บทที่5

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 2

บทที่ 5

ปัญหาและขอเสนอแนะ

5.1 บทสรุป

งานวิจัยวิทยานิพนธ์นี้มีเป้าหมายและวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาขั้นตอนวิธีการหาค่าพารามิเตอร์ที่
ป้อนให้กับตัวควบคุม PID สาหรับการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง และเพื่อทดสอบสมรรถนะ และ
ตรวจสอบเสถียรภาพของระบบควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง ผลดาเนินงานวิจัยวิทยานิพนธ์เป็นไป
ตามวัตถุประสงค์ขอบเขตและสมมุติฐานที่กาหนด โดยสามารถสรุปผลวิจัยได้ดังต่อไปนี้

(1) ทดสอบสมรรถนะของการค้นหาแบบตาบูด้วยฟังค์มาตรฐานได้อย่างมีประสิทธิภาพอย่าง
แม่นยารายละเอียดที่ปรากฏในบทที่ 3
(2) การออกแบบตัวควบคุมพีไอดีโดยการหาค่าพารามิเตอร์แบบตาบู สามารถควบคุมความเร็ว
มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงได้อย่างมีประสิทธิภาพเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการดั้งเดิม
(3) ดาเนินการอนุวัติระบบควบคุมความเร็วมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงที่มีตัวควบคุมพีไอดี โดย
อาศัยเทคโนโลยีสมองกลฝังตัว ซึ่งเลือกใช้บอร์ดควบคุมสมองกลฝังตัวTMS320F28379D
เชื่อมต่อกับโปรแกรม MATLAB/SIMULINK และโปรแกรม CodeComposerStudio
V.8.1
(4) ตรวจสอบเสถียรภาพของระบบควบคุมพีไอดีที่ประยุกต์ขึ ้น โดยออกแบบด้ วยขันตอนวิ
้ ธี

TS ได้ ข้อสรุปว่า เป็ นระบบที่มีเสถียรภาพตามขอบเขตที่กาหนด

5.2 ปัญหาที่พบในการวิจัยและแนวทางแก้ปัญหา

งานวิจยั วิทยานิพนธ์ นี ้มีปัญหาและมีแนวทางแก้ ไขปั ญหาดังต่อไปนี ้

(1) มอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสตรงที่ถูกนามาทดสอบเป็ นมอเตอร์ มือ 2 ที่ผ่านการใช้ งานมาแล้ ว


ซึง่ มีทงหมด
ั้ 3 ตัว และไม่มี เนมเพลท มาให้ ทงหมดั้ จึงยากต่อการหาค่าพารามิเตอร์ ที่
ถูกต้ อง 100 % ด้ วยสาเหตุนี ้จะต้ องแก้ ไขโดยการคานวณหาค่าพารามิเตอร์ ของมอเตอร์
ไฟฟ้ ากระแสตรง
67

5.3 ข้ อเสนอแนะและแนวทางการพัฒนา

จากผลการดาเนินงานวิจัยที่ผ่านมาก่อ ให้ เกิดแนวคิดในการพัฒนางานวิจัยในอนาคตได้


หลากหลายแนวทางดังต่อไปนี ้

(1) พัฒนาขันตอนวิ
้ ธี TS ให้ มีสมรรถนะในการค้ นหาผลเฉลยที่ดียิ่งขึ ้น เพื่อให้ สามารถใช้ ได้
กับทุก ๆฟั งก์ชนั่ โดยไม่ต้องปรับค่าพารามิเตอร์
(2) การประยุกต์ TS ให้ มีการตอบสนองการปรับพารามิเตอร์ PID แบบอัตโนมัติ
(3) พัฒนาตัวควบคุมพีไอดีให้ มี เสถียรภาพมากขึ ้นด้ วยขันตอนวิ
้ ธีของ TS

You might also like