พืชสมุนไพร เรื่อง ใบเตย

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 7

เรื่อง สมุนไพรใบเตย

ผูจัดทำ
นายพศิน ใสสะอาด 6404310001003

เสนอ
อาจารย ผูชวยศาสตราจารย เกษร เมืองทิพย

รายงานเลมนี้เปนสวนหนึ่งของวิชาพืชสมุนไพร
สาขาพืชศาสตร
ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2566
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี
เรื่อง สมุนไพรใบเตย

ผูจัดทำ
นายพศิน ใสสะอาด 6404310001003

เสนอ
อาจารย ผูชวยศาสตราจารย เกษร เมืองทิพย

รายงานเลมนี้เปนสวนหนึ่งของวิชาพืชสมุนไพร
สาขาพืชศาสตร
ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2566
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี
คำนำ

รายงานเลมนี้จัดทำขึ้นเพื่อเปนสวนหนึ่งของวิชาพืชสมุนไพร ชั้นปที่3 เพื่อใหไดศึกษาหาความรู


ในเรื่องสมุนไพรใบเตยและไดศึกษาอยางเขาใจเพื่อเปนประโยชนกับการเรียน
ผูจัดทำหวังวา รายงานเลมนี้จะเปนประโยชนกับผูอาน หรือนักเรียน นักศึกษา ที่กำลัง
หาขอมูลเรื่องนี้อยู หากมีขอแนะนำหรือขอผิดพลาดประการใด ผูจัดทำขอนอมรับไวและขออภัยมา
ณ ที่นี้ดวย

ผูจัดทำ
นายพศิน ใสสะอาด
เนื้อหา
เตยจัดเปนพืชใบเลี้ยงเดี่ยว มีลำตนทรงกลมและเปนขอสั้นๆถี่กัน โผลขึ้นมาจากดินเพียงเล็กนอย โคนลำตน
แตกรากแขนงออกเปนรากค้ำจุนหรือเรียกวา รากอากาศ ลำตนสามารถแตกหนอเปนตนใหมได ทำใหมองเปน
กอหรือเปนพุมใหญๆที่รวมความสูงของใบแลวสามารถสูงไดมากกวา
1 เมตร ใบเตย แตกออกเปนใบเดี่ยวดานขางรอบลำตนและเรียงสลับวนเปนเกลียวขึ้นตามความสูงของลำตน
จนถึงขอด ใบมีลักษณะเรียวยาวเปนรูปดาบ ปลายใบแหลม สีเขียวสด ใบชูเฉียงแนบไปกับลำตน แผนใบเปน
มันกวางประมาณ 2-3 เซนติเมตร ยาวประมาณ 30-50 เซนติเมตร แผนใบ และขอบใบเรียบ แผนใบดานลางมี
สีจางกวาดานบน มีเสนกลางใบลึกเปนแองตื้นๆตรงกลาง ใบนี้สงกลิ่นหอมตลอดเวลาเพราะมีน้ำมันหอมระเหย
และสาร ACPY

ลักษณะทั่วไป
ใบเตยเปนพืชใบเลี้ยงเดี่ยวลักษณะแตกกอเปนพุมขนาดเล็ก ลำตนเปนขอ ใบออกเปนพุมบริเวณปลายยอด
เมื่อโตจะมีรากค้ำจุนชวย พยุงลำตนไว ใบเปนใบเดี่ยวออกเปนกระจุกเรียงสลับเวียนเปนเกลียวขึ้นไปจนถึง
ยอด ลักษณะใบยาวเรียวคลายใบหอก ปลายใบแหลม บริเวณกลางใบเปนรอง ขอบใบเรียบตรง ผิวใบเปนมัน
ดานทองใบจะเห็นเปนรูปคลายกระดูกงูเรือใบ มีกลิ่นหอม
สาระสำคัญที่พบในใบเตย
ประกอบไปดวยน้ำมันหอมระเหย (essential oil) และมีสีเขียวของคลอโรฟลล (chlorophyll) ซึ่งใน น้ำมัน
หอมระเหยประกอบไปดวยสารหลายชนิด เชน เบนซิลแอซีเทต (benzyl acetate) และแอลคาลอยด
(alkaloid) (Fatihanim et.al.,2008) ลินาลิลแอซีเทต (linalyl acetate ) ลินาโลออล (linalool) และ
เจอรานิออล (geraniol) และสารที่ทำให มีกลิ่นหอม คือคูมาริน (coumarin) และเอทิลวานิลลิน (ethyl
vanillin)

สรรพคุณและวิธใี ช
ใบเตยใหกลิ่นหอมหวาน และหอมเย็น ชวยลดการกระหายน้ำ เมื่อรับประทานน้ำใบเตยจะรูสึกชื่นใจและชุม
คอรักษา โรคหืด บำรุงหัวใจ ลดน้ำตาลในเสนเลือด และรักษาระดับความดันใหเปนปกติ (Peungvicha
et.al.,1998) สวนรากใชเปนยาบขับปสสาวะ และรักษาโรคเบาหวาน ในปจจุบันผูคนนิยมนำ ใบเตยมาหอทำ
ขนมหวาน เชน ขนมตะโก ใบนำมามัดรวมกัน ใชสำหรับวางในหองน้ำ หองรับแขกเพื่อใหอากาศมีกลิ่นหอม
ชวยในการดับกลิ่นหรือใชใบเตยสดนำมายัดหมอน ชวยใหมีกลิ่นหอม นำมาใชเปนสารแตงกลิ่นบุหรี่ นำมาสับ
เปนชิ้นเล็กๆ นำไปตากแดดใหแหง กอนใชชงเปนชาดื่ม น้ำมันหอมระเหยจากเตยนำไปเปนสวนผสมของน้ำยา
ปรับอากาศ ใชเปนสวนผสมของเครื่องสำอาง ครีมทาผิว แชมพู สบู หรือ ครีมนวด เปนตน รวมถึง..
• ใชเปนยาบำรุงหัวใจ ใชใบสดผสมในอาหาร แลวรับประทาน หรือนำใบสดมาคั้นน้ำรับประทาน ครั้งละ 2-4 ชอน
แกง
• ชวยดับกระหาย นำใบเตยสดมาลางใหสะอาด นำมาตำหรือปนใหละเอียด แลวเติมน้ำเล็กนอย คั้นเอาแตน้ำดื่ม
• รักษาโรคหัดหรือโรคผิวหนัง โดยนำใบเตยมาตำแลวมาพอกบนผิว
• ใชรักษาโรคเบาหวาน ใชราก 1 กำมือนำไปตมเปนน้ำดื่ม ทุกเชา-เย็น
• ใชเปนยาขับปสสาวะ โดยการนำตนเตยหอม 1 ตน หรือราก ครึ่งกำมือไปตมกับน้ำดื่มหรือใชใบมาหั่นตากแดดให
แหง แลวชงดื่มแบบชาเขียวก็ได
• ใชบำรุงผิวหนา โดยการใชใบเตยลางใหสะอาด หั่นเปนชิ้นเล็ก ๆ นำมาปนรวมกับน้ำสะอาดจนละเอียด จะไดครีม
ขนเหนียวแลวนำมาพอกหนาทิ้งไว
วิธีปลูก
อุปกรณและขนาดพื้นที่ที่ใชในการปลูกใบเตย สำหรับการทำสวนเตยเพื่อการคา สามารถทำไดทั้งใน
พื้นที่ขนาดเล็ก เพื่อสำหรับการใชเองภายในบาน โดยที่สามารถแบงขายใบเตยหอมใหผูสนใจทั่วไปได
หรือ ถามีพื้นที่ขนาดใหญ ก็สามารถทำสวนใบเตยหอมเพื่อการคา และยังสามารถแปรรูปเปน น้ำ
ใบเตย เพื่อการจำหนายไดอีก
เสียมปลูก เพราะการปลูกใบเตย ใชหนอในการปลูกเปนหลัก ระยะหางในการปลูกเพียงแค 50
เซนติเมตรตอหลุมปลูก แตในพื้นที่จำกัดยังสามารถปลูกชิดติดกันได ดังนั้น อุปกรณในการขุดหลุม
ปลูก ไมจำเปนตองมีขนาดใหญมาก เสียมปลูก จึงเปนอุปกรณที่เหมาะสมที่สุดในการขุดหลุมปลูก
หนอใบเตย
บัวรดน้ำหรือสปริงเกอร ใบเตย เปนพืชที่ตองการน้ำมาก การรดน้ำจึงเปนสิ่งสำคัญ สำหรับพื้นที่
จำกัดเล็ก ๆ ภายในบาน การใชบัวรดน้ำ จึงมีความเหมาะสมสำหรับการใหน้ำใบเตย สาเหตุที่ไมใช
สายยางฉีด เพราะจะทำใหตนใบเตยหักช้ำ ทำใหคุณภาพใบเตยไมดี สำหรับสวนขนาดใหญ การใช
สปริงเกอรเพื่อการรดน้ำรอบ ๆ สวน ชวยในการรดน้ำไดเปนอยางดี
วิธีการเก็บใบเตย การปลูกใบเตย ใชเวลาในการปลูกประมาณ 2 เดือน ก็สามารถเริ่มเก็บเกี่ยวใบเตยไดแลว
สำหรับการเก็บใบเตย ใหเริ่มตัดตั้งแตโคนตน ไปจนถึงเรือนยอด โดยทิ้งใบไวประมาณ 10-15 ใบ เพื่อใหตน
ใบเตยไดรับการพักตัวและแตกหนอใหม สามารถตัดใบเตยเพื่อการเก็บเกี่ยว ทุก ๆ สามวัน โดยปกติ ในพื้นที่ 1
ไร สามารถเก็บเกี่ยวใบเตยไดครั้งละ 100-200 กิโลกรัม ขึ้นอยูกับขนาดและความสมบูรณของตนใบเตยหอม

วิธีดูแลรักษาใบเตย การดูแลรักษาใบเตยนั้น ไมไดเปนเรื่องยาก เนื่องจากตนใบเตย เปนตนไมที่ดูแลไดงาย


ไมไดตองการแสงแดดมากนัก ปลูกในพื้นที่รมเงา ก็สามารถเก็บเกี่ยวได ลองมาดูแลวิธีรักษาใบเตยกัน
• น้ำ คือ สิ่งที่ควรหวงมากที่สุดสำหรับการเลี้ยงดู เนื่องจากใบเตยชอบพื้นที่ชื้น การขาดน้ำทำใหใบเตยไมแตกกอ ไม
แตกยอดใหม
• สำหรับการใสปยุ โดยปกติสามารถใชปุยคอก หรือ ปุยหมักไดตามความเหมาะสม โดยใสสัปดาหละ 1 ครั้ง แตถาใช
ปุยเคมีในการบำรุง ใหใชปุยที่เนนสารฟอสฟอรัส เพื่อการบำรุงใบ จะเปนสูตร 16-16-16 หรือ 16-20-0 เนนการ
บำรุงราก การแตกยอดใหมและสวนของใบ
• ใบเตยเปนพืชที่มีความทนทานสูง ดวยความที่เปนไมพุมพื้นลาง และชอบอยูในพื้นที่ชุมน้ำ จึงไมคอยมีปญหาเรื่อง
เชื้อรา สวนแมลงกัดกินใบอาจมีบา ง สามารถใชสารไลแมลงในการกำจัดแมลง แตโดยสวนใหญ ถาปลูกใบเตยในรม
มักไมคอยมีแมลงรบกวน
• ใบเตยไมชอบแดดแรง หากอุณหภูมิสูงจะทำใหใบเตยเหีย่ วแหงไป จำเปนตองปลูกในพื้นที่รม แตถาไมสามารถทำได
ก็ตองรดน้ำใหเพียงพอ

You might also like