชื้น 1. ตองวางบน - ไมไผที่นํามา


หองน้ํา และอากาศได พื้นดินหรือคาน ใชเปนฟากภาย
- ใชเปนผนังหองที่ 2. ทําใหไมไผมี คอนกรีตเสริม ในตองผานการ
ตองการความ อายุการใชงาน เหล็กหรือไมไผ ปอง กันการดูด
แข็งแรงหรือกัน นานกวาเดิม 2. มีน้ําหนักมาก น้ําจากคอนกรีต
ความ ชื้น 3. คงทนถาวร 3. ตองใชแรงงาน - ฝาไมไผฟาก
ที่มีทักษะทาง ภายในจะไม
งานปูน คอยจับคอน
กรีต,ปูนทราย
ที่มาฉาบเพราะ
ผนังเรียบกินไป
- ใชผนังไมไผ
สานแบบหาง
ปูนจะกะได
มากกวาไมไผ
ฟาก
94

องคประกอบ การใชงาน ขอดี ขอเสีย หมายเหตุ


3.9 ผนังดินโครงไมไผฉาบ - ใชเปนผนัง 1. ผนังมีความ 1. มีน้ําหนักมาก - ดัดแปลงจาก
สําหรับเรือนที่วาง แข็งแรง 2. ตองวางบนดิน Building with
บนดินหรือมีคาน 2. ใชเปนผนังรับ หรือโครงสราง Bamboo ,
คอนกรีตเสริมไม น้ําหนักของ ที่รับน้ําหนัก Jules JA.
ไผรับ เรือนได ผนังนี้ได Jansen, หนา
3. เปนฉนวนกัน 3. อาจมีแมลง 31
ความรอน หรือปลวกอยู
ในดินที่นํามา
อัดเกิดกัดกิน
ไมไผได
3.10ผนังคอนกรีตเสริมไมไผ - ผนังคอนกรีต 1. แข็งแรง 1. ตองใชไมแบบ
ผนังดินเสริมไมไผ เสริมไมไผใชเปน 2. มั่นคงทนทาน 2. ตองมีทักษะใน
ผนังรับน้ําหนัก การใชคอนกรีต
- ใชในผนังที่ 3. มีน้ําหนักมาก
ตองการความ
มั่นคงแข็งแรง

3.11 ฝาไมไผผาครึ่ง - ใชเปนฝาผนัง 1. มีความ 1. ตองใชไมไผ


เรือนหรือรั้วที่ แข็งแรงมาก ทอนที่มีขนาด
ตองการความ 2. สวยงาม เทาๆกัน จึงจะ
แข็งแรง สวยงาม
- สามารถเปนผนัง 2. มีน้ําหนักมาก
รับน้ําหนักได
95

องคประกอบ การใชงาน ขอดี ขอเสีย หมายเหตุ


3.12 ฝาไมไผสานโครงเคราไม - ใชเปนกั้นหอง 1. สามารถเปด 1. ตองเพิ่มความ
เนื้อแข็ง ภายในอาคาร ชองเปดเปน แข็งแรงของฝา
หนาตางได ดวยการเสริม
2. มีขนาดและ โครงเครา
ลักษณะที่สราง 2. ตองใชชางไมที่
เปนผนัง มีความชํานาญ
สําเร็จรูปได

องคประกอบ การใชงาน ขอดี ขอเสีย หมายเหตุ


4. วัสดุมุงหลังคา
4.1 หลังมุงแฟก - ใชมุงหลังคากัน 1. หาไดงายใน 1. ไมมีความ - ใน อ.เวียงแหง
แดดฝนใหอาคาร ทองถิ่น ทนทาน แฟกที่ใชไมไดมี
มีน้ํา- หนักเบาจึง 2. ราคาถูก 2. น้ําฝนรั่วซึมได การมัดเปนตับ
ตองมีไมไผ ยึด- 3. ใชเวลาและ งาย
หนีบไว ทรัพยากรใน 3. เกิดความชื้น
การผลิตนอย และเชื้อรา

4.2 หลังคามุงดวยไมไผหงาย - ใชมุงหลังคาให 1. หาไดงายใน 1. เมื่อโดนแดด- - พบใน


ปลายแหลม น้ําไหลมาตาม ทองถิ่น ฝนจะเกิดคราบ หนังสือ
ความโคงของไม 2. ราคาถูก สีดําไหมและ Bali Style
ไผ 3. ระบายน้ําไดดี เกิดการผุกรอน โดย
4. มีความ 2. Slope หลังคา Riohelmi
สวยงาม ที่ไมชันมากจะ & Barbara
เกิดน้ําฝนไหล Walker
ยอนไดงาย หนา 101-
103
96

องคประกอบ การใชงาน ขอดี ขอเสีย หมายเหตุ


4.3 หลังคามุงกระเบื้องลอนคู - ใชมุงหลังคาที่มี 1. มีความ 1. ในทองถิ่นยัง - พบใน 1 , 2 ,
ชวงแป 1-1.2 ม. แข็งแรง ผลิตไมได 3 ในบานของ
ทนทานตอ 2. มีราคาสูงกวา คนที่มีฐานะดีใน
สภาพอากาศ วัสดุที่หาไดใน หมูบาน
2. ระบายน้ําไดดี ทองถิ่น
3. มีอายุการใช 3. ตองใชการ
งานนานหลาย ขนสงทําให
ป เสียเวลา

4.4 - ใชเปนหลังคาใน 1. ปองกันน้ํา 1. ใชวัสดุมุง


ภูใจใน รั่วซึมได ซ้ําซอนกัน ทํา
รีสอรต (ใช 2. ระบายความ ใหสิ้นเปลือง
ใบตองตึงเปน รอนไดดีกวา 2. ตองใชแรงงาน
วัสดุมุงสุดทาย) หลังคาสังกะสี ที่มีฝมือและ
3. ลดเสียง ความเขาใจใน
รบกวน เวลา การกอสราง
ฝนตก โดยใช
หญาคาเปน
วัสดุมุงชั้น
สุดทาย
∴รักษา
เอกลักษณของ
หลังคาพื้นถิ่น
ได
4.5 - ใชเปนหลังคา 1. ปองกันการ 1. หลังคาหญาคา - พบในบ.เปน
เพื่อแกปญหา รั่วซึมจาก ไมสามารถระบาย อ.แมฟาหลวง
รั่วซึมของหลังคา หลังคามุงดวย อากาศไดทําให จ.เชียงราย
มุงหญาคา หญาคาได อากาศรอน
2. พลาสติกไม
สามารถยึดอยูกับที่
ไดจากปญหาลม
และพายุ
97

องคประกอบ การใชงาน หมายเหตุ


5.1 การยึดโครงสรางไมไผแบบตางๆ

5.1.1 ขอตอทางตั้ง -ใชเปนขอตอในโครงสรางเสา - สามารถทํารอยตอได


ขอตอทางตั้งแบบที่ 1 ตอกับคาน หรือเสาตอกับขื่อ งายโดยใชมีดปลายแหลม
หรืออะเสในโครงหลังคา ใชรอง บากแลวใชสวานเจาะที่
ที่บากไวเปนสวนรองรับไมไผ เสา ใชเชือกรอยมัดให
ทางนอนไมใหหลุดจากเสา ที่รับ แนน
น้ําหนักมากและในกรณีที่เสา
และคานมีขนาดใกลเคียงกัน
ขอตอทางตั้งแบบที่ 2 - ใชเปนขอตอในโครงสรางเสา - เสาตองมีขนาดใหญกวา
ตอกับคาน หรือเสาตอกับขื่อ คานมาก
หรืออะเสในโครงหลังคา

ขอตอทางตั้งแบบที่ 3 - ใชเปนขอตอในโครงสรางเสา - เสาตองมีขนาดใหญกวา


ตอกับคาน หรือเสาตอกับขื่อ คานมาก
หรืออะเสในโครงหลังคา

ขอตอทางตั้งแบบที่ 4 - ใชเปนขอตอในโครงสรางเสา - เสามีขนาดใกลเคียงกับ


ตอกับคาน หรือเสาตอกับขื่อ คาน
หรืออะเสในโครงหลังคาที่มี - ไมเหมาะกับโครงสราง
น้ําหนักเบา ที่ตองรับนาหนักมาก
- ใชเปนขอตอในราวระเบียง
98

องคประกอบ การใชงาน หมายเหตุ


ขอตอทางตั้งแบบที่ 5 - ใชเปนขอตอในโครงสรางเสา
ตอกับคาน หรือเสาตอกับขื่อ
หรืออะเสในโครงหลังคา ใน
กรณีที่เสามีขนาดเล็กกวาคาน
มากโดยใชสองเสาเล็กรับคาน
ใหญ

ขอตอทางตั้งแบบที่ 6 - ใชเปนขอตอในโครงสรางเสา
ตอกับคานที่ขึ้นไปรับโครงสราง
หลังคา

ขอตอทางตั้งแบบที่ 7 - ใชเปนขอตอในโครงสรางเสา - ใชคานรัดเสาที่ไปรับ


ตอกับคานที่ขึ้นไปรับโครงสราง หลังคาใหแนนขึ้น
หลังคา

ขอตอทางตั้งแบบที่ 8 - ใชเปนขอตอในโครงสรางเสา
ตอที่ขึ้นไปรับโครงสรางหลังคา
กับคาน

ขอตอทางตั้งแบบที่ 9 - ใชเปนขอตอในโครงสราง
เสาตอกับคาน หรือเสาตอ
กับขื่อหรืออะเสในโครง
หลังคาที่มี น้ําหนักเบา
-

องคประกอบ การใชงาน หมายเหตุ


99

ขอตอทางตั้งแบบที่ 10 - ใชเปนขอตอในโครงสรางเสา
ที่ขึ้นไปรับโครงสรางหลังคา
ตอกับคานที่ลดระดับ

ขอตอทางตั้งแบบที่ 11 - ใชเปนขอตอในโครงสรางเสา
ที่ขึ้นไปรับโครงสรางหลังคา
และเสารับโครงสรางพื้นตอกับ
คานที่ลดระดับ

5.1.2 ขอตอทางนอน
ขอตอทางนอนแบบที่ 1 - ใชในโครงสรางพื้น ในชวงคาน
หรือ ตงที่ลดระดับ

ขอตอทางนอนแบบที่ 2 - ใชเปนขอตอในเครื่องเรือน

ขอตอทางนอนแบบที่ 3 - ใชเปนขอตอในเครื่องเรือน
100

องคประกอบ การใชงาน หมายเหตุ


ขอตอทางนอนแบบที่ 4

- ใชเปนขอตอในคานหรือตงให
ขอตอทางนอนแบบที่ 5 อยูในแนวเดียวกัน

ขอตอทางนอนแบบที่ 6 - ใชเปนขอตอในคานหรือตงให - ใชไมไผทอนเล็กอัด


อยูในแนวเดียวกัน ใหพื้นผิวที่ ระหวางกลาง
ตออยูในขนาดเดียวกัน

ขอตอทางนอนแบบที่ 7 - ใชเปนขอตอในคานหรือตงให - ใชไมไผทอนใหญ


อยูในแนวเดียวกัน ระหวางกลาง

ขอตอทางนอนแบบที่ 8 - ใชเปนขอตอในคานหรือตง

5.1.3 ขอตอในโครงหลังคา - ใชเปนขอตอในโครงหลังคา


ขอตอในโครงหลังคาแบบที่ 1 ระหวางจันทันและแป
101

องคประกอบ การใชงาน หมายเหตุ


ขอตอในโครงหลังคาแบบที่ 2

ขอตอในโครงหลังคาแบบที่ 3 - ใชเปนขอตอในโครงหลังคา
ระหวางจันทันและแป

ขอตอในโครงหลังคาแบบที่ 4

5.1.4 ขอตอตั้งฉาก
ขอตอตั้งฉากแบบที่ 1

- ใชเปนขอตอในเครื่องเรือน
ขอตอตั้งฉากแบบที่ 2

ขอตอตั้งฉากแบบที่ 3
102

องคประกอบ การใชงาน หมายเหตุ


ขอตอตั้งฉากแบบที่ 4

- ใชเปนขอตอในเครื่องเรือน

ขอตอตั้งฉากแบบที่ 5
103

บทที่ 6

การออกแบบและกอสรางอาคารตัวอยางโครงการพัฒนาดอยตุง

จากการสํารวจภาคสนามและวิเคราะหขอ มูลทําใหทราบถึงลักษณะและปญหาการกอสราง
อาคารดวยไมไผ ในพืน้ ทีโ่ ครงการพัฒนาดอยตุง และมีแนวทางการแกปญหาดังกลาวโดยการ
ออกแบบองคประกอบอาคารแลวทดลองสรางจริง โดยใชแรงงานคนงานในทองถิ่น และจัดอบรมเผย
แผความรูการกอสรางอาคารดวยไมไผ ใหกับผูน ําและชางประจําหมูบ านในพืน้ ทีโ่ ครงการพัฒนาดอย
ตุง จํานวน 26 หมูบา น(24-26 ตค.2545)

6.1 สภาพปญหาการกอสรางอาคารดวยไมไผและแนวทางแกไข

6.1.1 ฐานรากและเสา
ปญหาที่ตองแกไข แนวทางการปรับปรุงแกไข ขอจํากัด
1.เสาไมไผขนาดเล็ก 1.ใชเสาไมไผโปกØ15-20ซม.หรือมัดเสาไมไผเล็ก - การมัดหรือยึดลํา
(Ø3-5ซม.)รับน้ําหนักได เขาดวยกันเพือ่ เพิ่มหนาตัดของเสาใหมากขึ้น ไผแตละลําตองแนน
อาจใชสลักและมัด
นอย แรงอัดประลัย 260
ดวยเชือกมะนิลา
กก./ ตรซม.

2.ใชเสาดินเหนียวเสริมไมไผ - ตองใชอัดดินให
แนน การกระทุงอัด
ดินอาจทําได
คอนขางยาก
- ไมไผฟากที่พัน
รอบเสาดินอาจปริ
หรือแตกได
3.ใชผนังรับน้าํ หนัก - ตองวางผนังบน
ดินหรือบนคาน
คอนกรีตเสริมไมไผ
เนื่องจากผนังมี
น้ําหนักมาก
104

6.1.1 ฐานรากและเสา
ปญหาที่ตองแกไข แนวทางการปรับปรุงแกไข ขอจํากัด
1.เสาไมไผขนาดเล็ก 4.ใชเสาไมจริงที่มีขนาดเหมาะสม - หายากในพื้นที่
(Ø3-5ซม.)รับน้ําหนักได เนื่องจากหามตัดไม
นอย 260 กก./ตรซม. (ตอ)

5.ใชเสาคอนกรีตเสริมไมไผในกรณีที่ตองรับน้ําหนัก - ใชทักษะชางมาก
มาก - ใชคาใชจายและ
เวลาขนสงสูง

2.ปญหาความชื้นจากดิน 1.ทาน้ํายากันปลวกและน้ํายารักษาเนื้อไม
และปลวก
2. ใชตอมอคอนกรีตยกสูงจากพืน้ ดิน - ใชทักษะชางมาก
- ใชคาใชจายและ
เวลาขนสงสูง

3.ปญหามอดและแมลงกิน 1.ทําการตัดและถนอมไมไผตามธรรมชาติอยางถูก
ไม วิธี ( แชน้ํา21วันตากแดด 7 วัน หรือเผาไฟ)
2. อบไมไผในโรงอบไม 14 วัน
3. ใชสารเคมีเคลือบรักษาผิวไม เชน น้าํ มันวานิช - สารเคมีอาจมี
แลกเกอร ผลกระทบตอ
สภาพแวดลอม
105

6.1.2 โครงสรางพื้นและพืน้
ปญหาที่ตองแกไข แนวทางการปรับปรุงแกไข ขอจํากัด
1. ตงไมไผและพื้นไมไผ 1.ใชตงไมไผซางหรือไมไผรวกดํา Ø 3-5 ซม. @ 0.20- - ไมควรพาดตงไม
ฟากแอนเมื่อรับน้ําหนัก 0.25 ม. และใชเสาค้ํายันเมือ่ ตงพาดเกิน2.00ม. ไผ Ø 3-5 ซม. เกิน
2.00ม.
เปนจุด(น้าํ หนักคนเดินหรือ
ชั้นวางของ)

2.ใชตงคูหรือระยะของตงใหถี่ขึ้น

3.ใชตงรวกดําผาครึ่ง Ø 5-7 ซม.วางติดกัน - ตองเลือกใชที่ลํา


คอนขางตัน

4.ใชไมไผซางหรือไมไผรวกดํา Ø 3-4 ซม. ทั้งลําเปน - ตองใชไมไผที่มีลํา


พื้นวางตง หรือ Ø 5-7ซม. วางบนคานไมไผ คอนขางตรงและ
ขนาดลําที่เทากัน
106

6.1.2 โครงสรางพื้นและพืน้
ปญหาที่ตองแกไข แนวทางการปรับปรุงแกไข ขอจํากัด
1. ตงไมไผและพื้นไมไผ 5.ใชพื้นดินอัดแนนเปนพืน้ เพื่อรับน้ําหนักมากเชน - ตองยกพื้นบานที่
ฟากแอนเมื่อรับน้ําหนัก ตูเย็น ถังแกส เปนดินใหสูงกวา
พื้นที่ดานนอกเพื่อ
เปนจุด(ตอ)
กันน้ําทวม
- มีปญหาเรื่อง
ความชื้นและแมลง
6.ใชพื้นคอนกรีตเสริมไมไผ วางบนดิน หรือวางบน - ถาตองการยกพื้น
โครงสรางเสา-คานคอนกรีตเสริมไมไผ ตองวางบน
โครงสรางคอนกรีต
ในพืน้ หองน้าํ สามารถใชพนื้ คอนกรีตเสริมไมไผ
เสริมไมไผหรือเสริม
หลอกับที่เพื่อปองกันน้าํ รั่วได
เหล็ก ทําใหตองใช
ทักษะชาง

2.รอยตอระหวางตงกับ 1. บากตงบริเวณรอยตอกับคานแลวมัดดวยเชือก - ตองบากไมเกิน ¼


คานไมมนั่ คงแข็งแรง หรือใสสลัก และรอยตอระหวางคานกับเสารับพื้นก็ ของตงเพราะ
เนื่องจากไมไผมีลักษณะ ใชวิธีบากเชนกัน ไมเชนนั้นจะทําให
พื้นที่รับแรงลดลง
เปนทรงกระบอก

2. รอยตอระหวางตงและคานที่มโี ดนฝนไมควรใช
ตะปูตอก ใชเชือกหรือการเขาเดือยแทน
107

6.1.2 โครงสรางพื้นและพืน้
ปญหาที่ตองแกไข แนวทางการปรับปรุงแกไข ขอจํากัด
3.พื้นไมไผสับฟากมีรูทําให 1. ใชเสื่อหรือตอกสานละเอียดวางลงบนพื้นไมไผสับ
สิ่งของเล็กๆตกลงไปใตถุน ฟากอีกชั้นหนึง่
พื้น

2. ใชไผตงหรือไผอกที่มีความหนาประมาณ1 ซม.ผา - การใชแรงงงาน


ซีกและเหลาใหไดฉาก ตีเปนไมกระดานปูพื้น คนทีใ่ ชมีดเหลาอาจ
ทําใหไผซีกมีความ
ตรงไดยากควรใช
กบไสขนาดเล็ก

4.ปญหามอดและแมลงกิน 1.ทําการตัดและถนอมไมไผตามธรรมชาติอยางถูก
โครงสรางพื้น วิธี ( แชน้ํา21วันตากแดด 7 วัน หรือเผาไฟ)
2. อบไมไผในโรงอบไม 14 วัน
3. ใชสารเคมีเคลือบรักษาผิวไม เชน น้าํ มันวานิช - สารเคมีอาจมี
แลกเกอร ผลกระทบตอ
สภาพแวดลอม
108

6.1.3 ผนัง
ปญหาที่ตองแกไข แนวทางการปรับปรุงแกไข ขอจํากัด
1. ผนังไมไผสับฟากไม 1. ทําโครงเคราตั้งและเครานอน(ไผรวกดําหรือไผ
แข็งแรง ซาง)เสริมความแข็งแรงใหกบั ไมไผที่บุผิว

2. ใชไมไผทั้งลําทําเปนผนัง ใชตีทางตัง้ หรือตาม - ในผนังที่ไม


นอนตามความเหมาะสม ตองการความ
แข็งแรงมากใชไผ
เฮี๊ยะเพราะมี
น้ําหนักเบาแตเนื้อ
บาง

3.ใชผนังไมไผฉาบซีเมนตหรือฉาบดินผสมซีเมนต - ไมไผที่ใชตองทา
ในผนังหองน้าํ หรือผนังไมรับน้ําหนัก น้ํายากันซึมไมให
ดูดน้ําจากซีเมนต
- ตองมีลวดกรงไก
ติดทับหนา
- ขณะฉาบตองใช
ซีเมนตที่เหนียวและ
ใชมืออัดใหติดผนัง

4.ใชผนังคอนกรีตเสริมไมไผในโครงสรางผนังรับ - ไมไผที่ใชตองทา
น้ําหนัก น้ํายากันซึมไมให
ดูดน้ําจากคอนกรีต
- ตองวางผนังบน
คานคอนกรีตเสริม
ไมไผหรือวางบน
พื้นดิน
109

6.1.3 ผนัง
ปญหาที่ตองแกไข แนวทางการปรับปรุงแกไข ขอจํากัด
2.ผนังโดยทัว่ ไปไมมี 1. ทําโครงเคราไมไผ ยึดวงกบไมไผ กับหนาตางบาน
หนาตาง ทําใหบานไมได เปด เพื่อรับลมและแสง
รับแสงธรรมชาติ และไม
ระบายอากาศ

2.ทําโครงเคราไมไผยึดชองแสงเหนือระดับสายตา
ในผนังทึบ
3.ทําโครงเคราไมไผยึดยึดวงกบไมไผกับหนาตาง
บานเกล็ดเพื่อระบายอากาศ เชนในหองครัว ใช
ระบายควันจาการหุงตมอาหาร
3.รอยตอผนังไมไผสับฟาก 1.ใชไผโปกผาซีกครอบมุม
ตรงมุมไมกนั น้ํา

2.ใชตอกสานละเอียดเปนผนังเสียบเขาไปในเสา
110

6.1.3 ผนัง
ปญหาที่ตองแกไข แนวทางการปรับปรุงแกไข ขอจํากัด
4.ผนังสับฟากไมไผเมื่อใช 1.ใชไผเฮี๊ยะสานลายขัดแตะตีใหแนนยึดดวยโครง
ภายนอกจะไมกันน้ํา เครา ทาเคลือบผิวดวยน้ํามันวานิช

2.ใชตอกสานละเอียดทําเปนผนังสองชัน้ ยึดดวย
โครงเครา

5.ปญหามอดและแมลงกิน 1.ทําการตัดและถนอมไมไผตามธรรมชาติอยางถูก
ผนัง วิธี ( แชน้ํา21วันตากแดด 7 วัน หรือเผาไฟ)
2. อบไมไผในโรงอบไม 14 วัน
3. ใชสารเคมีเคลือบรักษาผิวไม เชน น้าํ มันวานิช - สารเคมีอาจมี
แลกเกอร ผลกระทบตอ
สภาพแวดลอม
111

6.1.4 โครงหลังคาและวัสดุมุง
ปญหาที่ตองแกไข แนวทางการปรับปรุงแกไข ขอจํากัด
1.หลังคาที่มงุ ดวยหญา 1. ใชตับหญาคาซอนทับกันอยางถูกวิธี ระยะหาง - หญาคาในพื้นที่
คาเปนตับไมคงทน ประมาณ0.15-0.20 ม. โครงการ พัฒนา
ดอยตุงเริ่มคลาด
แคลน

2.ใชหลังคาหญาคาเปนมัดมุงแบบเผามูเซอ-เผาจีนฮอ

3.ใชหลังคามุงดวยไมไผผาซีกหรือผา สี่สว น - ควรใชไผที่มี


ขนาดใกลเคียงกัน
- การเรียงหลังคา
ไมไผ ตองเรียง
ตามแบบ เพื่อ
ปองกันน้ํารั่ว

4.รองแผนพลาสติก หรือสังกะสีใตแป เพือ่ ปองกันน้าํ รั่ว - การใชพลาสติก


แตยังคงไดรูปลักษณหลังคาเชนเดิม ทําใหเกิดความ
รอน เนื่องจาก
ไมไดระบาย
อากาศ
112

6.1.4 โครงหลังคาและวัสดุมุง
ปญหาที่ตองแกไข แนวทางการปรับปรุงแกไข ขอจํากัด
1.หลังคาที่มงุ ดวยหญา 5. ใชหลังคากระเบื้องซีเมนต เพื่อความทนทานตอสภาพ - ไมไดใชวัสดุใน
คาเปนตับไมคงทน(ตอ) อากาศ พืน้ ที่ ทําใหราคา
กอสรางอาจสูงขึ้น

2.โครงสรางหลังคาไม 1.ใชโครงสรางที่ถา ยน้ําหนักอยางถูกตองตามหลักการ


มั่นคงแข็งแรง กอสราง
2.ใชไมไผใหถกู ตองตามขนาดและความแข็งแกรง ใน
โครงสรางหลังคานั้นๆ เชน ใชไผโปก,ไผซางหรือไผฮก Ø
10-15 ซม. ในโครงสราง อะเส,ขื่อ, ดั้ง หรือ อกไก
และใชไผ ซาง,ไผรวกดํา Ø 3-7 ซม. หรือแลวแตความ
เหมาะสมในโครงสรางนัน้ ๆ
113

6.2 แนวความคิดในการออกแบบ
7. ใชวัสดุที่มีอยูในพื้นที่โครงการพัฒนาดอยตุง ผสมผสานกับวัสดุใหม ใหมีเหมาะสมกับการ
กอสรางในปจจุบันและอนาคต
1.1 วัสดุที่มีอยูในพื้นที่โครงการพัฒนาดอยตุง เชน
- ไมไผ, ไผซาง,ไผตง, ไผโปก, ไผฮก, ไผไร
- หญาคา
- หญาแฝก
- ดิน
- หินแมน้ํา ลําธาร
1.2 วัสดุใหม เชน
- ปูนซีเมนต
- ตะปูเหล็ก
- เชือกมะนิลา
- ไมอัด
- น้ํายาเคมีรักษาเนื้อไม

8. ออกแบบอาคารตัวอยางสอดคลองในการพัฒนาที่อยูอาศัย ในพื้นที่โครงการพัฒนาดอยตุง
ใหมีความเหมาะสมกับสภาพภูมิประเทศ สภาพภูมิอากาศ และปจจัยการเปลี่ยนแปลงทาง
สังคมในปจจุบัน
2.1 ออกแบบอาคารตัวอยาง ใหมีพื้นที่ใชงานรองรับกับสภาพสังคมปจจุบัน จัดใหมี
หองนอน2 หอง, หองน้ํา 1 หอง,หองครัว1 หอง,และพื้นที่พักผอน เพื่อใชเปนเรือนรับรองใหกับ
แขกของโครงการพัฒนาดอยตุง
2.2 ออกแบบโดยใชระบบประสานทางพิกดั ใชขนาดพิกัดมูลฐานที่ 0.60 ม. เพื่อเปน
แนวทางในการผสานการใชวัสดุสําเร็จรูปอื่นๆที่มีขายในทองตลาดเชน แผนยิปซั่มบอรด ไมอัด
หรือกระเบื้องปูพื้น โดยใชหนึ่งหนวยของไมไผสาน ขนาด 1.20x0.60ม.

9. ออกแบบองคประกอบอาคารโดยใชวัสดุและเทคนิคการกอสรางที่หลากหลายในอาคารโดย
เนนเทคนิคที่ใชแรงงานคนเปนสําคัญ เพื่อทดลองรูปแบบและวิธีการกอสรางที่เหมาะสม
3.1 ออกแบบองคประกอบอาคารใหสามารถแกปญหาที่พบในการกอสรางดวยไมไผ
ตามขอ 6.1ได
114

3.2 สรางทางเลือกการใชวัสดุและเทคนิคการกอสราง โดยออกแบบองคประกอบ


อาคารใหสามารถใชวัสดุและเทคนิคอื่นทดแทนกันได
3.3 ออกแบบชิ้นสวนผนังไมไผใหเปนระบบผนังกึ่งสําเร็จรูป โดยผลิตในโรงเก็บของ
และยกไปติดตั้งในพื้นที่กอสราง เพื่อพัฒนาการผลิตชิ้นสวนผนังเปนระบบอุตสาหกรรมใน
ทองถิ่น
3.4 เลือกใชโครงสรางใหสามารถรับน้ําหนักตามการใชงานนั้นๆได เชน หองครัวจะมี
น้ํา หนั ก ที่ก ดเป น จุ ด เช น น้ํ า หนั ก ของตู เ ย็น เตาแกส อ า งล า งจาน เป น ต น จึ ง ควรเลื อ กใช
โครงสรางคอนกรีตเสริมไมไผ หรือวางบนพื้นดินอัดแนน
4.ออกแบบอาคารใหสามารถใชเปนสื่อในการอบรมการกอสรางอาคารดวยไมไผ สูพื้นที่โครงการ
พัฒนาดอยตุง และนํามาประกอบเปนที่อยูอาศัยจริงได

ภาพที่ 6.1 แสดงแบบแปลน รูปดานและทัศนียภาพอาคารตัวอยาง


115

6.3 การเลือกใชองคประกอบอาคาร
จากสภาพปญหาการกอสรางอาคารดวยไมไผและแนวทางแกไข ผนวกกับแนวความคิดในการ
ออกแบบ ขางตนนํามาวิเคราะหเลือกใชองคประกอบอาคารไดดังนี้

ภาพที่ 6.2แสดง แปลนกอสรางอาคารตัวอยาง

องคประกอบอาคาร หมายเลข ความหมาย พื้นที่ที่ใชงาน


1. ฐานรากและเสา 1 ฐานรากคอนกรีตเสริมไมไผและเสา หองครัวและหองน้าํ
คอนกรีตเสริมไมไผ0.18x0.18ม
2 เสาไมไผโปกØ0.15-0.20 ม.วางลง รับหลังคาหองนอน 1
ในหลุมลึก0.80ม.กลบดวยหินเบอร และ2
2
3 เสาไมไผโปกØ0.20-0.225 ม.วางลง รับพื้นและหลังคาชาน
ในหลุมลึก0.80ม. เทดวยคอนกรีต พักผอน
4 เสาไผฮก Ø0.12-0.15 ม..วางลงใน รับพื้นหองนอน 1,2
หลุมลึก0.80ม.กลบดวยหินเบอร 2 และระเบียง
116

องคประกอบอาคาร หมายเลข ความหมาย พื้นที่ที่ใชงาน


2. พืน้ และโครงสราง 1 พื้นไมไผซางผาซีก 1x5 ซม.บนตงไม ระเบียงหนาหองนอน
พื้น ไผรวกดํา Ø8ซม.@0.25ม.ทาน้ํายา
กันปลวก
2 พื้นไมไผซางสับฟากวางบนตงไมไผ หองนอน 2
รวกดํา Ø8ซม.@0.25ม.ทาน้าํ ยากัน
ปลวก ปูทับดวยตอกสานสําเร็จรูป
ขนาด 1.20x1.20ม.
3 พื้นไมไผรวกดําทัง้ ลํา Ø8ซม. วาง ระเบียงหนาหองครัว
บนคาน
4 พื้นคอนกรีตเสริมไมไผ หนา 10 ซม. พื้นหองน้ํา
หลอกับที่วางบนคานคอนกรีตเสริม
ไมไผ
5 พื้นคอนกรีตเสริมไมสําเร็จรูป ขนาด หองครัว
0.60x2.40ม.วางบนคานคอนกรีต
เสริมไมไผ
6. พื้นไมไผรวกดําทัง้ ลํา Ø8ซม.ทา ระเบียงหนาหองครัว
น้ํายากันปลวก วางบนคาน
7 พื้นไมไผซางสับฟากวางบนตงไมไผ หองนอน 1
รวกดํา Ø8ซม.@0.25ม.ทาน้าํ ยากัน
ปลวก ปูทับดวยไผอัดสําเร็จรูป
8 พื้นไมไผซาง1x3 ซม.สานวางบนตง ระเบียง
ไมไผซาง Ø12ซม.@0.30ม.ทาน้ํายา
กันปลวก
9 พื้นไมไผซางทัง้ ลํา Ø10ซม.ทาน้ํายา ระเบียง
กันปลวก วางบนคาน
117

องคประกอบอาคาร หมายเลข ความหมาย พื้นที่ที่ใชงาน


3.ผนัง 1 ผนังไมไผเฮี๊ยะทั้งลํา ประตูบานเปด หองนอน1
และหนาตางบานเลื่อน
2 ผนังไมไผ ประตูบานพลิก หองนอน1
3 ผนังไมไผ หนาตางบานเปด หองนอน1
4 ผนังไมไผ หนาตางบานเปด หองนอน2
5 ผนังซีเมนตไมไผสาน หองน้ํา
6 ผนังไมไผ หนาตางบานเกล็ดไมไผ หองครัว
ติดตาย
7 ผนังไมไผ หนาตางบานเกล็ดไมไผ หองครัว
ปรับมุม
8 ผนังไมไผซางผิวลนไฟ หองครัว
9 ผนังไมไผซางทาฟลิ้นโคสแปะบน หองครัว
ซีเมนต
10 ผนังไมไผเฮี๊ยะสาน ขนาดขยายตาม หองนอน1
พิกัดมูลฐาน
11 ผนังไมไผซางทาฟลิ้นโคสฉาบดวย หองน้ํา
ซีเมนต
12 ผนังไมไผซางผาซีก Ø10ซม.ทาฟลิน้ หองน้ํา
โคสฉาบดวยดินผสมซีเมนต
13 ผนังไมไผซางผาซีก Ø10ซม.ตามตั้ง หองนอน2
ทาฟลิ้นโคสแปะบนดินผสมซีเมนต
4.หลังคา 1 หลังคามุงดวยไมไผผาซีก หองครัว, หองน้ํา
2 หลังคามุงดวยไมไผผาซีกซอนใต หองนอน1,ชานพักผอน
ดวยสังกะสีแผนเรียบ
3 หลังคามุงดวยหญาคาซอนใตดวย หองนอน2
สังกะสี
118

1. ฐานรากและเสา 1 ฐานรากคอนกรีตเสริมไมไผและเสาคอนกรีตเสริมไมไผ0.18x0.18ม

หองครัวและหองน้าํ

แนวความคิดในการ - เนื่องจากตองรับน้ําหนักพื้นคอนกรีตเสริมไมไผสําเร็จรูปจํานวน 4 ชิ้น(1400 กก.)ของ


เลือกใช หองครัวและพื้นคอนกรีตเสริมไมไผหลอกับที่ของหองน้ําและน้ําหนักของสิ่งของเชนตูเย็น
ทําใหตองเลือกใชโครงสรางฐานรากและเสาคอนกรีตเสริมไมไผ เพื่อรองรับน้ําหนักที่ถาย
จากพื้นแลวถายลงสูพื้นดินตอไป
กรรมวิธีกอสราง - ใชไมไผรวกแดงที่ตัดมาแลวประมาณ 30 วัน ผานกรรมวิธีถนอมไมดวยวิธีธรรมชาติ(แช
น้ํา14วันตากแดด14วัน) นําไมไผที่ไดขนาดมาทาฟลิ้นโคส เพื่อไมไมไผดูดน้ําในเนื้อ
คอนกรีต ใชคอนกรีตอัตราสวน 1 : 2 : 1.5 ผสมปูนบนพื้นดิน
- ใชไมอัดยางหนา 15 มม.เปนไมแบบเสาทิ้งไว2วันแลวบมคอนกรีตดวยกระสอบชุบน้ํา
แรงงาน - ใชแรงงานของชางสํานักงานโครงการฯจํานวน 2 คนในการทําไมแบบหลอเสา 1 วัน
- ใชแรงงานหญิงชาวเขา4 คนผูกเสาไมไผ ½ วัน
วัสดุและเครื่องมือที่ใช - ไมไผรวกแดงØ 3ซม.เปนแกนเสา - ทรายแมน้ํา
- ปลอกไมไผตง 1x1x15ซม. - ไมอัดยางหนา 15มม.
- น้ํายากันซึม 3M พรอมแปรงทา 4” - เลื่อยวงเดือน
- ลวดดํา พรอมมีดหรือคีมตัดลวด - พลั่ว
- ปูนซีเมนตปอรตแลนด - ถังพลาสติก
- หินเบอร 2 - คอนและตะปูเหล็ก 1”,1 ½”
อุปสรรคและปญหา* -คนงานชาวเขาไมมีทักษะงานคอนกรีต(แตสามารถพัฒนาจนทํางานนี้ได)
อุปสรรคและปญหาที่เกิดขึ้นเฉพาะการกอสรางอาคารตัวอยางนี่เทานั้น
119

1. ฐานรากและเสา 2 เสาไมไผโปกØ0.15-0.20 ม.วางลงในหลุมลึก0.80ม.กลบดวยหินเบอร 2

รับหลังคาหองนอน 1
และ2

แนวความคิดในการ - ใชเสาไผโปกขนาดปานกลาง Ø0.15-0.20 ม. รับน้ําหนักเฉพาะโครงสรางหลังคาแลว


เลือกใช ถายสูพื้นดินโดยตรง แทนการใชเสาขนาดใหญที่รับทั้งโครงสรางหลังคาและโครงสราง
พื้น(ลําใหญและคอนขางตรงหายากในพื้นที่)
- ไผโปกมีลําตนตรง ,มีลําตนขนาดใหญ,เนื้อแนนและแข็ง รับแรงอัดไดดีจึงมีความ
เหมาะสมที่ใชเปนเสารับน้ําหนัก
กรรมวิธีกอสราง - เลือกไผโปกที่ลําตนคอนขางตรง โคนและปลายมีความตางของเสนผาศูนยกลางนอย
- นําไมไผไปถนอมตามวิธีธรรมชาติ
- วัดระยะความสูงเสาตามที่ตองการ
- ทาน้ํายากันปลวกที่โคนเสา
- ขุดหลุมลึก 0.80 ม. รองหินเบอร 2 ที่กอนหลุม
- ตั้งเสาตามผังอาคารใหไดดิ่งและฉาก กลบหลุมดวยหินแลวอัดใหแนน
แรงงาน 1-2 คน - งานขุดหลุม 1คน
- งานยกและตั้งเสา 2คน
วัสดุและเครื่องมือที่ใช -เสาไผโปกขนาดปานกลาง Ø0.15- - เลื่อย
0.20 ม. - หินเบอร 2
- น้ํายากันปลวก - เชือกและสายวัดระดับ
อุปสรรคและปญหา* - การหาไผที่มีความตางของเสนผาศูนยกลางระหวางโคนและปลายของไมไผนอยตองใช
ไผแก ทําใหตองใชเวลาในการคัดไผมาก
- ไผโปกตองซื้อจากชาวบานไมมีอยูตามปาทั่วไป(ลําละ60-100บาท)

* อุปสรรคและปญหาที่เกิดขึ้นเฉพาะการกอสรางอาคารตัวอยางนี้เทานั้น
120

1. ฐานรากและเสา 3 เสาไมไผโปกØ0.20-0.25 ม.วางลงในหลุมลึก0.80ม. เทดวยคอนกรีต

รับพื้นและหลังคาชาน
พักผอน

แนวความคิดในการ - ใชเสาไมไผขนาดใหญ ทําใหสามารถรับทั้งโครงสรางพื้นและโครงสรางหลังคาได ทําให


เลือกใช หลุมที่รองรับเสามีขนาดเล็กและประหยัดเสาไมไผและเวลาในการกอสราง
- ใชคอนกรีตเปนตอมอเพื่อกันความชื้นจากดิน และเสริมความแข็งแรงแกโคนเสา
- ใชเสาขนาดใหญทําใหสามารถเจาะรูรับคานไมไผได
กรรมวิธีกอสราง - เลือกไผโปกที่ลําตนคอนขางตรง โคนและปลายมีความตางของเสนผาศูนยกลางนอย
- นําไมไผไปถนอมตามวิธีธรรมชาติ
- วัดระยะความสูงเสาตามที่ตองการ
- รองหินที่กนหลุมแลวตั้งเสาใหไดดิ่งและฉาก
- ผสมคอนกรีตใชอัตราสวน 1 : 2 : 1.5 ผสมปูนบนพื้นดินแลวเทลงในหลุม
แรงงาน 1-2 คน - งานขุดหลุม 1คน
- งานยกและตั้งเสา 2คน
- งานผสมคอนกรีตและเท 2 คน
วัสดุและเครื่องมือที่ใช - เสาไมไผโปกØ0.20-0.25 ม. - ปูนซีเมนตปอรตแลนด
- น้ํายากันปลวก - ทรายแมน้ํา
- เลื่อย - หินเบอร 2
- เชือกและสายวัดระดับ
*
อุปสรรคและปญหา - การหาไผที่มีความตางของเสนผาศูนยกลางระหวางโคนและปลายของไมไผนอยตองใช
ไผแก ทําใหตองใชเวลาในการคัดไผมาก
- ไผโปกตองซื้อจากชาวบานไมมีอยูตามปาทั่วไป(ลําละ60-100บาท)

* อุปสรรคและปญหาที่เกิดขึ้นเฉพาะการกอสรางอาคารตัวอยางนี้เทานั้น
121

1. ฐานรากและเสา 4 เสาไผฮก Ø0.12-0.15 ม..วางลงในหลุมลึก0.80ม.กลบดวยหินเบอร 2

รับพื้นหองนอน 1,2
และระเบียง

แนวความคิดในการ - ใชเสาไผฮก Ø0.12-0.15 ม.. รับน้ําหนักเฉพาะโครงพื้นถายสูพื้นดินโดยตรง แทนการใช


เลือกใช เสาขนาดใหญที่รับทั้งโครงสรางหลังคาและโครงสรางพื้น
- ไผฮกหาไดงายในพื้นที่โครงการพัฒนาดอยตุง
กรรมวิธีกอสราง - เลือกเสาไผฮก Ø0.12-0.15 ม..
- นําไมไผไปถนอมตามวิธีธรรมชาติ
- วัดระยะความสูงเสาตามที่ตองการ
- ทาน้ํายากันปลวกที่โคนเสา
- ขุดหลุมลึก 0.80 ม. รองหินเบอร 2 ที่กอนหลุม
- ตั้งเสาตามผังอาคารใหไดดิ่งและฉาก กลบหลุมดวยหินแลวอัดใหแนน
แรงงาน 2-3 คน - งานขุดหลุม 1คน ½ วัน
- งานยกและตั้งเสา 3คน ½ วัน
วัสดุและเครื่องมือที่ใช - เสาไผฮก Ø0.12-0.15 ม.. - เชือกและสายวัดระดับ
- น้ํายากันปลวก
- เลื่อย
อุปสรรคและปญหา* - ไผฮกเปนไผที่มอดและแมลงชอบ ทําใหตองมีการทาน้ํายารักษาเนื้อไมมากกวาปกติ
- ระดับเสารับพื้นไมไดระดับเนื่องจากคนงานไมมีความละเอียดในการทํางาน

* อุปสรรคและปญหาที่เกิดขึ้นเฉพาะการกอสรางอาคารตัวอยางนี้เทานั้น
122

2. พืน้ และโครงสราง 1 พื้นไมไผซางผาซีก 1x5 ซม.บนตงไมไผรวกดํา Ø8ซม.@0.25ม.ทาน้ํายา


พื้น กันปลวก

ระเบียงหนาหองนอน

แนวความคิดในการ - ใชพื้นไมไผซีกหนา 1ซม. กวาง5ซม. แทนการใชไมกระดานไมจริง


เลือกใช - ไมไผซีก สามารถทําเปนทอนสําเร็จรูปเพื่อเตรียมไวใชงานอื่นๆได เชนใชตีเปนผนังซอน
เกล็ด ใชทํารั้ว
กรรมวิธีกอสราง - เลือกไผซาง Ø0.10-0.12 ม.
- นําไมไผไปถนอมตามวิธีธรรมชาติ
- วัดระยะความยาวตามที่ตองการ(ขณะกอสรางใชความยาว 2 ม.)ตัดดวยเลื่อย
- ผาไมไผดวยมีดแลวเหลาไดขนาดตามที่ตองการ
- ทําไปทาน้ํายากันปลวกและมอด ตากแดดไว 1 สัปดาห(เนื่องจากไมไผซางที่ใชทําพื้น
ไมไดรับการถนอมตามวิธีธรรมชาติ)
- มัดรวมกันไวเก็บไวใชงาน
- ตั้งโครงสรางพื้น ใชคานไมไผซาง Ø0.15-0.18 ซม. ตงไมไผรวกดํา Ø8ซม.@0.25ม.
- ตีไมไผซางผาซีกลงบนตงไผรวกดํา ดวยตะปู (ใชสวานเจาะนํากอน)
แรงงาน 2-3 คน - งานเหลาไม1-2คน
- งานเลื่อยไม 1คน(ผูชาย) - งานตั้งโครงสรางพื้น 2 คน
- งานผาไม1คน - ตีไมไผซางผาซีก 1 คน
วัสดุและเครื่องมือที่ใช - ไผซาง Ø0.10-0.12 ม. - น้ํายากันปลวก
- มีดและเลื่อย - แปรงทาสี
- สวานพรอมดอก -คอนและตะปู 1½ “ -2”
อุปสรรคและปญหา* - คนงานชาวเขาโดยเฉพาะผูหญิงไมสามารถเหลาไมไผใหไดฉาก เมื่อปูพื้นแลวจะเกิด
ชองระหวางไมไผซีกแตละทอน
- เนื่องจากไมไผซางที่ผานการถนอมดวยวิธีรรมชาติมีจํานวนไมเพียงพอ จึงตองใชไผวาง
สดมาทําเปนพื้น เมื่อไมไผแหงแลวทําใหตะปุที่ตอกไปหลวม
123

2. พืน้ และโครงสรางพื้น 2 พื้นไมไผซางสับฟากวางบนตงไมไผรวกดํา Ø8ซม.@0.25ม.ทาน้ํายา


กันปลวก ปูทบั ดวยตอกสานสําเร็จรูป ขนาด 1.20x1.20ม.

หองนอน 2

แนวความคิดในการ - ไผซางสับฟากใชเวลาในการสับไมมาก แตมีขอเสียคือมีชองระหวางไผที่สับ และ


เลือกใช ไมเรียบเนื่องจากรอยตอระหวางเสนไมไผ การใชเปนพื้นในหองนอนจึงควรปูทับดวย
ตอกไมไผสานละเอียด
กรรมวิธีกอสราง - เลือกไผซาง Ø0.10-0.12 ม.
- วัดระยะความยาวตามที่ตองการ(ขณะกอสรางใชความยาว3-4ม.)ตัดดวยเลื่อย
- ใชมีดสับไมไผ
- นําไมไผไปถนอมตามวิธีธรรมชาติ
- วางไผซางสับฟากบนตงตงไมไผรวกดํา Ø8ซม.@0.25ม.
- ปูทับดวยตอกสาน ยึดดวยตะปู 1” บนแนวตง
- ทาแชลแลคขาว 2 ครั้ง
แรงงาน 2 คน - งานปูสับฟากใชแรงาน 2คน 1 วัน
- งานสับฟากแรงงาน 1คนสับฟากไมไผ - งานปูตอกสานละเอียด 1 คน 1วัน
1ลํา : 10นาที
วัสดุและเครื่องมือที่ใช -ไผซาง Ø0.10-0.12 ม. - คอนและตะปู 1”
- มีดและเลื่อย - แชลแลคขาวพรอมแปรงขนกระตาย
- ตอกสาน
อุปสรรคและปญหา* - ระหวางตีตอกสานดวยตะปูหาแนววางตง ตองขีดแนวบนตอกสานแตเนื่องจากตงไผ
รวกดํา ขดจึงเกิดปญหาไมตรงแนว
124

2. พืน้ และโครงสราง 3 พื้นไมไผรวกดําทัง้ ลํา Ø8ซม. วางบนคาน


พื้น

ระเบียงหนาหองครัว

แนวความคิดในการ ในบริเวณที่เปนระเบียง หรือชานเปนพื้นที่ที่โดนแดดและฝน การใชพื้นที่มีรองระบายน้ํา


เลือกใช และมีพื้นที่ไมเรียบมาก สามรถเลือกใชในพื้นที่สวนนี้ได นอกจากนั้นชวงพาดของระเบียง
มีความกวางประมาณ1.2-1.5 ม.สามารถใชไผรวกดําเสนผาศูนยกลาง3-4 ซม. ยาวเทา
ชวงพาดนั้นไดโดยไมตองมีตงไมไผมารับ และยังสรางไดรวดเร็วเพราะใชไมทั้งลําโดยไม
ตองสานหรือสับฟาก
กรรมวิธีกอสราง - เลือกไผรวกดําหรือไผซาง Ø0.3-0.5 ม.(ถาชวงพาดของพื้นกวางตองใชไมไผที่มี Ø มาก
ขึ้นตามลําดับ) เลิกลําที่เนื้อแนนตัน
- นําไมไผไปถนอมตามวิธีธรรมชาติ
- วัดระยะความยาวตามที่ตองการ(ขณะกอสรางใชความยาว1.2-1.5ม.)ตัดดวยเลื่อย
- เลือกตัดใกลกับขอหรือใชไผไรที่ Øเล็กกวาอุดรู
- วางบนคานไมไผซาง Ø 0.15 ซม. ตอกดวยตะปู 3” อาจใชสวานยิงนํากอนตอก
แรงงาน 2 คน
- ใช 2 คน จัดหัวและทายของไมไผใหตรงและชิดกับไมไผลําอื่นๆ
วัสดุและเครื่องมือที่ใช - ไผรวกดําหรือไผซาง Ø0.3-0.5 ม. - คอนและตะปู 3”
- มีดและเลื่อย
- สวานพรอมดอก
อุปสรรคและปญหา* - ไมไผที่เตรียมมามีความผิดพลาดในการคัดขนาด ทําใหไดลําที่ขดงอ ทําใหเสียเวลาละ
ปูพื้นไมตรง
125

2. พืน้ และโครงสราง 4 พื้นคอนกรีตเสริมไมไผ หนา 10 ซม.หลอกับที่วางบนคานคอนกรีตเสริม


พื้น ไมไผ

พืน้ หองน้าํ

แนวความคิดในการ - พื้นหองน้ํา เปนพื้นที่ตองโดนน้ําและความชื้นอยูตลอดเวลา การใชพื้นไมไผฟากทําเปน


เลือกใช พื้นหองน้ําและอยูในรม ทําใหเกิดเชื้อรา การเลือกใชพื้นคอนกรีตเสริมไมไผเพื่อ
แกปญหานี้และสามารถหลอเปนกระบะกั้นน้ําไมใหไหลไปยังสวนอื่นของเรือนได
กรรมวิธีกอสราง - หลอโครงสรางเสาคอนกรีตเสริมไมไผและฐานราก กอนหลอพื้น5-7 วัน หลอคาน
คอนกรีตเสริมไมไผ4-5 วัน
- ใชไผซางที่ผานการถนอมตามวิธีธรรมชาติ ผาซีก ขนาด 1x2.5 ซม. สาน@10 ซม.
ตลอดความกวางพื้น หองน้ํา โดยสานใหดานยาว มีไมไผยื่นออกมาดานละ 7.5 ซม. เพื่อ
ยึดติดกับคาน ทาฟลิ้นโคส เพื่อกันไมไผดูดน้ํา
- ใชไมอัดยางหนา 15 มม. เปนแบบหลอใตพื้น ตัดไผรวกดําเปนตุกตา ค้ําใตไมแบบ
- เทปูน ใชคอนกรีตอัตราสวน 1 : 2 : 1.5
แรงงาน - ชาง 1 คน - คนงาน2 คน สานโครงไมไผ ตัดไมแบบและค้ํายัน
- คนงาน 5 คนผสมปูนและเทปูนลงแบบ (1/2 ขั่วโมง)
วัสดุและเครื่องมือที่ใช - ไมไผซางขนาด 1x2.5 ซม. @10 ซม. - ไมอัดยางหนา 15มม. - เลื่อยวงเดือน
- น้ํายากันซึม 3M พรอมแปรงทา 4” - พลั่ว - ถังพลาสติก
- ลวดดํา พรอมมีดหรือคีมตัดลวด - คอนและตะปูเหล็ก 1”,1 ½”
- ปูนซีเมนตปอรตแลนด - ทรายแมน้ํา - หินเบอร 2
อุปสรรคและปญหา* - ขณะเทพื้นคอนกรีตที่ผสมเนื้อของคอนกรีตไมไดสัดสวนเดียวกัน เนื่องจากคนงานไมมี
ทักษะพอ
126

2. พืน้ และโครงสราง 5 พื้นคอนกรีตเสริมไมสําเร็จรูป ขนาด0.60x2.40ม.วางบนคานคอนกรีต


พื้น เสริมไมไผ

หองครัว

แนวความคิดในการ - หองครัวในการใชงานในสังคมปจจุบันของชาวเขามีรูปแบบตางจากอดีต มีการใชเตา


เลือกใช แกซ ตูเย็น ซึ่งเปนเครื่องครัวที่มีน้ําหนักมาก การเลือกใชพื้นคอนกรีตเสริมไมไผ ที่
สามารถรับน้ําหนักที่กดเปนจุดไดมากกวาพื้นไมไผทั่วไป และการทดลองใชแผนพื้น
คอนกรีตสําเร็จรูปเปนแนวทางการผลิตสินคาในระบบอุตสาหกรรมขนาดเล็ก เพื่อพัมนา
เปนผลิตภัณฑในทองถิ่นตอไป
กรรมวิธีกอสราง - ทําไมแบบดวยไมอัดยาง ทําไมแบบใหหลอพื้นแบบกลับทิศ ใหดานเรียบอยูดานลาง
เพื่อความสะดวกในการเทคอนกรีต รูปตัว U ยาว 2.40 ม.กวาง 0.6 ม.
- สานโครงไมไผ รูปตัว U
– เทคอนกรีตอัตราสวน 1 : 2 : 1.5 บมไว5-7วัน
แรงงาน - ชาง 1 คน - คนงาน 2คนทําไมแบบ
- คนงาน5 คนผสมและเทคอนกรีต (1/2 ชม.)
วัสดุและเครื่องมือที่ใช - ไมไผซางขนาด 1x2.5 ซม. @10 ซม. - ไมอัดยางหนา 15มม.
- น้ํายากันซึม 3M พรอมแปรงทา 4” - เลื่อยวงเดือน
- ลวดดํา พรอมมีดหรือคีมตัดลวด - พลั่ว
- ปูนซีเมนตปอรตแลนด - ถังพลาสติก
- หินเบอร 2 - ทรายแมน้ํา - คอนและตะปูเหล็ก 1”,1 ½”
อุปสรรคและปญหา* - เปนโครงสรางคอนกรีตเสริมไมไผชิ้นแรกที่สาธิตใหชาวเขาทดลองทํา ในชวงแรกตองให
ชางโครงการฯเปนคนทําไมแบบและตั้งระดับ แตตัวตอๆไปคนงานสามารถทําไดเอง
127

2. พืน้ และโครงสราง 6 พื้นไมไผรวกดําทัง้ ลํา Ø8ซม. วางบนคาน ทาน้ํายากันปลวก


พื้น

ระเบียงหนาหองครัว

แนวความคิดในการ ในบริเวณที่เปนระเบียง หรือชานเปนพื้นที่ที่โดนแดดและฝน การใชพื้นที่มีรองระบายน้ํา


เลือกใช และมีพื้นที่ไมเรียบมาก สามรถเลือกใชในพื้นที่สวนนี้ได นอกจากนั้นชวงพาดของระเบียง
มีความกวางประมาณ1.2-1.5 ม.สามารถใชไผรวกดําเสนผาศูนยกลาง3-4 ซม. ยาวเทา
ชวงพาดนั้นไดโดยไมตองมีตงไมไผมารับ และยังสรางไดรวดเร็วเพราะใชไมทั้งลําโดยไม
ตองสานหรือสับฟาก และทดลองทาน้ํายากันปลวกทาไมไผที่ไมไดรับการถนอม
ตามปกติ
กรรมวิธีกอสราง - เลือกไผรวกดําหรือไผซาง Ø0.3-0.5 ม.(ถาชวงพาดของพื้นกวางตองใชไมไผที่มี Ø มาก
ขึ้นตามลําดับ) เลิกลําที่เนื้อแนนตัน
- วัดระยะความยาวตามที่ตองการ(ขณะกอสรางใชความยาว1.2-1.5ม.)ตัดดวยเลื่อย
- เลือกตัดใกลกับขอหรือใชไผไรที่ Øเล็กกวาอุดรู
- วางบนคานไมไผซาง Ø 0.15 ซม. ตอกดวยตะปู 3” อาจใชสวานยิงนํากอนตอก
- ทาน้ํายากันปลวก
แรงงาน 2 คน
- ใช 2 คน จัดหัวและทายของไมไผใหตรงและชิดกับไมไผลําอื่นๆ
วัสดุและเครื่องมือที่ใช - ไผรวกดําหรือไผซาง Ø0.3-0.5 ม. - คอนและตะปู 3”
- มีดและเลื่อย
- สวานพรอมดอก
อุปสรรคและปญหา* - ไมไผที่เตรียมมามีความผิดพลาดในการคัดขนาด ทําใหไดลําที่ขดงอ ทําใหเสียเวลาละ
ปูพื้นไมตรง
128

2. พืน้ และโครงสราง 7 พื้นไมไผซางสับฟากวางบนตงไมไผรวกดํา Ø8ซม.@0.25ม.ทาน้ํายากัน


พื้น ปลวก ปูทับดวยไผอัดสําเร็จรูป

หองนอน 1

แนวความคิดในการ หองนอน เปนหองภายในอาคารเปนหองที่มีความเปนสวนตัวสูง ในการออกแบบเรือนนี้


เลือกใช พื้นหองนอนมีพื้นผิวที่เรียบสามารถถอดรองเทาเดินได โดยไมสะดุด การใชไมอัดสาน
สําเร็จรูปเปนทดลองใชวัสดุบุผิวเพื่อการตกแตงภายในใหสวยงาม
กรรมวิธีกอสราง - ใชไผซาง Ø 0.15 ซม.ยาวประมาณ 4-5 ม.สับฟากยาวตลอดลําและนําไปถนอมตามวิธี
ธรรมชาติ
- ตั้งโครงสรางพื้น(เสาและคาน)ใหเรียบรอยใชคานไมไผซาง Ø 0.15-0.18 ซม.
- ในชวงคานที่มีชวงพาดเกิน 4 ม. ใหมีเสาค้ํายันในชวงกึ่งกลางคานนั้น
- วางตงไผรวกดํา Ø 0.5 ซม.@ 0.2 ซม.
- ปูพื้นไมไผซางสับฟาก ลงบนตง ใชไมไผซีก ขนาด 1x2.5 ซม. หนีบกับตงไวโดยใชลวด
ดํามัด
- นําไมไผอัดหรือไมไผสานวงบนพื้นไมไผซางสับฟาก ใหแนวของแผนตรงกัน
- ตอกดวยตะปู 3” ใหตรงแนวตงไผรวกดํา ทาผิวดวยแชลแลคขาว
แรงงาน คนงาน 3 คนทําโครงสรางพื้นหองนอน 2หองใชเวลา 3 วัน
คนงาน 2 คนปุพื้นไมอัดสาน 1 ½ วัน
วัสดุและเครื่องมือที่ใช -ไผซาง Ø0.10-0.12 ม. - คอนและตะปู 3”
- มีดและเลื่อย - แชลแลคขาวพรอมแปรงขนกระตาย
- ตอกสาน
อุปสรรคและปญหา* - ระหวางตีตอกสานดวยตะปูหาแนววางตง ตองขีดแนวบนตอกสานแตเนื่องจากตงไผ
รวกดํา ขดจึงเกิดปญหาไมตรงแนว
129

2. พืน้ และโครงสราง 8 พื้นไมไผซาง1x3 ซม.สานวางบนตงไมไผซาง Ø12ซม.@0.30ม.ทาน้ํายา


พื้น กันปลวก

ระเบียง

แนวความคิดในการ ในบริเวณที่เปนระเบียง หรือชานเปนพื้นที่ที่โดนแดดและฝน การใชพื้นที่มีรองระบายน้ํา


เลือกใช และมีพื้นที่ไมเรียบมาก สามรถเลือกใชในพื้นที่สวนนี้ได พื้นไผซางสานเปนพื้นที่มีความ
สวยงามสามรถสานไดรวดเร็วโดยใชคน 2 คน การเชื่อมโยงของไผซางซีกแตละทอน
เชื่อมกันโดยไมตองใชตะปู จะปองกันปญหารูตะปูที่ตองตากแดดและฝนดวย
กรรมวิธีกอสราง - เลือกไผซาง Ø0.10-0.12 ม.
- วัดระยะความยาวตามที่ตองการ(ขณะกอสรางใชความยาว3-4ม.)ตัดดวยเลื่อย
- นําไมไผไปถนอมตามวิธีธรรมชาติ
- ผาไมไผดวยมีดแลวเหลาไดขนาด 1x2.5 ซม.
- สานตามลาย อยางหางๆกอนแลว ใชคอนตอกใหแนน
แรงงาน - คนงาน 2 คน ผาไผซางซีกและสานใชเวลา 2วัน
- คนงานตองมีความชํานาญในการสาน
วัสดุและเครื่องมือที่ใช - ไผซาง Ø0.10-0.12 ม.
- มีดและเลื่อย
- คอน
อุปสรรคและปญหา* - ไมไผซางที่ใชบางลําไมไดรับการถนอม ทําใหเกิดการหดตัวของรอยตอ
130

2. พืน้ และโครงสราง 9 พื้นไมไผซางทัง้ ลํา Ø10ซม.ทาน้ํายากันปลวก วางบนคาน


พื้น

ชานบันได

แนวความคิดในการ ชานบันไดของเรือนอยูกลางแจงไมมีหลังคาคลุม การใชพื้นที่มีชองระหวางพื้นทําให


เลือกใช สามารถระบายน้ําฝนที่ตกลงมาได ในกรณีนี้ชวงพาดมีความกวางประมาณ2.5 ม.การใช
ไมไผซางที่มีมากในพื้นที่ทั้งลํา Ø10ซม.วางยาวตลอดชวง 2.5 ม.บนคานโดยตรง ทําให
เกิดความรวดเร็วในการกอสราง และใชขนาดไมไผตามความสามารถในการพาดชวง
อยางเต็มที่
กรรมวิธีกอสราง - เลือกไผซาง Ø0.10-0.12 ม.
- นําไมไผไปถนอมตามวิธีธรรมชาติ
- ตั้งโครงสรางพื้น(เสาและคาน)ใหเรียบรอยใชคานไมไผซาง Ø 0.15 ซม.
- วัดระยะความยาวตามที่ตองการ(ขณะกอสรางใชความยาว3-4ม.)ตัดดวยเลื่อย
- วางบนคานไมไผซาง Ø 0.15 ซม. ตอกดวยตะปู 3” อาจใชสวานยิงนํากอนตอก
- ทาน้ํายากันปลวก
แรงงาน ชาง1คน และคนงานชวยตัดไม 1 คน ใชเวลา1 ½ วัน
วัสดุและเครื่องมือที่ใช - ไผซาง Ø0.10-0.12 ม. - คอนและตะปู 4”
- มีดและเลื่อย
- สวานพรอมดอก
อุปสรรคและปญหา* ในขณะกอสรางชางไมไดเลือกไมที่ตรงทั้งลําทําใหตองแกไขหลายครั้ง
131

3.ผนัง 1 ผนังไมไผเฮี๊ยะทั้งลํา ประตูบานเปดและหนาตางบานเลื่อน

หองนอน 1

แนวความคิดในการ - ใชไผเฮี๊ยะที่มีมากในทองถิ่นแตเนื้อบางรับน้ําหนักไมไดมาก นําไผเฮี๊ยะทั้งลํามาเรียง


เลือกใช เปนผนัง โดยจัดเรียงทั้งทางตั้งและทางนอน ใชโครงเคราไผรวกดําซึ่งมีเนื้อแนนและลํา
ตนตรงวางบนโครงหลักไผโปกผาครึ่ง ทําใหสามารถสรางเปนแผนผนังสําเร็จรูปได
- ใชประตูบานเปดโดยไมใชบานพับและทดลองสรางหนาตางบานเลือนเนื่องจากเปน
ผนังที่ติดทางเดิน
กรรมวิธีกอสราง - ถนอมไมไผที่นํามาใชดวยวิธีธรรมชาติ
- นําไผโปกØ 0.2-0.25 ม.ผาครึ่ง เจาะรูสําหรับเสียบโครงเคราตั้งไผรวกดํา
- ตั้งโครงเคราไผรวกดําทั้งเคราตั้งและเครานอน เจาะรูและเขาเดือยใหโครงแข็งแรง
- ทําวงกบประตูดวยไผรวกดํา ทําโครงประตูโดยใชแกนหมุนเปนหลักของโครง
- ติดไผรวกแดง ตามชวงของโครงเครา
- ประกอบบานประตู และหนาตางบานเลื่อน ทาผิวดวยน้ํามันวานิช 2 รอบ
แรงงาน - ชางทําโครง 1 คน(พัฒนามาจาก - คนงาน ติดไผเฮี๊ยะ 1 คน
คนงาน) - คนงานหญิงเช็ดผิวและทาวานิช 1 คน
- ชางทําประตูหนาตาง 1 คน
วัสดุและเครื่องมือที่ใช - ไผโปกØ 0.2-0.25 ม.ผาครึ่ง - เลื่อย ,มีดควาน
- ไผรวกดําØ 0.1-0.12 ม. ทําโครงเครา - คอนและตะปู 1/2 “,1”,2”และ3”
- ไผเฮี๊ยะ Ø 0.1 ม. - น้ํามันวานิชพรอมแปรงขนกระตาย
อุปสรรคและปญหา* - เนื่องจากเปนผนังชิ้นแรกของงาน คนงานไมคอยเขาใจในการกอสราง
- คนงานไมมีความละเอียด จึงตองแกงานบอยครั้ง
132

3.ผนัง 2 ผนังไมไผ ประตูบานพลิก

หองนอน 1

แนวความคิดในการ - แกปญหาผนังบานไมไผที่ไมมีชองเปดโดยใชโครงเคราไผรวกดําเปนกรอบผนัง
เลือกใช - ใชประตูบานพลิก 4 บานเปนตัวเชื่อมพื้นที่หองนอนกับชานพักผอน และแสดงใหเห็นวา
ผนังไมไผสามารถมีชองเปดที่กวาง โดยใชประตูบานพลิกที่มีแกนอยูตรงกลาง
- ใชขนาดผนังตามพิกัดมูลฐาน0.6x1.2 ซึ่งเปนขนาดแผนผนังไมไผสานเล็กที่สุดและ
ออกแบบใหเปนผนังสําเร็จรูป สามารถขนยายไปยังที่ตางๆได
กรรมวิธีกอสราง - ถนอมไมไผที่นํามาใชดวยวิธีธรรมชาติ - ทําบานประตูใชไผตง Ø 0.2-0.25 ม.ที่มี
- นําไผโปกØ 0.2-0.25 ม.ผาครึ่ง เจาะรู เนื้อแนนเหลาทําเปนบานกรอบประตูติด
สําหรับเสียบโครงเคราตั้งไผรวกดํา ดวยตอกสานทั้งสองขาง ปดรอยตอดวยคิ้ว
- ตั้งโครงเคราไผรวกดําทั้งเคราตั้งและ ไมไผ
เครานอน เจาะรูและเขาเดือยใหโครง - ติดตอกสานในชองวางของเครา
แข็งแรง - ทําความสะอาดทาดวยแชลแลคขาว2รอบ
แรงงาน - ชางทําโครง 1 คน - คนงาน ติดตอกสาน 1 คน
- ชางทําประตูหนาตาง 2 คน - คนงานหญิงเช็ดผิว ทาแชลแลคขาว1คน
วัสดุและเครื่องมือที่ใช - ไผโปกØ 0.2-0.25 ม.ผาครึ่ง - ตอกไผเฮี๊ยะ กวาง 1ซม.
- ไผรวกดําØ 0.1-0.12 ม. ทําโครงเครา - เลื่อย ,มีดควาน
- ไผตง Ø 0.2ม. - คอนและตะปู 1/2 “,1”,2”และ3”
- ไผเฮี๊ยะ Ø 0.1ม.สับฟากสานขัดแตะ - แชลแลคขาวพรอมแปรงขนกระตาย
อุปสรรคและปญหา* - ตอกไมไผที่สานแลวไมไดนําไปตากแดด เนื่องจากเกิดฝนตกในชวงนั้นทําใหเกิด
ความชื้นจึงเกิดเชื้อราที่ขอบของตอกแมจะทาแชลแลคขาว2ครั้งแลวก็ตาม
- แกนกลางของประตูบานพลิกมีการออกแบบ แกไขหนางานหลายครั้งเพื่อความแข็งแรง
133

3.ผนัง 3 ผนังไมไผ หนาตางบานเปด

หองนอน 1

แนวความคิดในการ - แกปญหาผนังบานไมไผที่ไมมีชองเปด โดยใชโครงเคราไผรวกดําเปนกรอบผนังและวง


เลือกใช กบหนาตาง ใชไผรวกดําØ10-12ซม.เปนแกนหลักทั้งทางตั้ง และวงกบลาง ทําให
สามารถ เจาะรูเปนแกนหมุนหนาตางบานเปดได
- ใชขนาดผนังตามพิกัดมูลฐาน0.6x1.2 ซึ่งเปนขนาดแผนผนังไมไผสานเล็กที่สุดและ
ออกแบบใหเปนผนังสําเร็จรูป สามารถขนยายไปยังที่ตางๆได
กรรมวิธีกอสราง - ถนอมไมไผที่นํามาใชดวยวิธีธรรมชาติ - ทําบานหนาตางดวยโครงไผรวกดํา Ø 5
- นําไผโปกØ 0.2-0.25 ม.ผาครึ่ง เจาะรู ซม.ยึดกันดวยสลักและเขาเดือย ติดดวย
สําหรับเสียบโครงเคราตั้งไผรวกดํา ตอกสานทั้งสองขาง ปดรอยตอดวยคิ้วไมไผ
- ตั้งโครงเคราไผรวกดําทั้งเคราตั้งและ - ติดฝาไมไผสานในชองวางของโครงเครา
เครานอน เจาะรูและเขาเดือยใหโครง - ทําความสะอาด ทาดวยน้ํามันวานิช2รอบ
แข็งแรง
แรงงาน - ชางทําโครง 1 คน - คนงาน ติดไผเฮี๊ยะ 1 คน
- ชางทําประตูหนาตาง 1 คน - คนงานหญิงเช็ดผิวและทาวานิช 1 คน
วัสดุและเครื่องมือที่ใช - ไผโปกØ 0.2-0.25 ม.ผาครึ่ง - เลื่อย ,มีดควาน
- ไผรวกดําØ 0.1-0.12 ม. ทําโครงเครา - คอนและตะปู 1/2 “,1”,2”และ3”
- น้ํามันวานิชพรอมแปรงขนกระตาย

อุปสรรคและปญหา* ในชวงแรกของงานคนงานยังไมเขาใจเกี่ยวกับโครงเคราและหนาตางบานเปด
134

3.ผนัง 4 ผนังไมไผ หนาตางบานเปด(บานพับ)

หองนอน 2

แนวความคิดในการ - แกปญหาผนังบานไมไผที่ไมมีชองเปด โดยใชโครงเคราไผรวกดําเปนกรอบผนังและวง


เลือกใช กบหนาตาง ใชไผรวกดําØ10-12ซม.เปนแกนหลักทั้งทางตั้ง และวงกบลาง ใชบานพับ
ติดกับวงกบไผรวกดํา ทดลองไสบังไบกันน้ําในวงกบทุกแนว
- ใชไผตงหรือไผหก ทําเปนไมซีก ตีซอนเกล็ด ทดแทนไมกระดานไมจริง
- ใชขนาดผนังตามพิกัดมูลฐาน0.6x1.2 ซึ่งเปนขนาดแผนผนังไมไผสานเล็กที่สุดและ
ออกแบบใหเปนผนังสําเร็จรูป สามารถขนยายไปยังที่ตางๆได
กรรมวิธีกอสราง - ถนอมไมไผที่นํามาใชดวยวิธีธรรมชาติ - ทําบานหนาตางใชไผตง Ø 0.2-0.25 ม.ที่
- นําไผโปกØ 0.2-0.25 ม.ผาครึ่ง เจาะรู มีเนื้อแนนเหลาทําเปนบานกรอบหนาตาง
สําหรับเสียบโครงเคราตั้งไผรวกดํา - ติดฝาไมไผตงหรือไผหกผาซีกตีวอนเกล็ด
- ตั้งโครงเคราไผรวกดําทั้งเคราตั้งและ ในชองวางของโครงเครา
เครานอน เจาะรูและเขาเดือยใหโครง - ติดฝาไมไผสานในดานบนของผนัง
แข็งแรง - ทําความสะอาด ทาดวยน้ํามันวานิช2รอบ
แรงงาน - ชางทําโครง 1 คน - คนงาน ติดสานเฮี๊ยะ 1 คน
- ชางทําประตูหนาตาง 1 คน - คนงานหญิงเช็ดผิวและทาวานิช 1 คน
วัสดุและเครื่องมือที่ใช - ไผโปกØ 0.2-0.25 ม.ผาครึ่ง - ตอกไผเฮี๊ยะ กวาง 1ซม.
- ไผรวกดําØ 0.1-0.12 ม. ทําโครงเครา - เลื่อย ,มีดควาน
- ไผตงหรือไผหก Ø 0.2ม.ผาซีก1.5x5ซม. - คอนและตะปู 1/2 “,1”,2”และ3”
- ไผเฮี๊ยะ Ø 0.1ม.สับฟากสานขัดแตะ - น้ํามันวานิชพรอมแปรงขนกระตาย
อุปสรรคและปญหา* ไผรวกดําที่นํามาใชเปนวงกบลางเมื่อไสเปนวงกบ บางแหงทะลุไปยังปลองดานลาง
135

3.ผนัง 5 ผนังซีเมนตไมไผสาน

หองน้าํ

แนวความคิดในการ - หองน้ําเปนหองที่โดนน้ําและความชื้นตลอดเวลา การใชวัสดุที่กันซึมและทนความชื้น


เลือกใช โดยใชซีเมนตฉาบลงในแกนไมไผสาน สามารถแกปญหานั้นได
- ใชขนาดผนังตามพิกัดมูลฐาน0.6x1.2 และใหเขากับพิกัดมูลฐานสากลดวย
กรรมวิธีกอสราง - ถนอมไมไผที่นํามาใชดวยวิธีธรรมชาติ - ติดกับโครง ตัดลวดกรงติดทับทั้งสองดาน
- ตั้งโครงสรางคอนกรีตเสริมไมไผรับผนัง - ติดตั้งผนังอาคารทั้งหมดใหไดดิ่งและฉาก
- นําไผโปกØ 0.2-0.25 ม.ผาครึ่ง เจาะรู - ผสมปูนตราเสือและทรายละเอียด
สําหรับเสียบโครงเคราตั้งไผรวกดํา - ใชมืออัดซีเมนตเขาไปในแกนไมไผสาน
- ตั้งโครงเคราไผรวกดําทั้งเคราตั้งและ จากดานลางขึ้นบน แลวคอยฉาบใหเรียบ
เครานอน เขาเดือยใหโครงแข็งแรง - ตกแตงผิวดวยหินแมน้ํา
- สานไมไผซางผาซีก1x2.5 ซม.ตามขนาด - พรมน้ําและบมไว3-4 วัน
ผนังทาดวยฟลิ้นโคสใหทั่ว
แรงงาน - ชางทําโครง 1คน - คนงานสานแกนไมไผซาง 2 คน
- ชางฉาบ 1คน
วัสดุและเครื่องมือที่ใช - ไผโปกØ 0.2-0.25 ม.ผาครึ่ง - ลวดกรงไก ชอง 1x1ซม.
- ไผรวกดําØ 0.1-0.12 ม. ทําโครงเครา - ฟลิ้นโคสพรอมแปรงทาสี
- ไผซาง Ø 0.12-0.15 ม.ผาซีก1x2.5 ซม. - ปูนตราเสือ
- คอนและตะปู 1/2 “,1”,2”และ3” - ทรายละเอียดและที่รอนทราย
- เลื่อย ,มีดควาน - ถังปูนและเครื่องมือฉาบ
อุปสรรคและปญหา* - การฉาบปูนแบบธรรมดาไมทําใหเนื้อปูนเกาะกับแกนไมไผได ตองใชมืออัดใหแนน
136

3.ผนัง 6 ผนังไมไผ หนาตางบานเกล็ดไมไผติดตาย

หองครัว

แนวความคิดในการ - แกปญหาหองครัวที่ไมสามารถระบายอากาศละควันอันเนื่องมาจากการหุงอาหาร โดย


เลือกใช การใชโครงเคราไผรวกดําเปนวงกบหนาตางบานเปดและบานเกล็ด
- ใชไมไผซาง Ø 0.15 ม.ผาสี่สวนทําเปนบานเกล็ดติดตาย และชองแสงเพื่อระบาย
อากาศในหองครัว
- ใชขนาดผนังตามพิกัดมูลฐาน0.6x1.2 ซึ่งเปนขนาดแผนผนังไมไผสานเล็กที่สุดและ
ออกแบบใหเปนผนังสําเร็จรูป สามารถขนยายไปยังที่ตางๆได
กรรมวิธีกอสราง - ถนอมไมไผที่นํามาใชดวยวิธีธรรมชาติ -ติดตอกสานขางปดรอยตอดวยคิ้วไมไผ
- นําไผโปกØ 0.2-0.25 ม.ผาครึ่ง เจาะรู - ตัดไมไผซางเปนทอนยาว0.45ม.แลวสี่สวน
สําหรับเสียบโครงเคราตั้งไผรวกดํา ตัดปลายใหเปนเดือยสําหรับยึดกับวงกบ
- ตั้งโครงเคราไผรวกดําทั้งเคราตั้งและ -เจาะวงกบสําหรับเสียบบานเกล็ด@0.1ม.
เครานอน เจาะรูเขาเดือยใหโครงแข็งแรง - ติดบานเกล็ดไมไผลงในวงกบ
- ทําบานหนาตางใชไผตง Ø 0.2-0.25 ม. - ติดฝาไมไผตงหรือไผหกผาซีกตีซอนเกล็ด
ที่มีเนื้อแนนเหลาเปนบานกรอบหนาตาง ในชองวางของโครงเครา
- ทําความสะอาด ทาดวยน้ํามันวานิช2รอบ
แรงงาน - ชางทําโครง 1 คน - คนงาน ทําบานเกล็ด 3 คน
- ชางทําประตูหนาตาง 1 คน - คนงานหญิงเช็ดผิวและทาวานิช 1 คน
วัสดุและเครื่องมือที่ใช - ไผโปกØ 0.2-0.25 ม.ผาครึ่ง - คอนและตะปู 1/2 “,1”,2”และ3”
- ไผรวกดําØ 0.1-0.12 ม. ทําโครงเครา - เลื่อย ,มีดควาน
- ไผซาง Ø 0.15 ม.ผาสี่สวน - น้ํามันวานิชพรอมแปรงขนกระตาย
- ไผตงหรือไผหก Ø 0.2ม.ผาซีก1.5x5ซม.
อุปสรรคและปญหา* - ในการเจาะชองสําหรับเสียบบานเกล็ดไมไผ ตองวัดใหไดมุม และระยะที่แนนอน
- ขนาดบานเกล็ดไมไดมาตรฐานตองมีการแกไขเนื่องมาจากคนงานหญิงมีทักษะนอย
137

3.ผนัง 7 ผนังไมไผ หนาตางบานเกล็ดไมไผปรับมุม

หองครัว

แนวความคิดในการ - แกปญหาหองครัวที่ไมสามารถระบายอากาศละควันอันเนื่องมาจากการหุงอาหาร โดย


เลือกใช การใชโครงเคราไผรวกดําเปนวงกบหนาตางบานเปดและบานเกล็ด
- ใชไมไผซางØ 0.15 ม.ผาสี่สวนทําเปนบานเกล็ดปรับมุม และชองแสงเพื่อระบายอากาศ
ในหองครัว และใชไมไผทั้งหมดถนอมผิวไมดวยการลนไฟ 10 นาที ทําใหผิวมันและแกรง
- ใชขนาดผนังตามพิกัดมูลฐาน0.6x1.2 ซึ่งเปนขนาดแผนผนังไมไผสานเล็กที่สุดและ
ออกแบบใหเปนผนังสําเร็จรูป สามารถขนยายไปยังที่ตางๆได
กรรมวิธีกอสราง - ถนอมไมไผที่นํามาใชดวยวิธีธรรมชาติ - ตัดไมไผซางเปนทอนยาว0.45ม.แลวสี่สวน
และนําไปลนดวยไฟใหทั่ว 10 นาที เช็ด เหลาปลายใหเดือยสําหรับยึดกับวงกบ เจาะ
น้ํามันดวยผาสะอาด รูตรงกลางบานเกล็ดสําหรับรอยเชือกดึง
- นําไผโปกØ 0.2-0.25 ม.ผาครึ่ง เจาะรู บานเกล็ดเพื่อปรับมุม
สําหรับเสียบโครงเคราตั้งไผรวกดํา -เจาะวงกบสําหรับเสียบบานเกล็ด@0.1ม.
- ตั้งโครงเคราไผรวกดําทั้งเคราตั้งและ - ติดบานเกล็ดไมไผในวงกบ แลวรอยเชือก
เครานอน เจาะรูเขาเดือยใหโครงแข็งแรง - ติดฝาไมไผตงหรือไผหกผาซีกตีซอนเกล็ด
- ทําบานหนาตางใชไผตง Ø 0.2-0.25 ม. ในชองวางของโครงเครา
ที่มีเนื้อแนนเหลาเปนบานกรอบหนาตาง - ทําความสะอาด ทาดวยน้ํามันวานิช2รอบ
-ติดตอกสานขางปดรอยตอดวยคิ้วไมไผ
แรงงาน - ชางทําโครง 1 คน - คนงาน ทําบานเกล็ด 3 คน
- ชางทําประตูหนาตาง 1 คน - คนงานหญิงเช็ดผิวและทาวานิช 1 คน
วัสดุและเครื่องมือที่ใช - ไผโปกØ 0.2-0.25 ม.ผาครึ่ง - คอนและตะปู 1/2 “,1”,2”และ3”
- ไผรวกดําØ 0.1-0.12 ม. ทําโครงเครา - เลื่อย ,มีดควาน
- ไผซาง Ø 0.15 ม.ผาสี่สวน - สวาน และเชือไนลอน
- ไผไผหก Ø 0.15ม.ผาครึ่ง - น้ํามันวานิชพรอมแปรงขนกระตาย
อุปสรรคและปญหา* - ในการเจาะชองสําหรับเสียบบานเกล็ดไมไผ ตองวัดใหไดมุม และระยะที่แนนอน
138

3.ผนัง 8 ผนังไมไผซางผิวลนไฟ

หองครัว

แนวความคิดในการ - แกปญหาหองครัวที่ไมสามารถระบายอากาศละควันอันเนื่องมาจากการหุงอาหาร โดย


เลือกใช การใชโครงเคราไผรวกดํา และไผซางผาซีกตีเปนระแนงโปรง สลับเปนลาย
- ใชไมไผหกผาครึ่งเรียงกันตามแนวนอนถนอมผิวไมดวยการลนไฟ 10 นาที ทําใหผิวมัน
และแกรง
- ใชขนาดผนังตามพิกัดมูลฐาน0.6x1.2 ซึ่งเปนขนาดแผนผนังไมไผสานเล็กที่สุดและ
ออกแบบใหเปนผนังสําเร็จรูป สามารถขนยายไปยังที่ตางๆได
กรรมวิธีกอสราง - ถนอมไมไผที่นํามาใชดวยวิธีธรรมชาติ -นําไผหกไปลนดวยไฟใหทั่ว 10 นาที เช็ด
- นําไผโปกØ 0.2-0.25 ม.ผาครึ่ง เจาะรู น้ํามันดวยผาสะอาด นําเรียงกันตามนอน
สําหรับเสียบโครงเคราตั้งไผรวกดํา - ทําบานประตูใชไผตง Ø 0.2-0.25 ม.ที่มี
- ตั้งโครงเคราไผรวกดําทั้งเคราตั้งและ เนื้อแนนเหลาทําเปนบานกรอบประตูติด
เครานอน เจาะรูเขาเดือยใหโครงแข็งแรง ดวยไมไผอัด ปดรอยตอดวยคิ้วไมไผ
- ตีระแนงไผซางผาซีก 1.5 ซม.เหลาให - ทําความสะอาดทาดวยแชลแลคขาว2รอบ
เปลือกออก เรียงใหเกิดชองตามลาย
แรงงาน - ชางทําโครง 1 คน - คนงาน ทําระแนงไผซาง 2 คน
- ชางทําประตูหนาตาง 1 คน - คนงานหญิงเช็ดผิวและทาแชลแลค 1 คน
วัสดุและเครื่องมือที่ใช - ไผโปกØ 0.2-0.25 ม.ผาครึ่ง - คอนและตะปู 1/2 “,1”,2”และ3”
- ไผรวกดําØ 0.1-0.12 ม. ทําโครงเครา - เลื่อย ,มีดควาน
- ไผซาง Ø 0.10 ม.ผาซีก 1.5 ซม. - แชลแลคขาวพรอมแปรงขนกระตาย
- ไผไผหก Ø 0.15ม.ผาครึ่ง
- ไผอัด
อุปสรรคและปญหา* - ขณะกอสรางไมไผหกบางลําไมไดรับการถนอมตามธรรมชาติ แตไดลนไฟใหผิวมันและ
แกรง เมื่อเกิดความชื้นเนื่องมาจาฝนตก ทําใหเนื้อไมที่ไมโดนไฟลนเกิดเชื้อราสีขาว
139

3.ผนัง 9 ผนังไมไผซางทาฟลิ้นโคสแปะบนซีเมนต

หองครัว

แนวความคิดในการ - ผนังหองครัวดานนี้เปนดานที่ติดกับผนังหองน้ําซึ่ง เปนผนังซีเมนตทําหนาที่กันน้ําและ


เลือกใช ความชื้น การใชไมไผซางสับฟากติดกับผนังซีเมนตเปนตัวอยางในการใชไมไผในงาน
ตกแตงผิว ซึ่งสามารถนํามาประยุกตใชในอาคารกออิฐในอาคารปจจุบันได
- ใชขนาดผนังตามพิกัดมูลฐาน0.6x1.2 และใหเขากับพิกัดมูลฐานสากลดวย
กรรมวิธีกอสราง - ถนอมไมไผที่นํามาใชดวยวิธีธรรมชาติ
- ตั้งโครงสรางคอนกรีตเสริมไมไผรับผนัง
- นําไผโปกØ 0.2-0.25 ม.ผาครึ่ง เจาะรูสําหรับเสียบโครงเคราตั้งไผรวกดํา
- ตั้งโครงเคราไผรวกดําทั้งเคราตั้งและเครานอน เขาเดือยใหโครงแข็งแรง
- ใชไผซาง Ø 0.10 ม.ยาวเทาความยาวผนัง ผาครึ่งแตไมตองใหขาดทั้งลํา(เหลือปลาย
ทั้งสองไว แลวยึดติดกับเคราตั้ง@ 0.8 ม.
- ใชไผซาง Ø 0.15 ม.สับฟาก สอดเขาไปในโครงผนัง ทาดวยฟลิ้นโคสใหทั่ว
แรงงาน - ชางทําโครง 1คน คนงานติดไมไผวางสับฟาก 1 คน
วัสดุและเครื่องมือที่ใช - ไผโปกØ 0.2-0.25 ม.ผาครึ่ง - ลวดดําและคีมตัดลวด
- ไผรวกดําØ 0.1-0.12 ม. ทําโครงเครา - คอนและตะปู 1/2 “,1”,2”และ3”
- ไผซาง Ø 0.15 ม.สับฟาก - ฟลิ้นโคสพรอมแปรงทาสี
- ไผซาง Ø 0.10 ม.
- เลื่อย ,มีดควาน
อุปสรรคและปญหา* - ตองจัดเรียงไผซางสับฟาก ใหไดแนวและใหมีชิ่งวางใหนอยที่สุด เพอื่กันไมใหซีเมนตอีก
ดานทะลักเขามา
140

3.ผนัง 10 ผนังไมไผเฮี๊ยะสาน ขนาดขยายตามพิกัดมูลฐาน

หองนอน 1

แนวความคิดในการ - แกไขปญหาผนังไมไผสานขัดแตะไมแข็งแรง โดยใชโครงเคราไผรวกดําซึ่งมีเนื้อแนน


เลือกใช และลําตนตรงวางบนโครงหลักไผโปกผาครึ่ง ทําใหสามารถสรางเปนแผนผนังสําเร็จรูป
- ใชขนาดผนังตามพิกัดมูลฐาน0.6x1.2 ซึ่งเปนขนาดแผนผนังไมไผสานเล็กที่สุดและ
ใหเขากับพิกัดมูลฐานสากล ทําใหสามารถเลือกใชวัสดุบุผนังอื่นๆ เชนไมอัด ยิปซั่มบอรด
- สามารถใชผนังไมไผสานที่เขาระบบประสานทางพิกัด ไปใชในระบบกอสรางประสาน
ทางพิกัดสากลได
กรรมวิธีกอสราง - ถนอมไมไผที่นํามาใชดวยวิธีธรรมชาติ - ทําความสะอาดและทาน้ํามันวานิช
- นําไผโปกØ 0.2-0.25 ม.ผาครึ่ง เจาะรู - ติดแผนไมไผสานสําเร็จที่เตรียมไวลงบน
สําหรับเสียบโครงเคราตั้งไผรวกดํา แนวโครงเคราผารวกดํา ยึดดวยตะปูและ
- ตั้งโครงเคราไผรวกดํา Ø 0.1-0.12 ม.ทั้ง ลวดดํา
เคราตั้งและเครานอน เจาะรูและเขาเดือย - ติดคิ้วไมไผวางขนาด 2 ซม. รอบๆรอยตอ
ใหโครงแข็งแรง - ทําความสะอาดและทาน้ํามันวานิชอีกครั้ง
- นําไผเฮี๊ยะที่สับฟากมาสานขัดแตะใหได
ขนาด 0.6 x1.2ม. หรือขนาด1.2 x3.6ม.
แรงงาน - ชางทําโครง 1คน - คนงานติดไผสานกับโครง 2 คน
- คนงานสานไผสาน 1 คน - คนงานหญิงเช็ดผิวและทาวานิช 1 คน
วัสดุและเครื่องมือที่ใช - ไผโปกØ 0.2-0.25 ม.ผาครึ่ง - เลื่อย ,มีดควาน
- ไผรวกดําØ 0.1-0.12 ม. ทําโครงเครา - คอนและตะปู 1/2 “,1”,2”และ3”
- ไผเฮี๊ยะ Ø 0.1 ม. - น้ํามันวานิชพรอมแปรงขนกระตาย
อุปสรรคและปญหา* - ในชวงแรกมีคนงานที่สานไมไผขัดแตะมีเพียงคนเดียวจากคนงานทั้งสิ้น10คน
- ขณะติดไผสานขัดแตะกับโครงเครา คนงานบางคนไมเขาใจหลักการของโครงเครา
141

3.ผนัง 11 ผนังไมไผซางทาฟลิ้นโคสฉาบดวยซีเมนต

หองน้าํ

แนวความคิดในการ - หองน้ําเปนหองที่โดนน้ําและความชื้นตลอดเวลา การใชวัสดุที่กันซึมและทนความชื้น


เลือกใช โดยใชซีเมนตฉาบลงในแกนไมไผสาน สามารถแกปญหานั้นได
- ใชไมไผซางสับฟากเปนไมแบบ
- ใชขนาดผนังตามพิกัดมูลฐาน0.6x1.2 และใหเขากับพิกัดมูลฐานสากลดวย
กรรมวิธีกอสราง - ถนอมไมไผที่นํามาใชดวยวิธีธรรมชาติ - ติดกับโครง ตัดลวดกรงติดทับทั้งสองดาน
- ตั้งโครงสรางคอนกรีตเสริมไมไผรับผนัง - ติดตั้งผนังอาคารทั้งหมดใหไดดิ่งและฉาก
- นําไผโปกØ 0.2-0.25 ม.ผาครึ่ง เจาะรู - ผสมปูนตราเสือและทรายละเอียด
สําหรับเสียบโครงเคราตั้งไผรวกดํา - ใชมืออัดซีเมนตเขาไปในผนังไผซางสับ
- ตั้งโครงเคราไผรวกดําทั้งเคราตั้งและ ฟากจากดานลางขึ้นบน แลวคอยฉาบให
เครานอน เขาเดือยใหโครงแข็งแรง เรียบ
-ใชผนังไมไผซางสับฟากทาดวยฟลิ้นโคส - พรมน้ําและบมไว3-4 วัน
ใหทั่วเปนไมแบบ
แรงงาน - ชางทําโครง 1คน - คนงานติดลวดกรงไก,ทาฟลิ้นโคส1 คน
- ชางฉาบ 1คน
วัสดุและเครื่องมือที่ใช - ไผโปกØ 0.2-0.25 ม.ผาครึ่ง - ลวดกรงไก ชอง 1x1ซม.
- ไผรวกดําØ 0.1-0.12 ม. ทําโครงเครา - ฟลิ้นโคสพรอมแปรงทาสี
- ไผซาง Ø 0.15 ม.สับฟาก - ปูนตราเสือ
- คอนและตะปู 1/2 “,1”,2”และ3” - ทรายละเอียดและที่รอนทราย
- เลื่อย ,มีดควาน - ถังปูนและเครื่องมือฉาบ
อุปสรรคและปญหา* - ขณะฉาบซีเมนตลงบนผิวไมไผซางสับฟาก ถากดแรงจะทะลักไปยังอีกฟากของผนัง
- ตองยึดผนังไผซางสับฟากใหไดดิ่งและฉากเสมอเมื่อฉาบผิว
142

3.ผนัง 12 ผนังไมไผซางผาซีก Ø10ซม.ทาฟลิน้ โคสฉาบดวยดินผสมซีเมนต

หองน้ํา

แนวความคิดในการ - หองน้ําเปนหองที่โดนน้ําและความชื้นตลอดเวลา การใชวัสดุที่กันซึมและทนความชื้น


เลือกใช โดยใชดินซีเมนตฉาบลงในแกนไมไผสาน สามารถแกปญหานั้นได
- ใชดินผสมซีเมนต แทนการใชทรายละเอียดและลดจํานวนเนื้อปูนที่ใชทําใหประหยัดคา
กอสราง เพราะใชวัสดุที่อยูในที่ตั้ง
- ใชไมไผซางผาครึ่งเปนไมแบบ และฝงทอน้ําไวดานในผนังเพื่อความเรียบรอย
- ใชขนาดผนังตามพิกัดมูลฐาน0.6x1.2 และใหเขากับพิกัดมูลฐานสากลดวย
กรรมวิธีกอสราง - ถนอมไมไผที่นํามาใชดวยวิธีธรรมชาติ - ตัดลวดกรงติดทับผนังไมไผซางผาครึ่ง
- ตั้งโครงสรางคอนกรีตเสริมไมไผรับผนัง - ผสมปูนตราเสือ 1ถึง ทรายละเอียด 2ถัง
- นําไผโปกØ 0.2-0.25 ม.ผาครึ่ง เจาะรู และดินแดง 15 กระปอง ผสมใหเขากัน
สําหรับเสียบโครงเคราตั้งไผรวกดํา - ใชมืออัดดินซีเมนตเขาไปในผนังไผซางสับ
- ตั้งโครงเคราไผรวกดําทั้งเคราตั้งและ ฟากจากดานลางขึ้นบน แลวฉาบใหเรียบ
เครานอน เขาเดือยใหโครงแข็งแรง - ตกแตงผิวดวยหินแมน้ํา
-ใชผนังไมไผซางผาครึ่งทาดวยฟลิ้นโคส - พรมน้ําและบมไว3-4 วัน
ใหทั่วเปนไมแบบ
แรงงาน - ชางทําโครง 1คน - คนงานติดลวดกรงไก,ทาฟลิ้นโคส1 คน
- ชางฉาบ 1คน
วัสดุและเครื่องมือที่ใช - ไผโปกØ 0.2-0.25 ม.ผาครึ่ง - ลวดกรงไก ชอง 1x1ซม.
- ไผรวกดําØ 0.1-0.12 ม. ทําโครงเครา - ฟลิ้นโคสพรอมแปรงทาสี
- ไผซาง Ø 0.15 ม.ผาครึ่ง - ปูนตราเสือ และทรายละเอียด
- คอนและตะปู 1/2 “,1”,2”และ3” - ดินแดง
- เลื่อย ,มีดควาน - ถังปูนและเครื่องมือฉาบ
อุปสรรคและปญหา* - ดินแดงที่ใชไมไดรอน และทําใหละเอียด เวลาฉาบจึงตองบดดินทําใหฉาบลําบาก
143

3.ผนัง 13 ผนังไมไผซางผาซีก Ø10ซม.ตามตั้งทาฟลิน้ โคสแปะบนดินผสมซีเมนต

หองนอน 2

แนวความคิดในการ - ผนังหองนอน2 ดานนี้เปนดานที่ติดกับผนังหองน้ําซึ่ง เปนผนังซีเมนตทําหนาที่กันน้ํา


เลือกใช และความชื้น การใชไมไผซางผาครึ่งติดกับผนังซีเมนตเปนตัวอยางในการใชไมไผในงาน
ตกแตงผิว ซึ่งสามารถนํามาประยุกตใชในอาคารกออิฐในอาคารปจจุบันได
- ใชขนาดผนังตามพิกัดมูลฐาน0.6x1.2 และใหเขากับพิกัดมูลฐานสากลดวย
กรรมวิธีกอสราง - ถนอมไมไผที่นํามาใชดวยวิธีธรรมชาติ
- ตั้งโครงสรางคอนกรีตเสริมไมไผรับผนัง
- นําไผโปกØ 0.2-0.25 ม.ผาครึ่ง เจาะรูสําหรับเสียบโครงเคราตั้งไผรวกดํา
- ตั้งโครงเคราไผรวกดําทั้งเคราตั้งและเครานอน เขาเดือยใหโครงแข็งแรง
- ใชไผซาง Ø 0.15 ม.ผาครึ่ง สอดเขาไปในโครงผนังเรียงตามตั้ง ทาดวยฟลิ้นโคสใหทั่ว
แรงงาน - ชางทําโครง 1คน -คนงานติดไมไผซางผาครึ่ง 1 คน
วัสดุและเครื่องมือที่ใช - ไผโปกØ 0.2-0.25 ม.ผาครึ่ง ฟลิ้นโคสพรอมแปรงทาสี
- ไผรวกดําØ 0.1-0.12 ม. ทําโครงเครา
- ไผซาง Ø 0.15 ม.ผาครึ่ง
- คอนและตะปู 1/2 “,1”,2”และ3”
- เลื่อย ,มีดควาน
อุปสรรคและปญหา* - ตองเลือกใชไผวางลําที่คอนขางตรง
144

4.หลังคา 1 หลังคามุงดวยไมไผซางผาครึ่ง

ชานพักผอนดานหนา
หองครัว, หองน้ํา

แนวความคิดในการ -ไมไผมีความโคงและมีเนื้อหนา สามารถรองรับน้ําไดดี การใชไมไผซางผาครึ่งวางคว่ํา


เลือกใช สลับหงาย สามารถปองกันน้ําฝนและแสงแดด เนื่องจากใชผิวดานนอกของไมไผซางซึ่งมี
ความแข็งแกรงเปนดานรับแสงแดดโดยตรง
- การใชไมไผซางผาครึ่งความยาว0.5ม. ทําใหสามารถเปลี่ยนกระเบื้องที่รั่วอันเนื่องมาจา
อายุการใชงานไดมากขึ้น
กรรมวิธีกอสราง - ถนอมไมไผซางตามวิธีธรรมชาติ - เจาะรูสําหรับสอดลวด ดวยสวาน
- ใชไผซาง Ø0.12-0.15ม.ยาว0.5ม.ใหใน - รอยลวดขาว เตรียมสําหรับมุงหลังคา
1 ทอน มีขอ1-2ขอที่ปลายของทอน - ตั้งอะเส,ขื่อและดั้งไมไผโปก Ø0.15-0.2ม.
เทานั้น - ตั้งจันทันไผซางØ0.1ม. @1ม.ยึดดวยเชือก
-ผาครึ่งไมไผซาง เลาะขอในทอนใหเรียบ -วางแปไผหกขนาด 1.5x2.5ซม.
- ใชมีดปาดปลายใหแหลม - มุงหลังคาไผซางเรียงใหตรงแนว
แรงงาน - ชางทําโครงหลังคา 3 คน -คนงานทํากระเบื้องไมไผ 6 คน
วัสดุและเครื่องมือที่ใช - ไผซาง Ø0.12-0.15ม - ไผโปก Ø0.15-0.2ม. - เชือกมะนิลา
- ไผซาง Ø0.1ม. - ไผหก Ø0.15ม. - สวาน
- เลื่อยและมีด -ลวดขาว
อุปสรรคและปญหา* - ไมไผซางที่ใชเปนกระเบื้องที่ไดรับการถนอมไมเพียงพอทําใหตองใชไมไผที่ไมไดถนอม
ทําใหหลังคามีน้ําหนักมาก
145

4.หลังคา 2 หลังคามุงดวยไมไผผาซีกซอนใตดวยสังกะสีแผนเรียบ

หองนอน1,ชาน
พักผอน

แนวความคิดในการ -ไมไผมีความโคงและมีเนื้อหนา สามารถรองรับน้ําไดดี การใชไมไผซางผาครึ่งวางคว่ํา


เลือกใช สลับหงาย สามารถปองกันน้ําฝนและแสงแดด เนื่องจากใชผิวดานนอกของไมไผซางซึ่งมี
ความแข็งแกรงเปนดานรับแสงแดดโดยตรง
- การใชไมไผซางผาครึ่งความยาว0.5ม. ทําใหสามารถเปลี่ยนกระเบื้องที่รั่วอันเนื่องมาจา
อายุการใชงานไดมากขึ้น
- ทดลองใชสังกะสีรองใตกระเบื้องไมไผ กนรั่วเนื่องจากกระเบื้องไมไผไมไดขนาด
เดียวกัน และจากการมุงที่ไมไดมาตรฐานจากคนงาน
กรรมวิธีกอสราง - ถนอมไมไผซางตามวิธีธรรมชาติ - ตั้งอะเส,ขื่อและดั้งไมไผโปก Ø0.15-0.2ม.
- ใชไผซาง Ø0.12-0.15ม.ยาว0.5ม.ใหใน - ตั้งจันทันไผซางØ0.1ม. @1ม.ยึดดวยเชือก
1 ทอน มีขอ1-2ขอที่ปลายของทอน - ตัดสังกะสีกวาง0.5ม.
เทานั้น -ติดสังกะสีบนจันทัน
-ผาครึ่งไมไผซาง เลาะขอในทอนใหเรียบ -วางแปไผหกขนาด 1.5x2.5ซม.ทับสังกะสี
- ใชมีดปาดปลายใหแหลม - มุงหลังคาไผซางเรียงใหตรงแนว
- เจาะรูสําหรับสอดลวด ดวยสวาน
- รอยลวดขาว เตรียมสําหรับมุงหลังคา
แรงงาน ชางทําโครงหลังคา 3 คน คนงานทํากระเบื้องไมไผ 6 คน
วัสดุและเครื่องมือที่ใช - ไผซาง Ø0.12-0.15ม - ไผหก Ø0.15ม. - เชือกมะนิลา
- ไผซาง Ø0.1ม. - เลื่อยและมีด - สวาน
- ไผโปก Ø0.15-0.2ม. - สังกะสีแผนเรียบ -ลวดขาว
อุปสรรคและปญหา* - ไมไผซางที่ใชเปนกระเบื้องที่ไดรับการถนอมไมเพียงพอทําใหตองใชไมไผที่ไมไดถนอม
ทําใหหลังคามีน้ําหนักมาก
146

4.หลังคา 3 หลังคามุงดวยหญาคาซอนใตดวยสังกะสี

หองนอน2

แนวความคิดในการ - หลังคามุงดวยหญาคาแตเดิมมีอายุการใชงานสั้นประมาณ1-2ป การใชวัสดุสําเร็จรูป


เลือกใช และราคาถูก เชนสังกะสีแผนหยัก รองใตหญาคาอีกชั้นหนึ่ง ก็สามารถปองกันปญหา
หลังคารั่วได
กรรมวิธีกอสราง - ถนอมไมไผซางตามวิธีธรรมชาติ -ติดสังกะสีบนจันทัน
- ตั้งอะเส,ขื่อและดั้งไมไผโปกØ0.15-0.2ม. - มุงหลังคาหญาคาทับสังกะสี
- ตั้งจันทันไผซางØ0.1ม. @1ม.ยึดดวย
เชือก
-วางแปไผหกขนาด 1.5x2.5ซม.
- ตัดสังกะสีกวางตามแนวหลังคา
แรงงาน ชาง 2 คน
วัสดุและเครื่องมือที่ใช - ไผซาง Ø0.12-0.15ม - ไผหก Ø0.15ม. - เชือกมะนิลา
- ไผซาง Ø0.1ม. - เลื่อยและมีด - สวาน
- ไผโปก Ø0.15-0.2ม. - สังกะสีแผนหยัก -ลวดขาว
- หญาคาสําเร็จรูป - คอนและตะปู 2”
อุปสรรคและปญหา* - การตัดสังกะสีใหตรงตามแนวหลังคาทําไดลําบาก เนื่องจาชางไมเคยทํางานดานนี้มา
กอน
147

5.บันได 1 บันไดไมไผซางแบบที่ 1

ระเบียง

แนวความคิดในการ - ออกแบบ ใหบันไดมีความสูงของลูกตั้งประมาณ18 ซม.และกวาง25ซม ใหใกลเคียงกับ


เลือกใช ชวงกาวที่สบายของมนุษย
- โดยใชไมไผซางØ0.1ม.เปนเคราตั้งวางเสียบลงบน ตงไมไผที่อยูดานใต และทําโครง
เครานอนยึดใหไดฉาก คลายขาโตะวางซอนกัน

กรรมวิธีกอสราง - ถนอมไมไผซางตามวิธีธรรมชาติ
- ใชไมไผซางØ0.1ม.เปนเคราตั้ง ยาว0.3ม. บากเปนเดือยดานลาง 5ซม.เพื่อเสียบกับตง
ไมไผดานลาง ใชเครานอนไมไผรวกดํา Ø0.07ม. ตั้งโครงบันไดตามรูป
- ใชไมไผซางผาซีก 1x5ซม.วางทับบนโครงบันไดทั้งหมด

แรงงาน - ชาง 1 คน
วัสดุและเครื่องมือที่ใช - ไมไผซางØ0.1ม.
- ไมไผรวกดํา Ø0.07ม.
- คอนและตะปู 2”
- สวาน
- เลื่อยและมีดควาน

อุปสรรคและปญหา* - ชางไมคอยเขาใจในเรื่องความสูงที่พอเหมาะสําหรับการกาวขึ้นบันได
- การเสียบเคราตั้งลงบนตงไมไผดานลางทําไดลําบาก เนื่องจาพื้นไผซางวานปดทับอยู
ตองใชคอนตีพื้นใหหางออก
148

5.บันได 2 บันไดไมไผซางแบบที่ 2

ชานบันได

แนวความคิดในการ - ออกแบบ ใหบันไดมีความสูงของลูกตั้งประมาณ18 ซม.และกวาง25ซม ใหใกลเคียงกับ


เลือกใช ชวงกาวที่สบายของมนุษย
- ใชแมบันไดไผซางØ0.12ม.รับน้ําหนักจากลูกนอนทําใหโครงสรางของบันไดที่ไปยึดติด
กับโครงสรางพื้นมีนอยลง และสามารถใชระยะเดิมของลูกนอนกับแมบันไดไปเปน
ตนแบบบันไดอื่นๆในเรือนได
กรรมวิธีกอสราง - ถนอมไมไผซางตามวิธีธรรมชาติ
- ตั้งแมบันไดไผซาง Ø0.12ม.
- เจาะรูเพื่อเสียบลูกนอน
- ตัดไผรวกดํา Ø0.07ม.เปนโครงลูกนอน
- เสียบโครงลูกนอนไผรวกดําลงในแมบันได แลวใชไผรวกดําทั้งลํา Ø0.07ม.หนีบโครงลูก
นอนใหแนนยึดติดกับแมบันได
- ใชไมไผซางผาซีก 1x5ซม.วางทับบนโครงลูกนอนบันไดทั้งหมด
แรงงาน - ชาง 1คน
วัสดุและเครื่องมือที่ใช - ไมไผซางØ0.1ม.
- ไมไผรวกดํา Ø0.07ม.
- คอนและตะปู 2”
- สวาน
- เลื่อยและมีดควาน
อุปสรรคและปญหา* - มีความลําบากในการเจาะรูสําหรับเสียบโครงลูกนอนในแมบันได ตองเจาะใหองศาของ
โครงทํากับระนาบพื้นอยูในระนาบราบ ทําใหตองถอดแมบันไดมาแกไขหลายครั้ง
149

5.บันได 3 บันไดไมไผซางแบบที่ 2

บันไดขึ้นเรือน

แนวความคิดในการ - พัฒนาบันไดลิง ใหความกวางของลูกนอนกวางกวาบันไดลิงทั่วไปโดย ใชไผโปก Ø0.2


เลือกใช ม.ผา สี่สวนวางลงบนขั้นบันลิงไผซาง Ø0.1ม.อีกชั้น และทําจมูกบันไดใหยาวขึ้น
กรรมวิธีกอสราง - ถนอมไมไผซางตามวิธีธรรมชาติ
- ตั้งแมบันไดไผหก Ø0.2ม.
- เจาะรูเพื่อเสียบลูกนอน
- ตัดไผซาง Ø0.1ม. เปนโครงลูกนอนเสียบระหวางแมบันได
- ยึดกึ่งกลางลูกนอนดวยไผหก Ø0.15ม.เพื่อความแข็งแรงเนื่องจากบันไดกวางประมาณ
1.5 ม.
- ใชไมไผโปก Ø0.2ม.ผา สี่สวน วางทับบนโครงลูกนอนบันไดทั้งหมด
- ใชไมไผโปก Ø0.2ม.ผา สี่สวนเปนจมูกบันได
แรงงาน - ชาง 1คน
วัสดุและเครื่องมือที่ใช - ไผหก Ø0.2ม.
- ไผซาง Ø0.1ม.
- ไผโปก Ø0.2ม.
- คอนและตะปู 2”
- สวาน
- เลื่อยและมีดควาน
อุปสรรคและปญหา* - บันไดมีความชั้นมากเนื่องจากชางยังไมเขาใจการวัดระนาบลูกนอนและลูกตั้งขงบันได
150

6.4 การดําเนินการกอสราง

การกอสรางอาคารตัวอยางในพืน้ ที่โครงการพัฒนาดอยตุง มีจุดมุง หมายเพื่อศึกษาและ


ทดสอบเทคนิคการกอสรางอาคารดวยไมไผที่สามารถแกปญหาเทคนิคการกอสรางเดิม และเผยแผ
เทคนิคนั้นแกประชาชนในพืน้ ที่โครงการพัฒนาดอยตุง โดยจัดใหมีการอบรมในชื่อโครงการวา “การ
ถายทอดเทคนิคการกอสรางอาคารดวยไมไผ สูพนื้ ที่โครงการพัฒนาดอยตุง วันที่ 24-25 ต.ค.2545”
โดยไดรับการสนับสนุนจากโครงการพัฒนาดอยตุง และความอนุเคราะหจาก มรว. ดิศนัดดา ดิศกุล
เลขาธิการมูลนิธิแมฟา หลวงและผูอํานวยการโครงการพัฒนาดอยตุง

โรงเรือน
ในการกอสรางองคประกอบอาคารไดใชโรงเรือนเก็บอุปกรณของ บริษทั นวุติ (บริษทั ใน
โครงการพัฒนาดอยตุง) เปนโรงเรือนกวางประมาณ 8 ม.ยาว 10 ม.มีหลังคาสังกะสีคุมตลอดโรงทําให
สามารถสรางผนังสําเร็จรูป และองคประกอบอาคาในที่รม กอนนําไปประกอบยังพิน้ ทีก่ อสรางจริง ซึ่ง
อยูหางจากโรงเรือนประมาณ 15 ม. ทําใหการเคลื่อนใชชิ้นสวนอาคารเปนไปดวยความสะดวก การ
เก็บวัสดุกอสรางอืน่ ๆเชนปูนซีเมนต, แลคเกอร ฯลฯ เก็บไวในที่รม อุปกรณกอสรางอื่นๆเก็บไวในหอง
พัสดุ

ภาพที่6.3แสดง โรงเรือนที่ใชสรางองคประกอบอาคาร ภาพที่6.4 แสดง พืน้ ทีส่ รางอาคารตัวอยาง


151

แรงงาน
แรงงานที่ใชเปนชาวเขาทั้งชายและหญิงทีอ่ าศัยอยูใกลกบั พื้นที่กอสราง(หมูบา นอาขาปา
กลวยและบานผาบือ) และสวนใหญเคยทํางานเปนกรรมกรดูแลไร แมคคาเดเมียใหกับบริษทั นวุติ
(เฉลี่ยคนงานกอสรางอาคารตัวอยางตอวัน ชาย 10คน หญิง 4 คน)

แรงงานชาย อายุเฉลี่ยประมาณ 35ป อายุต่ําสุด 22ป สูงสุด 53ป


การศึกษาต่ําสุด คือไมไดเรียนหนังสือ การศึกษาสูงสุด ป.6(คนงานทีม่ ีอายุ
ต่ําสุด)

แรงงานหญิง อายุเฉลี่ยประมาณ 30ป อายุต่ําสุด 25ป สูงสุด 40ป


การศึกษา ทุกคนไมไดเรียนหนังสือ

คาจาง คนงานทั่วไปเฉลี่ย 105 บาท/วัน


คนงานที่มีความรูทักษะการกอสราง 220 บาท/วัน (ประมาณ 3 คน/วัน)

พื้นที่กอสราง
ภูมิประเทศมีความลาดชัน เนื่องจากเปนเนินเขา มีตน ไมใหญสูงกวา15 เมตรลอมรอบ ทําให
อากาศและดินมีความชืน้ สูง พืน้ ที่ตงั้ ของหองนอนของอาคารตัวอยางเคยมีเรือนขนาดเล็กตัง้ อยูแ ต ทํา
ใหพนื้ ที่บางสวนไดรับการปรับระดับแลว แตก็มีซากเรือนเกาที่เปนคอนกรีตสูง 0.5 ม.กวาง 0.80 ม.
ยาว1 ม. ทําใหตองยกพืน้ สูง 0.80 ม.ใหพน ซากคอนกรีต สภาพดินเปนดินรวนผสมลูกรัง มีรากไมของ
ตนไมที่อยูลอมรอบที่ตั้ง ทํามีปญหาในการขุดหลุมสําหรับตั้งเสา

การดําเนินการกอสราง
การเตรียมวัสดุกอสราง โดยเฉพาะไมไผทใี่ ชในการกอสรางเชน ไผโปก ไผฮก, ไผตง, ไผซาง,ไผ
รวกดํา,ไผรวกแดง,และไผไร ไดทําการตัดและถนอมไมตามวิธธี รรมชาติ ไดตัดเตรียมไวรวมประมาณ
100 ลําเพื่อใชกอสรางเปนชิน้ สวนองคประกอบของอาคารตัวอยางเพื่อใชในการอบรม”เทคนิคการ
กอสรางอาคารดวยไมไผ สูพื้นที่โครงการพัฒนาดอยตุง” เทานัน้ และไดแบงการดําเนินกอสราง
ออกเปนสามชวง ตามลักษณะงานดังนี้
ชวงที่หนึง่ โครงสรางคอนกรีตเสริมคอนกรีตเสริมไมไผและผนังไมไผ
ชวงที่สอง โครงสรางอาคารและผนังไมไผ
ชวงที่สาม โครงหลังคา,ติดตั้งผนังและตกแตง
152

ชวงที่หนึ่ง โครงสรางคอนกรีตเสริมคอนกรีตเสริมไมไผและผนังไมไผ (11-19 ต.ค.2545)


ขณะดําเนินการกอสรางได3วันไดปรับแผนงานใหม โดยใชกลุมคนงานที่เปนชาวเขาที่ไมมี
ทักษะทางชางจํานวน10-12คน เปนผูรับการถายทอดเทคนิคโดยตรงและใหรวมกันสรางอาคาร
ตัวอยางทัง้ หลังใหเสร็จสมบูรณ โดยมีชาวเขาทีม่ ีทกั ษะทางชางอยูบา งจํานวน2-3คนและชางจาก
โครงการพัฒนาดอยตุงจํานวน 1 คนเปนผูช วยในการถายทอดเทคนิคนั้น
ในการกอสรางขั้นตนเปนการเตรียมไมไผสานสําหรับโครงสรางคอนกรีตเสริมไมไผ และหลอ
โครงสรางคอนกรีตเสริมไมไผทั้งพืน้ สําเร็จรูปและโครงสรางหลอกับที่ เนื่องจากคอนกรีตเสริมไมไผตอง
มีการบมคอนกรีตกอนใชงาน จึงตองเรงกอสรางกอน และไดแบงคนงานบางสวนทําโครงผนังไมไผ
สําเร็จรูป ทําตัวอยางขอตอไมไผในทางตั้งและทางนอน และ ทําตัวอยางหลังคาหระเบื้องไมไผแบบตาง
ปญหาที่เกิดขึน้ ในชวงที่หนึง่ มีปญหาจากการวางแผนงานกับเจาหนาที่ของโครงการที่
เกี่ยวของ และคนงานไมมคี วามรูทางการกอสรางเลย การสื่อสารและอธิบายงานเปนไปดวยความ
ลาชา เนื่องจากชาวเขาพูดภาษาไทยไมคอยได และยังไมเขาใจภาพการกอสรางและเปาหมายของ
งาน

ภาพที่6.5 แสดงโครงเสาไมไผที่แกนของเสาคอนกรีต ภาพที่ 6.6การทําโครงผนังไมไผสําเร็จรูป

ภาพที่6.7 แสดงโครงสรางคอนกรีตไมไผ
153

ภาพที่6.8 แสดงการทําโครงผนังไมไผสําเร็จรูป

ภาพที่6.9 แสดงโครงสรางคอนกรีตไมไผ ภาพที่6.10 แสดงการจักตอกของคนงาน

ภาพที่6.11 แสดงทําโครงผนังไมไผสําเร็จรูป ภาพที่6.12 แสดงขอตอไมไผ


154

ชวงทีส่ อง โครงสรางอาคารและผนังไมไผ (20-27 ต.ค.2545)


คนงานชาวเขามีความเขาใจในงานมากขึน้ แตยังไมสามารถกอสรางไดถูกตองตามเปาหมาย
ในการออกแบบ มีการแกไขและทดลองสรางตัวอยางเพือ่ การอธิบายแบบ ชาวเขามีแรงใจและทํางาน
อยางเต็มที่เพือ่ เรียนรูเทคนิคการกอสราง
การกอสรางชวงที่สอง เริ่มปรับปรุงพื้นที่และวางผังอาคาร ตั้งเสาอาคาและโครงสรางพืน้ การ
กอสรางผนังไมไผสําเร็จรูปรวดเร็วขึ้น สามรถทํางานเปนระบบและตามหนาที่และความถนัดของแตละ
คนได ในการวางผังเสาอาคารแมจะใชชาวเขาทีม่ ีทกั ษะทางชางและใชชางสํานักงานฯก็ไมสามรถตั้ง
เสาไดตรงแนวและไดดิ่ง

ภาพที่ 6.13 แสดงการโครงสรางเสา-คาน ภาพที่ 6.14 แสดงการยึดคานกับเสา

ภาพที่ 6.15 แสดงการติดพื้นไมไผซีก ภาพที่ 6.16 แสดงพื้นอาคารตัวอยาง


155

ภาพที่ 6.17แสดง การติดตั้งบานเกล็ด ภาพที่ 6.18 แสดงการทําผนังหองครัว

ภาพที่ 6.19 แสดงการทําผนังไมไผสําเร็จรูป ภาพที่ 6.20 แสดงการทําวงกรอบกหนาตาง

ภาพที่ 6.21แสดงบรรยากาศการทํางานในโรงเรือน
156

ภาพที่ 6.22แสดงการทําความสะอาด ภาพที่ 6.23 แสดงการทําโครงสรางพาดชวงกวาง12 ม.


และทาน้ํามันวานิชผนังไมไผสําเร็จรูป

ภาพที่ 6.24 แสดงการทําโครงสรางพาดชวงกวาง12 ม. ภาพที่ 6.25 แสดงแรงงานที่เขารวมการอบรม

ภาพที่ 6.26 แสดงแรงงานที่เขารวมการอบรม แบงตามกลุม


157

ชวงทีส่ าม โครงหลังคา,ติดตั้งผนังและตกแตง (28ต.ค.-16 พ.ย..2545)


ในชวงปลายเดือน ตุลาคม คนงานสวนใหญเปนชาวหมูบ าน อาขาปากลวย ในชวงนั้นมีงาน
ศพในหมูบาน ทุกคนในหมูบ านหามทํางานเปนเวลา 3 วันจนกวาศพจะฝง ทําใหคนงานกวาครึ่งตอง
หยุดงาน
การกอสรางในชวงสุดทายเปนการทําโครงหลังคาซึง่ ตองใชคนงานที่มที ักษะทางชางสองคน
เปนหลักในการวางโครงสรางตางๆ การมุงหลังคาใชเวลานานเนื่องจากตองผลิตกระเบื้องไมไผและตอง
ใชคนงาน5-6 คนในการผาและเหลาไมไผจึงจะทันตอการมุงหลังคาโดยคน2-3คน การติดตั้งผนัง
สามารถติดตั้งไดเสร็จภายในวันเดียว การตกแตงใชคนงานทีม่ ีความละเอียดและพัฒนาฝมือจนเปน
ชางไดประมาณ2 คน งานไฟฟาเปนหนาที่ของชางสํานักงาน

ภาพที่ 6.27 แสดงการเคลื่อนยายผนังสําเร็จรูป ภาพที่ 6.28 แสดงแรงงานในการติดตั้งผนังกับโครงสรางหลัก

ภาพที่6.29 แสดงการเคลื่อนยายผนัง ภาพที่ 6.30 แสดงการติดตั้งผนังกับโครงสรางหลัก

จากการดําเนินการกอสรางโดยใชคนงานที่ไมมีทกั ษะทางการกอสรางเลย สามารถสราง


อาคารตัวอยางเสร็จภายใน 42 วัน เสียคาใชจายเปนเงินประมาณ 120,000 บาท โดยเปนคาแรง
ประมาณ 70,000 บาท คาวัสดุกอสรางประมาณ 60,000 บาท ใชไมไผทั้งสิน้ ประมาณ 900 ลํา(เปน
กระเบื้องมุงหลังคาประมาณ 400-450ลํา)
158

ภาพที่ 6.31 แสดงโครงผนังไมไผฉาบดิน ภาพที่ 6.32 แสดงการฉาบดินซีเมนตลงในผนังไมไผ

ภาพที่ 6.33แสดงการมัดโครงหลังคา ภาพที่ 6.34 แสดงการมุงหลังคาโดยมีสังกะสีลองใตแป

ภาพที่ 6.35 แสดงการติดตั้งบันไดไมไผแบบที่ 1 ภาพที่ 6.36 แสดงการสานพื้นไมไผบริเวณชานดานหนา


159

ภาพที่ 6.37 แสดงการเจาะรูรอยลวดในกระเบื้องไมไผซาง ภาพที่ 6.38 แสดงการทํากระเบื้องไมไผซาง

ภาพที่ 6.39 แสดงการอธิบายโครงสรางหลังคาโดยทําแบบจําลองใหคนงาน และและชางสามารถทําตามแบบได

ภาพที่ 6.40 แสดงการอธิบายโครงสรางหลังคาโดยทําแบบจําลอง ภาพที่ 6.41 แสดงโครงสรางหลังคา


160

ภาพที่ 6.42 แสดงโครงสรางหลังคา ภาพที่ 6.43 แสดงโคมไฟ ใชหมวกสานดวยไมไผ

ภาพที่ 6.44 ภาพที่ 6.45

ภาพที่ 6.44-6.46 แสดงการบรรยายการกอสรางอาคารดวยไมไผ


ใหนักเรียนโรงเรียนชั้น ป.6 ขาแหยงพัฒนา ในพื้นที่โครงการพัฒนาดอยตุง
161

วัน/เดือน/ป รายการ แรงงาน หมายเหตุ


20-23ก.ย.45 - ตัดไมไผตามความองคประกอบที่ออกแบบ คนงาน 5-6 คน ตัดในโครงการ
ไว พัฒนาดอยตุง
24ก.ย.-4ต.ค.45 - แชไมไผในสระน้ํา คนงาน 2-3 คน สระน้ําศูนยฝก 52
ไร
5-11ต.ค.45 - ตากไมไผใหโดนแสงแดด คนงาน 2-3 คน
ชวงที่หนึ่ง
11ต.ค.45 - จัดแผนปฏิบัติการกอสราง คนงาน 3 คน
- เตรียมไมไผเสริมพื้นสําเร็จรูป คนงาน 1 คน
- สานผนังหนึ่งหนวยมูลฐาน 0.6x0.6 ม. คนงาน 3 คน
- ทําโครงผนังสําเร็จรูป
12ต.ค.45 - สานโครงพื้นคอนกรีตเสริมไมไผ คนงาน 4 คน
- สานผนังหนึ่งหนวยมูลฐาน 0.6x0.6 ม. คนงาน 1 คน
- ทําโครงผนังสําเร็จรูป คนงาน 6 คน
13ต.ค.45 - สานโครงพื้นคอนกรีตเสริมไมไผ คนงาน 3 คน
- ทําโครงผนังสําเร็จรูป คนงาน 4 คน
- เตรียมไมแบบพื้นคอนกรีตเสริมไมไผ ชาง 1คน คนงาน 2 คน
- ทดลองทํากระเบื้องไมไผ คนงาน 3 คน
14ต.ค.45 - ทําโครงผนังสําเร็จรูป คนงาน 3 คน
- เทพื้นคอนกรีตเสริมไมไผ ชาง 1คน คนงาน 4 คน
- ทดลองทํากระเบื้องไมไผ คนงาน 2 คน
- ทําหนาบานตาง คนงาน 1 คน
15ต.ค.45 - ทําโครงผนังสําเร็จรูป คนงาน 4 คน
- ทําหนาบานตาง คนงาน 1 คน
- เตรียมพื้นที่กอสราง คนงาน 3 คน
- ทําตัวอยางขอตอไมไผ คนงาน 2 คน
- เตรียมไมแบบพื้นคอนกรีตเสริมไมไผ ชาง 1คน คนงาน 1 คน
- เทพื้นคอนกรีตเสริมไมไผ
16ต.ค.45 - ทําโครงผนังสําเร็จรูป คนงาน 4 คน
- ทําหนาบานตาง คนงาน 1 คน
- เตรียมไมแบบพื้นคอนกรีตเสริมไมไผ ชาง 1คน คนงาน 1 คน
- สานฐานรากและหลอฐานราก คนงาน 3 คน
17ต.ค.45 - ทําบานประตู คนงาน 1 คน
- ทําหนาบานตางและวงกบ คนงาน 1 คน
- วางผังอาคารและขุดหลุม ชาง 1คน คนงาน 2 คน
162

17ต.ค.45(ตอ) - ทําผนังสําเร็จรูป คนงาน 2 คน


- สานคานคอนกรีตเสริมไมไผ คนงาน 1 คน
- หลอฐานราก คนงาน 2 คน
18ต.ค.45 - ทําผนังบานเฟยม คนงาน 1 คน
- ทําผนังสําเร็จรูป คนงาน 2 คน
- เตรียมไมแบบเสา-คานคอนกรีตเสริมไมไผ ชาง 2 คน คนงาน 1 คน
- สานโครงเสา คนงาน 2 คน
- หลอเสาและคาน
- ทําโครงฝาไมไผฉาบปูน คนงาน 1 คน
- สานโครงพื้นคอนกรีตเสริมไมไผหลอกับที่ คนงาน 1 คน
ชวงที่สอง
19ต.ค.45 - สานผนังไมไผ คนงาน 1 คน
- เตรียมไมไผสําหรับสาน คนงาน 3 คน
- ทําคานโครง คนงาน 2 คน
- ทดลองทํา Space Frame ดวยไมไผ คนงาน 2 คน
- ทําผนังสําเร็จรูป คนงาน 3คน
- ทําเสาโครงสรางชวงกวาง คนงาน 1 คน
- แกะแบบพื้น
- ทํากระเบื้องไมไผ
21ต.ค.45 - ขุดหลุมวางเสา คนงาน 1 คน
- ทํากระเบื้องไมไผ คนงาน 3 คน
- ทดลองทํา Space Frame ดวยไมไผ คนงาน 1 คน
- ทําเสาโครงสรางชวงกวาง คนงาน 1 คน
- ตั้งเสาไมไผ ชาง 1 คน คนงาน 2 คน
- ทําผนังสําเร็จรูป คนงาน 3คน
22.ค.45 - ขุดหลุมวางเสา คนงาน 2คน
- ทํากระเบื้องไมไผ คนงาน 4 คน
- ทําเสาโครงสรางชวงกวาง คนงาน 1 คน
- ตั้งเสาไมไผ ชาง 1 คน คนงาน 2 คน
- ทําผนังสําเร็จรูป คนงาน 3 คน
- สกัดเสา ชาง 1 คน คนงาน 1 คน
- ยกแผนพื้นขึ้นติดตั้ง
23ต.ค.45 - วางโครงสรางพื้น ชาง 2 คน คนงาน 2 คน
- ทํากระเบื้องไมไผ คนงาน 3 คน
- ทําผนังสําเร็จรูป คนงาน 3 คน
163

23ต.ค.45 - ทําเสาโครงสรางชวงกวาง คนงาน 3 คน


24ต.ค.45 - ติดตั้งโครงสรางชวงกวาง คนงาน 5-6 คน
- ทําผนังสําเร็จรูป คนงาน 3 คน
- โครงสรางพื้น ชาง 2 คน คนงาน 2 คน

25-26ต.ค.45 - อบรมเทคนิคการกอสรางอาคารดวยไมไผ ชาวบานในโครงการ


พัฒนาดอยตุง จํานวน
รวมประมาณ 40คน จาก
26 หมูบาน

28ต.ค.45
- โครงสรางพื้น คนงาน 3 คน คนงานหยุดงานศพ
- ทําผนังสําเร็จรูป คนงาน 1 คน
29ต.ค.45 - ทําผนังสําเร็จรูป คนงาน 3 คน คนงานหยุดงานศพ
30ต.ค.45 -โครงสรางหลังคา ชาง 2 คน คนงานหยุดงานศพ
- โครงสรางพื้น คนงาน 2 คน
1-5พ.ย..45 - โครงสรางพื้น
- ทําผนังสําเร็จรูป
-โครงสรางหลังคา
- ทํากระเบื้องไมไผ
- มุงหลังคา
ชวงที่สาม
6 พ.ย.45 - ติดผนังสําเร็จรูป ชาง 2 คน คนงาน 5 คน
- ทํากระเบื้องไมไผ คนงาน 3 คน
7 พ.ย.45 -โครงสรางหลังคา ชาง 3 คน
- มุงหลังคา คนงาน 3 คน
- โครงสรางพื้น คนงาน 2 คน
- ทํากระเบื้องไมไผ คนงาน 3 คน
- ฉาบผนัง ชาง 1 คน คนงาน 1 คน
8 พ.ย.45 - ฉาบผนัง ชาง 1 คน คนงาน 1 คน
- มุงหลังคา ชาง 1 คน คนงาน 3 คน
- โครงสรางพื้น คนงาน 2 คน
- ทํากระเบื้องไมไผ คนงาน 6 คน
- ระบบสุขาภิบาล ชาง 1 คน
9 พ.ย.45 - ฉาบผนัง ชาง 1 คน
164

- มุงหลังคา ชาง 1 คน คนงาน 3 คน


- โครงสรางพื้น คนงาน 2 คน
- ทํากระเบื้องไมไผ คนงาน 6 คน
- เดินไฟฟา ชาง 1 คน
- ระบบสุขาภิบาล ชาง 1 คน
10 พ.ย.45 - ทํากระเบื้องไมไผ คนงาน 6 คน
- เดินไฟฟา ชาง 1 คน
- ระเบียง คนงาน 1 คน
- ทาเคลือบผิว คนงาน 2 คน
- มุงหลังคา คนงาน 4 คน

11-16พ.ย.45 - ทํากระเบื้องไมไผ คนงาน 6 คน


- มุงหลังคา ชาง 1 คน คนงาน 4 คน
- ฝาเพดาน ชาง 1 คน คนงาน 2 คน
- โครงสรางพื้น ชาง 1 คน คนงาน 1 คน
- ตกแตง คนงาน 2 คน
165

รวมเวลาดําเนินการกอสราง 42 วัน
รวมเวลาทีท่ ํางานกอสราง 39 วัน
166
167

ภาพที่ 6.47 แสดงทัศนียภาพภายนอกอาคารตัวอยาง

ภาพที่ 6.48แสดงทัศนียภาพดานขางอาคารตัวอยาง

ภาพที่ 6.49 มือจับประตู

ภาพที่ 6.50 ทัศนียภาพภายในหองนอน 1


ภาพที่ 6.51 ทัศนียภาพภายในจากชานพักผอน
168

ภาพที่ 6.52 แสดงทัศนียภาพภายนอกตอนกลางคืน

ภาพที่ 6.53 แสดงทัศนียภาพภายในหองนอน 2


ภาพที่ 6.54 แสดงทัศนียภาพภายในหองน้ํา

ภาพที่ 6.55แสดงพื้นภายในหองนอน 1

ภาพที่ 6.56 แสดงปลั๊กไฟในหองครัว


ภาพที่ 6.57 แสดงโครงสรางค้ํายันชานดานหนา
169

ภาพที่ 6.58 ทัศนียภาพภายในหองนอน ภาพที่ 6.59 ทัศนียภาพภายในหองนอน

ภาพที่ 6.60 ทัศนียภาพระเบียง ภาพที่ 6.61 ทัศนียภาพภายนอก


170

6.5การเก็บขอมูลภายหลังจากการสรางเสร็จ 1 เดือน

สภาพอากาศ
ตั้งแตวันที่ 20 พฤศจิกายน 2545 อากาศบนดอยตุงมีอุณหภูมิเฉลี่ย18-22 มีฝนตกบอยครั้ง
ทําใหสภาพทีต่ ั้งมีความชื้นสูง มีการปด-ประตูและหนาตางเพื่อปองกันฝน

สภาพทั่วไป
มีใบไมและกิ่งไมหลนอยูท วั่ ไป มีคราบน้ําฝนอยูตามพืน้ ชานบาน มีรอยน้ําแหงแลวตามราว
ระเบียง สภาพผิวดินมีความชื้น , เฉอะแฉะ

1.โครงสรางพื้น
1.1 สภาพทัวไป
- บริเวณเสาที่อยูติดพื้นดินมีคราบดินเกาะติดอยู ซึ่งเกิดจากการกระเด็นเนื่องจากฝนที่
ตกลงมา ความหนาประมาณ
- เสาและคานคอนกรีตเสริมไมไผ ไมพบรอยแตกราวใดๆ
- พื้นชาน ที่ตากแดดและฝนมีคราบสีดํา
- พื้นเฉลียง ที่ไมไดถนอมและทาแชลไดรทสีดํา ไมพบเชื้อรา
- พื้นไผอัดสานที่ทาแชลแลคขาว พบเชื้อราบริเวณใกลๆ ประตู
- พื้นระเบียง มีคราบดําเนื่องมาจากฝน
1.2 ความแข็งแรงของรอยตอ
1.2.1 รอยตอที่เชื่อมดวยเชือก ไมพบปญหา
1.2.2 รอยตอที่เชื่อมดวยตะปูก็ไมพบปญหา
1.3 การหดตัวของไมไผในโครงสรางไมพบปญหาใดๆ

2. ผนัง
2.1 สภาพทั่วไป (แบงตามลักษณะการทา)
- ผนังที่ทาน้ํามันวานิช ยังมีความมันวาว ผิวไมชื้น
- ผนังที่ทาแชลแลคขาว มีเชื้อราที่ผิวนอกของผนัง แตผิวในไมมีรอยของเชื้อรา
- ผนังไมไผเผาไฟ มีเชื้อราที่ผิวนอกของผนัง แตผิวในไมมีเชื้อรา
- ตีนประตู 1 มีรอยมอดกินแตไมพบจุดที่มอดกินจริงๆ
2.2 รอยตอระหวางผนัง
171

การยึดตอผนังดวยตะปู ยังติดแนนสนิทและผนังไดระดับ การยึดติดดวยเชือกยัง


แข็งแรงและยึดแนน
2.3 ประตู
- ประตูบริเวณฝาปดที่สานดวยตอก ที่ไมไดถนอมมากอนนั้น มีรอยเชื้อราแทรกอยู
ตามรอยสานของผนัง แมวาจะทาดวยน้ํามันวานิช
- ฝาประตูที่ใชไผอัด ทาดวยแชลแลคขาวมีเชื้อรา
- ประตูขนานยังมีความแข็งแรง รูที่เจอยังยึดไดแนน
2.4 หนาตาง
- หนาตางบานเปดที่ใชบานพับยังไมมีปญหาที่เกิดจากตะปูที่ตอก
- บริเวณไผสานอัดทาดวยแชลแลคขาวมีปญหาเชื้อราเชนเดิม
- วงกบไมไผที่ทาน้ํามันวานิชมีรอยเชื้อราขึ้นอยู บางวงกบมีรูที่เกิดจากการไสตั้งแต
ตอนประกอบ แตใหญขึ้นกวาเดิม
- ผนังไมไผซางฉาบปูน, ผนังโครงไมไผฉาบปูน, ผนังไผซางผาซีกฉาบปูน ยังไมพบ
รอยแตกหรือรอยราว
- ดานฝาที่เปนไมไผไมพบเชื้อรา

3.หลังคา
3.1 สภาพทัว่ ไป
- มีรอยสีดําเกิดขึ้นในเนื้อหลังคาทีเ่ ปนไมไผดานใน
- ไมมีรอยแตกหรือน้ํารัว่ อันเนื่องมาจากหลังคาไมไผ
- น้ําหนักของแผนหลังคานอยลงเนื่องจากไมไผแหง
3.2 โครงสรางหลังคา
- เชือกที่ใชมัดโครงสรางอยูในสภาพดี
- โครงสรางหลังคาอยูในแนวระดับและรับน้ําหนักตามโครงสรางนัน้ ได
172

บทที่ 7
บทสรุปและขอเสนอแนะ

7.1 บทสรุป
การวิจัยในครั้งนี้มีเปาหมายเพื่อศึกษาการออกแบบอาคารที่ใชเทคนิคการกอสราง
อาคารดวยไมไผ โดยคํานึงถึง การรับแรงและการถายแรงอยางถูกตองในสวนตางๆโครงสราง และ
การใชวัสดุใชที่มีอยูในพื้นที่โครงการพัฒนาดอยตุง ผสมผสานกับวัสดุใหม ใหมีเหมาะสมกับการ
กอสรางในปจจุบันและอนาคต

7.1.1 บทสรุปการวิจัย
ไมไผเปนพันธุไ มที่มีประโยชนกับมนุษยมากที่สุดพันธุห นึง่ สามารถใชประโยชนไดแทบทุก
สวนของตน โดยเฉพาะในการกอสรางที่อยูอาศัย ไมไผเปนพืชที่ปลูกงายโตเร็ว มีผวิ ที่สวยงามและมี
ความแข็งแรงพอที่จะนํามากอสรางอาคารโดยใชไมไผรับแรงจากโครงสรางเองหรือผสานกับวัสดุอื่นๆ
ไมไผที่ใชในการกอสรางยังมีใหเลือกใชงานไดหลายพันธุ ตามขนาดของลํา ความยาวของปลอง หรือ
ตามความสามารถในการรับแรง
การกอสรางอาคารดวยไมไผในพืน้ ที่ตา งๆของประเทศไทยตามที่ไดสํารวจภาคสนามมีความ
คลายคลึงกันตรงที่
1. ไมไผหางายและมีราคาถูก
2.ใชเทคนิคการกอสรางจากภูมิปญญาของตนและที่ถา ยทอดกันมาใหองคอาคารตั้งอยูและ
ดํารงอยูได

การกอสรางอาคารดวยไมไผในพืน้ ที่ตา งๆของประเทศไทยตามที่ไดสํารวจภาคสนามมีความมี


ความหลากหลายขึ้นอยูก ับ
1.คติความเชือ้ ในทองถิ่น
2.พันธไมไผทขี่ ึ้นในภูมิประเทศนัน้
3.เทคนิคการกอสรางประจําทองถิน่
4.การคมนาคมขนสง วัสดุสาํ เร็จรูป
5.รายไดของครัวเรือน
173

การกอสรางอาคารดวยไมไผในพืน้ ที่ตา งๆของประเทศไทยตามที่ไดสํารวจภาคสนามมีปญหา


จาการกอสรางที่คลายคลึงกันคือ
1.เสาไมไผขนาดเล็ก (Ø3-5ซม.)รับน้าํ หนักไดนอย แรงอัดประลัย 260 กก./ ตรซม.
2.ปญหาความชืน้ จากดินและปลวก
3. ปญหามอดและแมลงกินไม
4. ตงไมไผและพื้นไมไผฟากแอนเมื่อรับน้าํ หนักเปนจุด(น้าํ หนักคนเดินหรือชั้นวางของ)
5.พื้นไมไผสับฟากมีรูทําใหสงิ่ ของเล็กๆตกลงไปใตถุนพืน้
6. ผนังไมไผสับฟากไมแข็งแรง
7. ผนังโดยทั่วไปไมมหี นาตาง ทําใหบานไมไดรับแสงธรรมชาติ และไมระบายอากาศ
8. ผนังสับฟากไมไผเมือ่ ใชภายนอกจะไมกันน้ํา
9. หลังคาที่มงุ ดวยหญาคาเปนตับไมคงทน
10. โครงสรางหลังคาไมมั่นคงแข็งแรง
จากปญหาดังกลาวไดเสนอแนวทางการแกปญหานัน้ หลายแนวทาง และไดทําการทดลอง
สรางอาคารตัวอยาง ณ โครงการพัฒนาดอยตุง พื้นที่ทรงงาน อ.แมฟาหลวง จ.เชียงราย และได
ถายทอดและใชคนงานที่เปนชาวเขาในพืน้ ที่โครงการพัฒนาดอยตุงที่ไมมีทักษะการกอสรางเลยเปน
แรงงานสําคัญในการสรางองคประกอบอาคาร และสรางอาคารตัวอยางนี้ และไดจัดการอบรมเพื่อ
ถายทอดเทคนิคการกอสรางอาคารดวยไมไผ แกผูนาํ หมูบานและชางประจําหมูบานในพื้นที่โครงการ
พัฒนาดอยตุง จํานวน 50 คนจากทัง้ สิ้น 26 หมูบา น ระหวางวันที่24-26 ต.ค.2545
ในการแกปญหาการกอสรางอาคารดวยไมไผที่พบนั้นสามารถแยกตามโครงสรางอาคารได
ดังนี้
1. ฐานรากและเสา พื้นที่ที่ใชงาน การรับ ความ ตนทุน การใช ทัก รวม
แรง ทนทาน งาน ษะ
1. ฐานรากคอนกรีตเสริมไมไผและเสา หองครัวและ 3 3 1 3 1 11
คอนกรีตเสริมไมไผ0.18x0.18ม หองน้ํา
2. เสาไมไผโปกØ0.15-0.20 ม.วางลง รับหลังคา 2 1 3 3 3 12
ในหลุมลึก0.80ม.กลบดวยหินเบอร 2 หองนอน 1
และ2
3.เสาไมไผโปกØ0.20-0.225 ม.วางลง รับพื้นและ 3 3 2 2 3 10
ในหลุมลึก0.80ม. เทดวยคอนกรีต หลังคาชาน
พักผอน
4. เสาไผฮก Ø0.12-0.15 ม.วางลงใน รับพื้นหองนอน 1 1 3 2 3 10
หลุมลึก0.80ม.กลบดวยหินเบอร 2 1,2 และ
174

2. พืน้ และโครงสรางพื้น พื้นที่ที่ใช การ ความ ตนทุน การใช ทักษะ รวม


งาน รับ ทนทาน งาน
แรง
1.พื้นไมไผซางผาซีก 1x5 ซม.บนตง ระเบียงหนา 1 1 3 2 3 10
ไมไผรวกดํา Ø8ซม.@0.25ม.ทา หองนอน
น้ํายากันปลวก
2.พื้นไมไผซางสับฟากวางบนตงไมไผ หองนอน 2 1 2 1 2 3 9
รวกดํา Ø8ซม.@0.25ม.ทาน้ํายากัน
ปลวก ปูทับดวยตอกสานสําเร็จรูป
ขนาด 1.20x1.20ม.
3.พื้นไมไผรวกดําทั้งลํา Ø8ซม. วาง ระเบียงหนา 2 2 2 2 3 11
บนคาน หองครัว
4.พื้นคอนกรีตเสริมไมไผ หนา 10 พื้นหองน้ํา 3 3 1 3 1 11
ซม.หลอกับที่วางบนคานคอนกรีต
เสริมไมไผ
5.พื้นคอนกรีตเสริมไมสําเร็จรูป หองครัว 3 3 1 3 1 11
ขนาด0.60x2.40ม.วางบนคาน
คอนกรีตเสริมไมไผ
6.พื้นไมไผรวกดําทั้งลํา Ø8ซม.ทา ระเบียงหนา 2 2 2 2 3 11
น้ํายากันปลวก วางบนคาน หองครัว

7.พื้นไมไผซางสับฟากวางบนตงไมไผ หองนอน 1 1 2 1 2 3 9
รวกดํา Ø8ซม.@0.25ม.ทาน้ํายากัน
ปลวก ปูทับดวยไผอัดสําเร็จรูป
8.พื้นไมไผซาง1x3 ซม.สานวางบนตง ระเบียง 1 1 3 1 3 9
ไมไผซาง Ø12ซม.@0.30ม.ทาน้ํายา
กันปลวก
9.พื้นไมไผซางทั้งลํา Ø10ซม.ทา ระเบียง 1 1 2 1 3 8
น้ํายากันปลวก วางบนคาน
175

3.ผนัง พื้นที่ที่ใชงาน การรับ ความ ตนทุน การใช ทักษะ รวม


แรง ทนทาน งาน
1.ผนังไมไผเฮี๊ยะทั้งลํา ประตูบานเปด หองนอน1 2 3 1 2 2 10
และหนาตางบานเลื่อน
2.ผนังไมไผ ประตูบานพลิก หองนอน1 2 3 1 2 2 10
3.ผนังไมไผ หนาตางบานเปด หองนอน1 2 3 2 2 2 11
4.ผนังไมไผ หนาตางบานเปด หองนอน2 2 3 2 2 2 11
5.ผนังซีเมนตไมไผสาน หองน้ํา 3 3 1 3 1 11
6.ผนังไมไผ หนาตางบานเกล็ดไมไผติด หองครัว 2 3 2 2 2 11
ตาย
7.ผนังไมไผ หนาตางบานเกล็ดไมไผ หองครัว 2 3 2 2 1 10
ปรับมุม
8.ผนังไมไผซางผิวลนไฟ หองครัว 2 3 2 2 2 11
9.ผนังไมไผซางทาฟลิ้นโคสแปะบน หองครัว 3 2 2 2 2 11
ซีเมนต
10.ผนังไมไผเฮี๊ยะสาน ขนาดขยายตาม หองนอน1 2 3 2 2 2 11
พิกัดมูลฐาน
11.ผนังไมไผซางทาฟลิ้นโคสฉาบดวย หองน้ํา 3 2 2 3 2 12
ซีเมนต
12.ผนังไมไผซางผาซีก Ø10ซม.ทาฟลิ้น หองน้ํา 3 2 2 3 2 12
โคสฉาบดวยดินผสมซีเมนต
13.ผนังไมไผซางผาซีก Ø10ซม.ตามตั้ง หองนอน2 3 2 2 2 2 11
ทาฟลิ้นโคสแปะบนดินผสมซีเมนต
176

4.หลังคา พื้นที่ที่ใชงาน การรับ ความ ตนทุน การ ทักษะ รวม


แรง ทนทาน ใช
งาน
1.หลังคามุงดวยไมไผผาซีก หองครัว, 2 3 2 3 10
หองน้ํา
2.หลังคามุงดวยไมไผผาซีกซอนใตดวย หองนอน1,ชาน - 3 1 3 1 8
สังกะสีแผนเรียบ พักผอน

3.หลังคามุงดวยหญาคาซอนใตดวย หองนอน2 - 3 1 3 1 8
สังกะสี

การใหคะแนนจากการสังเกตและการเขาไปใชงานจริงขอผูทําการวิจยั โดยคํานึงถึง
ความสามารถในการรับแรงโดยการสังเกต ความทนทานของการใชงาน ตนทุนในการกอสราง การใช
งานตามวัตถุประสงคขององคประกอบอาคาร และทักษะของคนงานในการกอสรางองคประกอบนั้น
1 = พอใช
2 = ดี
3=ดีมาก
จากการเก็บขอมูลและทดลองสรางอาคารตัวอยางเพื่อทดสอบแนวทางแกไขปญหาการ
กอสรางอาคารดวยไมไผ สามารถสรุปไดวา
1. ไมไผสามารถนํามาใชในการกอสรางอาคารที่อยูอาศัยใหคงทนถาวรไดถาไดรับการถนอม
รักษาอยางถูกวิธี
2. การผสานวัสดุอื่นๆกับไมไผสามรถทําไดและไดผลดี
3. แรงงานที่มีทักษะการกอสรางต่ําสามารถพัฒนาจนสามารถสรางอาคารอยางงายไดถา
ไดรับการถายทอดเทคนิคการกอสรางจากผูชํานาญการ
4. การใชร ะบบประสานทางพิกั ด และการผลิ ตชิ้ น สว นสํา เร็ จรูป โดยใช ไม ไผ เ ปน วั สดุห ลั ก
สามารถทําไดและสามารถพัฒนาเปนอุตสาหกรรมขนาดเล็กเพื่อสรางอาชีพในหมูบานได
5. การเลือกใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมสามรถกอสรางอาคารในราคาประหยัดและไมทําราย
สภาพแวดลอม
177

7.1.2สรุปปญหาในการกอสราง
จากการกอสรางอาคารตัวอยาง ณ พื้นที่โครงการพัฒนาดอยตุง จ.เชียงราย ระหวางวันที่ 11
ต.ค.-16พ.ย.2545 พบปญหาและอุปสรรคในการกอสราง โดยสามารถแยกออกเปนหัวขอดังนี้
1.ปญหาทักษะของแรงงาน
2. ปญหาจากการออกแบบ
3.ปญหาจากไมไผที่ใชในการกอสราง
4.ปญหาจากการขาดวัสดุกอ สรางอื่นๆ
5.ปญหาจากสภาพดินฟาอากาศ

1. ปญหาทักษะของแรงงาน
แรงงานที่ใชในการกอสรางอาคารตัวอยางหลังนี้ ทุกคนเปนชาวบานเขาในโครงการพัฒนา
ดอยตุง รอยละ 80 มาจากหมูบาน อาขาปากลวยและเปนคนงานในไรนวุติและไมเคยทํากอสรางบาน
มากอนเลย ทักษะการกอสรางจึงมีนอยมาก โดยเฉพาะคนงานหญิง ดังนัน้ การสื่อสารเพื่อทําความ
เขาใจในการกอสรางอาคารตัวอยางจึงทําไดคอนขางยาก ตัง้ ใชเวลา ประมาณ 2 สัปดาห จึงจะเขาใจ
และสามารถทํางานได
ดังนัน้ การกอสรางอาคารตัวอยางหลังนี้จงึ ไมสามารถกําหนดและวางแผนการกอสรางให
แนนอนได ตัวแปรสําคัญทีส่ ุดคือทักษะของแรงงานและความสามารถในการเรียนรูเ ทคนิคการกอสราง
ทั้งแบบดังเดิมและแบบใหม แตถึงกระนั้น พัมนาการของคนงานบางคนก็มพี ัฒนาการที่ดีจากคนงาน
สามารถเรียนรูและสรางสรรคงาน เมื่อจบโครงการแลวสามารถเปนชางกอสรางบานในหมูบา นได

2. ปญหาจากการออกแบบ
การออกแบบชิ้นสวนอาคารตัวอยางหลังนี้ เกิดขึน้ ในสตูดิโอ มิไดทดลองกอนนํามาสราง
อาคารตัวอยางจริง ใชการทําแบบจําลองเทานั้น ทําใหบางครั้งตองมีการออกแบบและทดลองสราง
ชิ้นสวนอาคารบางชิน้ หนางานกอสราง เปนการทดลองจากการออกแบบและทดลองสรางของคนงาน
และชางพรอมกันไปดวย

3. ปญหาจากไมไผที่ใชในการกอสราง
ไมไผที่ใชในการกอสรางอาคารตัวอยางหลังนี้ โดยสวนใหญใชไมไผในโครงการพัฒนาดอยตุง
และใชคนงานในการกอสรางไปตัดตามปาและชักลากมาใสรถบรรทุกมายังสถานที่กอสราง ปญหาจา
การคัดเลือกขนาด และความตรงของไมไผจากคนงานไมคอยไดมาตรฐาน ทําใหไดไมไผที่ขด ละบาง
178

ครั้งตองเสียเวลาไปตัดไมไผอีกครั้ง นอกจานี้ ไมไผในพืน้ ที่บางพันธุหาขนาดลําอยางที่ตองการไมได


หรือขึ้นอยูในทําเลที่ไมดี ลําตนเลยไมตรง และบางพันธุขาดแคลน
ปญหาการสรางเรือนดวยไมไผ
1. มักจะถูกสัตวและแมลง จําพวกมอด ปลวกทําลาย ทําใหโครงสรางชํารุดเสียหายทีล่ ะนอย เกิด
ฝุนละออง และทําใหเรือนผุผัง
2. ฝาผนังหรือพืน้ ไมไผสับฟาก มีชองวางระหวางรอยตอหรือรอยสานของไมไผถาไมมีการยาแนว
ทําใหมองเห็นภายในเรือนได กระแสลมรอนหนาวเขาไปในเรือน ตลอดจนสัตวและแมลงตางๆ
3. เกิดความยุงยากในการกอสราง บริเวณตาไมไผของลําตนตามธรรมชาติ ตองทําการตัดทิ้งทํา
ใหเสียเวลา ไมเรียบรอยสวยงามเกิดชองวางมากขึ้น
4. ไมไผที่ไมมีอายุครบแลวนํามาใชงาน จะไมมีความคงทนแข็งแรง จะบิดงอและผุงาย ถาผูตดั
คํานึงถึงแตปริมาณ ไมคํานึงถึงคุณภาพไม เมื่อนํามากอสรางจะทําใหเกิดความเสียหายได
5. ไมไผสานหรือสับฟากจะเกิดความเรียบรอยสวยงาม แตเพียงผิวดานนอกดานเดียวเทานัน้ อี
ดานมักจะผุและโดนมอดกิน
6. เมื่อใชไมไผทมี่ ีความยาวมากๆ ขนาดของไมไผจะมีเสนผานศูนยกลางไมเทากัน มีปญหา
ยุงยากในการกอสราง
7. ถาไมมีการปองกันและบํารุงรักษา ไมไผมอี ายุการใชงานไมเทาไมจริง

4.ปญหาจากการขาดวัสดุกอสรางอื่นๆ
ในการกอสรางอาคารตัวอยางหลังนี้จําเปนตองใชวัสดุจากนอกพืน้ ทีม่ าผสานเปนองคอาคาร
ดวย เชนตะปู ลวด น้ํามันรักษาเนื้อไมฯลฯ จําเปนตองไปซื้อและจัดหาจากรานวัสดุกอสรางที่อยูไ กล
จากพืน้ ที่กอสราง ทําใหการกอสรางหยุชะงัก

5.ปญหาจากสภาพดินฟาอากาศ
สภาพดินฟาอากาศในขณะกอสรางมีอากาศเย็น และบอยครั้งที่มีฝนตก และบางครั้งตก
ติดตอกัน1-2วัน ทําใหไมสามารถกอสรางกลางแจงไดตามปกติ และจาการที่ฝนตกชุกทําใหเกิด
ความชืน้ สูง ไมไผที่ไมไดรับการถรอมอยางถูกวิธีจงึ เกิดเชื้อราขึ้น
179

7.2 ขอเสนอแนะสําหรับอาคารที่กอสรางดวยไมไผ
การนําวัสดุพนื้ บานมาประยุกตกับวัสดุและเทคโนโลยีระดับกลาง เกิดเปนเทคโนโลยีวัสดุ
ในการพัฒนาเรือนพักอาศัย เรียกวาวัสดุทเี่ หมาะสม ( Appropriate Building Materials) โดยมี
ลักษณะดังตอไปนี้
1. ราคาถูก ทําใหสามารถกอสรางไดจริง ประหยัด
2. ไมซับซอน งายตอการกอสราง เหมาะสมกับทักษะของชางประจําทองถิ่น
3. ใชวัสดุในทองถิ่น เปนการสะดวกในการหาทรัพยากร ประหยัดคาขนสง
4. ใชพลังงานธรรมชาติ เปนการประหยัดพลังงาน จัดหาพลังงานในทองถิน่ ที่มี เชนแรงลม แรง
จากน้ําตก เปนตน
5. ใชทรัพยากรแรงงานคนเปนสวนใหญ การใชเครื่องจักรทีท่ นั สมัยหายากในทองถิ่นทีห่ างไกล
และราคาแพง อีกทัง้ จะทําใหอัตราการวางงานในทองถิน่ เพิม่ ขึ้น
6. ไมไผสามารถที่จะใชเปนเข็มฐานรากแทนเข็มไมเบญจพรรณไดอยางดี ราคาถูกกวากันมาก
นอกจากนี้ไมไผยังสามารถปลูกขยายพรรณไดงายและรวดเร็วกวาไมชนนิดอืน่
7. การใชไมไผแทนเหล็กเสริมในองคอาคารที่ไมรับน้ําหนักมาก และชวงระยะที่รองรับไมยามมาก
เกินไป ก็ใหไดผลดีเพียงพอ ทั้งราคาไมเมื่อเทียบกับเหล็กก็ราคาถูกกวากันมาก นอก จากนี้
ยังเปนการใชทรัพยากรทีม่ อี ยูในประเทศและหาไดงา ยและเปนการทดแทนการนําเขา
8. ไมไผที่จะใชทาํ เข็มฐานราก ตองคัดเลือกไมไผลําที่ตรงและมีความหนามาก จะทําใหตอกงาย
ขึ้น สวนรูไมไผแตละปลองเพื่อใหน้ําเขา ควรเจาะตรงบริเวณใกลๆขอไมไผและไมควรเจาะ
มากกวา 4 รู ในแตละปลอง เพราะจะทําใหไมไผโกงหักไดงายในขณะตอก
9. เข็มไมไผปลายขางเล็กเสี้ยมไหแหลม กอนตอกไมไผถามีการเจาะรูนาํ กอนโดยใชเหล็กกลม
ขนาดเสนผานศูนยกลาง 25 มม. ยาว 2 ม. ตอกนํากอนลึก 1 ม.แลวถอนขึ้น จากนัน้ จึงตอกม
ไผตามลงไปในรูเดิม จะทําใหเข็มไมไผไมสายมากและไมโกงหักในขณะตอก
10. การงอปลอกเปนสี่เหลีย่ มหรือวงกลมทําไดยากมาก จึงเปลี่ยนมาใชเปนปลอกหวายแทน โดย
ใชหวายขนาดเสนผาศูนยกลาง 9 มม. ผาซีก ซึง่ ทําเปนปลอกวงกลมไดงาย
180

บรรณานุกรม

โชติมา จตุรวงค. เรือนไทยดํา, วิทยานิพนธ ปริญญา มหาบัณฑิต ภาควิชาสถาปตยกรรม บัณฑิต


วิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,2540
ไตรรัตน จารุทัศน, ระบบการกอสรางอุตสาหกรรมสําหรับที่พกั อาศัยของผูที่มีรายไดปานกลาง
ในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล ,วิทยานิพนธปริญามหาบัณฑิต ภาควิชาเคหะการ
บัณฑิตวิทยาลัย,จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,2535
เทวินทร ผาติอุดมภาพ. การนําคอนกรีตเสริมไมไผมาใชในบานราคาถูก ,วิทยานิพนธ ปริญญา
มหาบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมโยธา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2518
ถาวร วิทรายคํา. แผนพื้นสําเร็จรูปเสริมไมไผ รูปรางน้ําคว่ํา, วิทยานิพนธ ปริญญา
มหาบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมโยธา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2523
ธีรศักดิ์ วงศคําแนน. การเลือกใชวัสดุและเทคโนโลยีที่เหมาะสมสําหรับเรือนชนบทยากจน
กรณีตัวอยางหมูบานทุงโจ จ.ลําปาง,วิทยานิพนธ ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชา
สถาปตยกรรม บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,2528
ฝายวิจัยการกอสราง สถาบันวิจัยวิทยาศาสรตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย. การวิเคราะหวิจัย
ตนแบบอาคารที่อยูอาศัยของเกษตรกรชนบท , กรุงเทพ, 2522
พงศพัน วรสุนทโรสถ และคณะ. วัสดุการกอสราง ,กรุงเทพ:ซีเอ็ดยูเคชั่น , 2544
ประจิต จิรัปปา. การใชไมไผเปนเข็มฐานรากอาคารในบริเวณดินออนกรุงเทพ, วิทยานิพนธ
ปริ ญ ญามหาบั ณ ฑิ ต ภาควิ ช าวิ ศ วกรรมโยธา บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย จุ ฬ าลงกรณ
มหาวิทยาลัย, 2516
ประลองพล เกียรติไพบูลผล. ความคิดเห็นของชางจักรสาน, วิทยานิพนธ ปริญญามหาบัณฑิต
คุรุศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,2530
น. ณ ปากน้ํา,แบบแผนบานเรือนในสยาม,กรุงเทพ:เมืองโบราณ,2543
วิวัฒน เตมียพันธ,ร.ศ.,เรือนพักอาศัย รูปแบบสําคัญของสถาปตยกรรมพื้นถิ่น,เอกสาร
ประกอบการสัมนา เรื่องเอกลักษณเรือนพื้นถิ่นภาคเหนือ,หนวยอนุรักษสิ่งแวดลอม
ศิลปกรรมทองถิ่น 17 จังหวัดภาคเหนือ,2539
สุรเชษฐ ชาวเรือ, การใชระบบชิ้นสวนสําเร็จรูปในบานพักอาศัย : การออกแบบศึกษาความ
เปนไปได , วิทยานิพนธปริญามหาบัณฑิต ภาควิชาสถาปตยกรรม บัณฑิตวิทยาลัย,
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,2524
สมภพ มาจิสวาลา, การประเมินที่อยูอาศัยกึ่งสําเร็จรูปในเขตกรุงเทพและปริมณฑล,
181

วิทยานิพนธมหาบัณฑิต ภาควิชาเคหการ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ


มหาวิทยาลัย,2541
สุทัศน เดชวิสิทธ. การปลูกไมไผ ,กรุงเทพ: สํานักพิมพเกษตรสาสน , 2544
อุดม ฉัตรศิริกุล. พฤติกรรมของระบบแผนพื้น-ตง คอนกรีตเสริมดวยไมไผที่อาบดวยฟลิ้นส
โคท, วิทยานิพนธ ปริญญา มหาบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมโยธา บัณฑิตวิทยาลัย
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2523
อัครวิทย แสงมหาชัย. การศึกษาผลของระยะหางระหวางเข็มตอกลุมเข็มไมไผลําเล็กๆ,
วิทยานิพนธ ปริญญา มหาบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมโยธา บัณฑิตวิทยาลัย
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2519
อํานวย พานิชกุลพงศ. การศึกษาแบบจําลองดินเสริมไมไผวิทยานิพนธ, ปริญญา มหาบัณฑิต
ภาควิชาวิศวกรรมโยธา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2525

Cox, F.B., and Geymayer, H.G. Expedient reinforcement for use in South East Asia
,Technical reportC-69-3,Report No.1 ,U.S. Army Engineer Wes.,1969
Georg Lippsmeier Dr. and balwant Singh Saini. Prefabrication for low cost hosing in
tropical areas, Germany: Institute for building in the tropics, 1975
Gienn,H.E.. Bamboo Reinforcement in Portland Cement Concrete, bulletin no.4,
Clemson Agricultural College,Ciemson,1950
Joaquin O.Siopongco Dr. Technology manual on bamboo as building material, United
Nation industrial development Orgranization , 1987
Jules J.a,Dr. Janssen. Bamboo, Eindhoven: CICA Publication82.03, 1982
Jules J.a,Dr. Janssen. Building with baboo, London: I.T. Publication, 1988
Marcelo Villegas. Tropical bamboo, Newyork: Rizzoli,1990
United Nation. The use of bamboo and reeds in building construction,
182

ภาคผนวก

แบบกอสรางอาคารตัวอยาง
183
184
185
186
187
188
189

โครงสรางกวาง 11 ม.
190

ประวัติผูเขียน

นายทรงเกียรติ เทีย้ ธิทรัพย เกิดเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2521 สําเร็จการศึกษาระดับ


ปริญญาตรีจาก คณะสถาปตยกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหาร
ลาดกระบัง ในปการศึกษา 2543 และไดรับทุนพัฒนาอาจารย ของทบวงมหาวิทยาลัย สังกัดสถาบัน
เทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง และไดเขารับการศึกษาตอในหลักสูตร
สถาปตยกรรมมหาบัณฑิต(เทคโนโลยีสถาปตยกรรมการกอสราง) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เมื่อป
การศึกษา 2544

You might also like