Final 15

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 103

ระบบสารสนเทศเพื่อจัดการงานสารบรรณ

นายพิรฬุ ห เดชะเทศ

สารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ
ปการศึกษา 2549
ลิขสิทธิ์ของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ
ชื่อ : นายพิรฬุ ห เดชะเทศ
ชื่อสารนิพนธ : ระบบสารสนเทศเพื่อจัดการงานสารบรรณ
สาขาวิชา : เทคโนโลยีสารสนเทศ
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ
ที่ปรึกษาสารนิพนธ : อาจารยมณเฑียร รัตนศิริวงศวุฒิ
ปการศึกษา : 2549

บทคัดยอ
สารนิพนธฉบับนี้มีวัตถุประสงค เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อจัดการงานสารบรรณบน
เครือขายอินเตอรเน็ต ระบบนี้พัฒนาขึ้นเพื่อนําระบบคอมพิวเตอรเขาไปชวยในการจัดเก็บขอมูล
ของการรับหนังสือเขา การสงหนังสือออก การสงหนังสือไปถึงผูเกี่ยวของ การจัดทํารายงาน โดย
ระบบแบงผูใชงานออกเปน 3 กลุมโดยแตละกลุมมีหนาที่แตกตางกัน ผูดูแลระบบ ทําหนาที่ในการ
เพิ่มผูใชงานในระบบ กําหนดสิทธิ์การใชงาน และสํารองขอมูล เจาหนาที่ธุรการ ทําหนาที่ในการ
บันทึกการรับหนังสือเขาและ การสงหนังสือออก กําหนดผูรับงาน สงอีเมลลแจงเตือน เพิ่มขอมูล
ขาว และจัดทํารายงานสรุป ตาง ๆ ผูใชงานระบบ สามารถดูขอมูลเอกสารเขา และเอกสารออก
ของตนเองได
ทําการพัฒนาระบบดวย Microsoft Visual Sudio.Net 2003 โดยใชภาษา Microsoft Visual
Basic.Net บนระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows XP และระบบการจัดการฐานขอมูล Microsoft
SQL Server 2000 จากการประเมินประสิทธิภาพของระบบโดยผูเชี่ยวชาญ 5 คน และผูใชจํานวน
30 คน ทําการทดสอบระบบ ผลการประเมินประสิทธิภาพ ของระบบสารสนเทศเพื่อจัดการงานสาร
บรรณ คาเฉลี่ยเทากับ 4.32 และคาเบี่ยงเบนมาตราฐานเทากับ 0.50 สรุปไดวา ระบบสารสนเทศ
เพื่อจัดการงานสารบรรณ ที่ทําการพัฒนาขึ้นอยูในระดับดี สามารถนําไปใชงานไดอยางเหมาะสม

(สารนิพนธนมี้ ีจํานวนทั้งสิ้น 99 หนา)

________________________________________________อาจารยทปี่ รึกษาสารนิพนธ


Name : Mr. Piroon Dechates
Master Project Title : Information System Management for Archives System
Major Fieldect Advisor : Information Technology
King Mongkut’s Institute of Technology North Bangkok
Master Project Advisor : Mr.Montean Rattanasiriworgwut
Academic YearAdvisor : 2006

Abstract
The objective of this master project was developed the Information System Management
for Archives System. This system aims to assist users for managing their database receiving,
sending documents and generate reports. The users of this system are categorized in 3 groups:
Each group has different functions in the system. Administrators, are adding new users, assigning
authorization, and backing up data. Officers, can record new received and sent documents, assign
receivers, send alert emails, and generate reports. General users, can read their own document and
receive attached files from the offices.
The system was developed using a web application technology that is the Microsoft Visual
Basic.Net It was implemented supporting to Microsoft Windows XP and Microsoft’s SQL Server
for Database Management System. The developed system was evaluated by 5 experts and 30
users. The result shows that the mean and standard deviation is 4.32 and 0.50 respectively. They
present that the performance of this system is acceptable in a good level.

(Total 99 pages)

________________________________________________________________________Advisor


กิตติกรรมประกาศ

สารนิพนธฉบับนี้สําเร็จไดผจู ัดทํากราบขอบพระคุณ อาจารยมณเฑียร รัตนศิริวงศวุฒิ


ประธานกรรมการที่ปรึกษาสารนิพนธ อาจารยศิฬาณี นุชติ ประสิทธิชัย และอาจารยมาลีรัตน โสดา
นิล กรรมการสอบสารนิพนธ ที่กรุณาใหคาํ ปรึกษา ตลอดจนตรวจและแกไขขอบกพรอง จนสาร
นิพนธสําเร็จลุลวงไปดวยดี และขอขอบคุณผูเชี่ยวชาญและผูใชงานทุกทาน ที่ไดกรุณาตรวจสอบ
แกไขพรอมขอเสนอแนะ จนทําใหสารนิพนธนี้มีความสมบูรณยิ่งขึ้น
ขอขอบคุณ คุณเบญจมาศ จันทราทิตย เจาหนาที่ธุรการ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ ที่ใหขอ มูลในการพัฒนาระบบ อีกทั้งกรุณา
รวมทดสอบการทํางานและประเมินผลการใชงานระบบ
สุดทายนี้ผูจัดทําขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา ซึ่งใหการสนับสนุนในดานการเงินและ
คอยใหกําลังใจตลอดเวลา และขอบคุณเพือ่ นๆ นักศึกษาสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศทุกทานที่คอย
ใหคําแนะนําและชวยเหลือในเรื่องตางๆ จนทําใหสารนิพนธนี้สําเร็จลุลวงไปไดดวยดี

พิรุฬห เดชะเทศ
สารบัญ

หนา
บทคัดยอภาษาไทย ข
บทคัดยอภาษาอังกฤษ ค
กิตติกรรมประกาศ ง
สารบัญตาราง ช
สารบัญภาพ ซ
บทที่ 1. บทนํา 1
1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1
1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย 2
1.3 สมมติฐานการวิจัย 2
1.4 ขอบเขตของการวิจยั 2
1.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 3
บทที่ 2. เอกสารและงานวิจยั ที่เกีย่ วของ 5
2.1 ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ 8
2.2 วงจรชีวิตของการพัฒนาระบบงานสารสนเทศ 9
2.3 แผนภาพกระแสขอมูล (Data Flow Diagram) 15
2.4 ภาษา HTML 13
2.5 เทคโนโลยีของไมโครซอฟตดอทเน็ต (Microsoft .NET Technology) 15
2.6 ฐานขอมูลและการจัดการฐานขอมูล 19
2.7 ภาษา ASP.NET 21
2.8 ภาษา จาวาสคริปต 22
2.9 งานวิจยั ทีเ่ กี่ยวของ 23
บทที่ 3. วิธีการดําเนินงาน 25
3.1 การวิเคราะหและออกแบบระบบ 25
3.2 การสรางและพัฒนาระบบ 42
3.3 การสรางเครื่องมือประเมินความพึงพอใจของระบบ 42
3.4 การวิเคราะหขอ มูลทางสถิติ 43
บทที่ 4. ผลของการดําเนินงาน 45
4.1 ผลการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อจัดการงานสารบรรณ 45


สารบัญ(ตอ)

หนา
4.2 ผลการวิเคราะหแบบประเมินความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ 48
4.3 ผลการวิเคราะหแบบประเมินความคิดเห็นของผูใชงานทั่วไป 51
4.4 สรุปผลการประเมินหาประสิทธิภาพของระบบ 54
บทที่ 5. สรุปผลและขอเสนอแนะ 57
5.1 สรุปและอภิปรายผล 57
5.2 ปญหาและอุปสรรค 58
5.3 ขอเสนอแนะ 59
บรรณานุกรม 60
ภาคผนวก ก 63
รายนามผูเชี่ยวชาญและผูใชงาน 64
แบบประเมินประสิทธิภาพระบบ 67
ภาคผนวก ข 73
คูมือการใชงานระบบในสวนของผูดูแลระบบ 74
คูมือการใชงานระบบในสวนของเจาหนาที่ 79
คูมือการใชงานระบบ สวนของผูใชงานทั่วไป 92
ประวัติผูจัดทําสารนิพนธ 99


สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา
2-1 คําสั่งเบื้องตนของภาษา HTML 14
3-1 ขอมูลขาว (News) 35
3-2 สงหนังสืออก (tb_OutDocument) 35
3-3 เอกสารแนบหนังสืออก (tb_OutDocumentFile) 36
3-4 รับเอกสารเขา (tb_ReceiveDocment) 36
3-5 ความคิดเห็นของผูรับเอกสาร(tb_ReceiveDocumentComment) 37
3-6 เอกสารที่รับเขา (tb_ReceiveDocumentFile) 37
3-7 รับเอกสารของผูใชงาน (tb_ReceiveDocumentUser) 37
3-8 ผูใชงาน (tb_User) 38
3-9 รายละเอียดกระทู (tb_Webboard_Details) 38
3-10 หัวขอกระทู (tb_Webboard_Item) 39
3-11 เกณฑการใหคะแนนของแบบประเมิน 42
4-1 ผลการประเมินความพึงพอใจระบบของผูเชี่ยวชาญดานความสามารถทํางานตาม 48
ความตองการของผูใชงาน
4-2 ผลการประเมินความพึงพอใจระบบของผูเชี่ยวชาญ ดานหนาที่ของโปรแกรม 49
4-3 ผลการประเมินความพึงพอใจระบบของผูเ ชี่ยวชาญ ดานการใชงานของ 50
4-4 โปรแกรม ผลการประเมินความพึงพอใจระบบของผูเชี่ยวชาญ ดานดานความ 50
ปลอดภัย
4-5 ผลการประเมินความพึงพอใจระบบของผูใ ชงานทั่วไป ดานความสามารถทํางาน 51
ตามความตองการของผูใชงาน
4-6 ผลการประเมินความพึงพอใจระบบของผูใ ชงานทั่วไป ดานหนาที่ของโปรแกรม 52
4-7 ผลการประเมินความพึงพอใจระบบของผูใ ชงานทั่วไป ดานการใชงานของ 53
โปรแกรม
4-8 ผลการประเมินความพึงพอใจระบบของผูใ ชงานทั่วไป ดานดานความปลอดภัย 53
4-9 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจระบบในทุก ๆ ดาน โดยผูเชี่ยวชาญ 54
4-10 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจระบบในทุก ๆ ดาน โดยผูใชงาน 55


สารบัญภาพ

ภาพที่ หนา
2-1 ขั้นตอนของวงจรชีวิตของการพัฒนาระบบงานสารสนเทศ 9
2-2 สัญลักษณที่ใชแสดงแทน Process 10
2-3 สัญลักษณ เสนทางการไหลของขอมูล (Data Flow) 10
2-4 สัญลักษณ ตัวแทนขอมูล (External Agent) 11
2-5 สัญลักษณแหลงจัดเก็บขอมูล (Data Store) 11
2-6 แผนภาพระดับ 0 (Level-0 Diagram) 12
2-7 แผนภาพระดับ 1 (Level-1 Diagram) 13
2-8 โครงสรางสถาปตยกรรมของ .NET 15
2-9 โครงสรางเลเยอร Common Language Runtime 16
2-10 รูปแบบการคอมไพลโคดไปเปน IL Code 16
2-11 สถาปตยกรรม ADO .NET 18
3-1 Context Diagram การไหลขอมูลระดับสูงสุด 27
3-2 Data Flow Diagram Level 0 28
3-3 Data Flow Diagram Level 1 ตรวจสอบสิทธิการใชงานระบบ 29
3-4 Data Flow Diagram Level 1 บริหารและจัดการผูใชระบบ 30
3-5 Data Flow Diagram Level 1 บริหารและจัดการเอกสาร 30
3-6 Data Flow Diagram Level 1 สํารองขอมูล 31
3-7 Data Flow Diagram Level 1 สืบคนและแสดงเอกสาร 32
3-8 Data Flow Diagram Level 1 ปรับปรุงและแสดงขอมูลขาว 32
3-9 ปรับปรุงและแสดงขอมูลกระดานถามตอบ 33
3-10 ผังแสดงความสัมพันธของขอมูลตาง ๆ 34
3-11 หนาจอแรกของระบบ 39
3-12 หนาจอผูดแู ลระบบ 40
3-13 หนาจอรับเอกสาร 40


สารบัญภาพ(ตอ)

ภาพที่ หนา
3-14 หนาจอของผูใชงาน 41
3-15 หนาจอกระดานถามตอบ 41
4-1 หนาจอแรกของระบบ 45
4-2 หนาจอผูใชงานใส อีเมลแอดเดรสหรือรหัสผานไมถูกตอง 46
4-3 หนาจอสําหรับผูดูแลระบบ 46
4-4 หนาจอสําหรับเจาหนาที่ 47
4-5 หนาจอสําหรับผูใชงาน 47


บทที่ 1
บทนํา

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา
การทํางานที่เกี่ยวกับเอกสารนั้น มีความจําเปนที่จะตองมีการจัดเก็บและสืบคนเอกสารที่ดี
เนื่องจากเอกสารนั้ นตองจัดเก็บไวอยางนอย 10 ป ทําใหมีเอกสารเปนจํ านวนมาก การจัดเก็บ
เอกสารนั้นตองแยกจัดเก็บเปนหมวดหมู ประเภทของเอกสารใหเรียบรอย เพื่อความสะดวกในการ
สืบคน แตเนื่องจากการทํางานที่เกี่ยวกับเอกสารในปจจุบันเอกสารสวนใหญยังเปนกระดาษอยู การ
สืบคนเอกสารจึงทําไดไมสะดวกและรวดเร็วเทาที่ควร รวมถึงการติดตามเอกสาร เพราะกวาที่
หนังสือหรือเอกสารแตละฉบับจะถูกจัดสงออกจากหนวยงานหรือองคกร นั้นจะตองผานลําดับ
ขั้นตอนมากมาย กวาที่จะถึงมือผูรับ หรือ ถึงมือผูที่มีอํานาจลงนาม สั่งการ รวมทั้งเอกสารจาก
ภายนอกองคกรที่กวาจะถึงผูที่รับนั้นคอนขางใชเวลามากในการดําเนินการตอบกลับ จึงนําเอา
เทคโนโลยีทางดานคอมพิวเตอร และอินเทอรเน็ตที่ไดรับความนิยมกันอยางแพรหลายในปจจุบัน
มาใชแกปญหาโดยจัดเก็บเอกสารใหอยูในรูปแบบของอิเล็กทรอนิกส ทําใหการดําเนินงานเรื่องการ
สืบคน และติดตามเอกสาร โดยเฉพาะการรับ สงเอกสารภายใน และเอกสารภายนอกหนวยงานโดย
ทําการพัฒนาจากระบบกระดาษ มาเปนระบบอิเล็กทรอนิกส ผานเครือขายอินเทอรเน็ต เพื่อชวยให
การจัดการระบบเอกสารที่มีความลาชา ใหเกิดความสะดวก รวดเร็ว และถูกตอง มากยิ่งขึ้น
อีกทั้งการทํารายงานสรุปการดําเนินงานของเอกสารประจําวัน ประจําเดือน ประจําปนั้น ทาง
เจ า หนาที่ สามารถตรวจสอบ ดํา เนิ นงานไดทางอินเทอร เ น็ต และมีรูปแบบรายงานที่ผา นการ
ประมวลผลเรีย บรอยแลว สามารถเลือกไดตามตองการโดยไมต องทําการรวบรวมขอมูล และ
ประมวลผลดวยตัวเอง
จากปญหาดังกลาว ผูวิจัยมีแนวคิดที่จะพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อจัดการงานสารบรรณขึ้น
เพื่อชว ยในการจั ด การเอกสารและลดปริ มาณการใชก ระดาษใหกั บ เจ า หนาที่ แทนการบัน ทึ ก
ทะเบียนรับสงเอกสารแบบเดิม โดยจัดทําขอมูลใหอยูในรูปแบบของฐานขอมูล และสามารถจัดการ
กั บ ระบบผ า นเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต ซึ่ ง ช ว ยให ป ระหยั ด เวลา และเกิ ด ความคล อ งตั ว ในการ
ปฏิบัติงานตาง ๆ ไดดียิ่งขึ้น
2

1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย
1.2.1 เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อจัดการงานสารบรรณ
1.2.1 เพื่อหาความพึงพอใจของการใชงานระบบสารสนเทศเพื่อจัดการงานสารบรรณ
1.3 สมมติฐานการวิจัย
ระบบสารสนเทศเพื่อจัดการงานสารบรรณจะชวยใหเจาหนาที่ธุรการ สามารถจัดทําทะเบียน
รับสงเอกสารและสามารถคนคืนเอกสารไดรวดเร็วและมีประสิทธิภาพในระดับดี
1.4 ขอบเขตของการวิจัย
ในการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อจัดการงานสารบรรณ ผูวิจัยไดกําหนดขอบเขตการวิจัยไว
ดังนี้
1.4.1 ระบบงานไดกําหนดประเภทของผูใชงานระบบเปน 3 ประเภท คือ
1.4.1.1 ผูดูแลระบบ
1.4.1.2 เจาหนาที่ธุรการ
1.4.1.3 ผูใชงานระบบ
1.4.2 ผูดูแลระบบ
1.4.2.1 สามารถเพิ่ม/แกไข/ลบ ขอมูลของผูใชงานในระบบได
1.4.2.2 กําหนดสิทธิการใชงานของผูใชงาน
1.4.2.3 สํารองขอมูล
1.4.3 เจาหนาที่ธุรการ
1.4.3.1 จัดทําทะเบียนรับ – สงเอกสารได
1.4.3.2 สามารถแนบไฟลเอกสารได
1.4.3.3 สามารถสรางขอความแนบกับเอกสารสงไปยังบุคคลที่เกี่ยวของกับเอกสาร
1.4.3.4 สามารถแกไขขอความแนบกับเอกสารได
1.4.3.5 สามารถกําหนดสถานะความเรงดวนของเอกสารได
1.4.3.6 สามารถแสดงสถานะของเอกสาร
1.4.3.7 กําหนดผูรับเอกสาร
1.4.3.8 สามารถออกรายงานสรุปประจําวัน/สัปดาห/เดือน/ป ได
1.4.4 ผูใชงานระบบ
1.4.4.1 ตอบรับ/แสดงเอกสารได
1.4.4.2 สามารถสรางขอความแนบกับเอกสารสงไปยังบุคคลที่เกี่ยวของกับเอกสาร
1.4.4.3 สามารถแกไขขอความแนบกับเอกสารได
3

1.4.4.4 สามารถแสดงสถานะของเอกสาร
1.4.4.5 สามารถสืบคนเอกสารได
1.4.5 มีระบบขาวประกาศใหผูใชงานระบบ
1.4.6 มีระบบ Web Board เพื่อใชในการสื่อสารกันระหวางผูสงและผูรับเอกสาร
1.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
1.5.1 การลงทะเบียนรับสงเอกสาร ทําไดสะดวก รวดเร็ว ไมซ้ําซอน
1.5.2 อํานวยความสะดวก รวดเร็ว ในการติดตาม คนหาเอกสารที่ตองการ
1.5.3 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบงานสารบรรณ
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

ในการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อจัดการงานสารบรรณ ผูพัฒนาไดศึกษาหลักการทฤษฎี
ตาง ๆ และเทคโนโลยีที่เกี่ยวของที่สามารถประยุกตใชงานได โดยแบงเปนหัวขอตาง ๆ ดังตอไปนี้
2.1 ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ
2.2 วงจรชีวิตของการพัฒนาระบบงานสารสนเทศ
2.3 แผนภาพกระแสขอมูล (Data Flow Diagram)
2.4 ภาษา HTML
2.5 เทคโนโลยีของไมโครซอฟตดอทเน็ต (Microsoft .NET Technology)
2.6 ฐานขอมูลและการจัดการฐานขอมูล
2.7 ภาษา ASP.NET
2.8 ภาษาจาวาสคริปต (JavaScript Language)
2.9 งานวิจยั ทีเ่ กี่ยวของ
2.1 ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ
งานสารบรรณ หมายความวา งานที่เกีย่ วกับการบริหารงานเอกสาร เริม่ ตั้งแตการจัดทํา การ
รับ การสง การเก็บรักษา จนถึงการทําลาย ซึ่งเปนการกําหนดขัน้ ตอนและขอบขายของงานสาร
บรรณ วาเกี่ยวของกับเรื่องอะไรบาง แตในทางปฎิบัตกิ ารบริหารงานเอกสารทั้งปวง จะเริ่มตั้งแต
การคิด อาน ราง เขียน แตง พิมพ จด จํา ทําสําเนา สงหรือสื่อขอความ รับ บันทึก จดรายงานการ
ประชุม สรุป ยอเรื่อง เสนอ สั่งการ ตอบ ทํารหัส เก็บเขาที่ คนหา ติดตามและทําลาย
หนังสือ หมายความวา หนังสือราชการ สวนราชการ หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม
สํานักงาน หรือ หนวยงานอืน่ ใดของรัฐ ทัง้ ในราชการบริหารสวนกลาง ราชการบริหารสวนภูมภิ าค
ราชการบริหารสวนทองถิ่นหรือในตางประเทศ และใหหมายความรวมถึงคณะกรรมการดวย
หนังสือราชการ คือ เอกสารที่เปนหลักฐานในราชการ ไดแก
1. หนังสือที่มีไปมาระหวางสวนราชการ
2. หนังสือที่สวนราชการมีไปถึงหนวยงานอื่นใด ซึ่งมิใชสวนราชการหรือที่มีไปถึง
บุคคลภายนอก
3. หนังสือที่หนวยงานอื่นใด ซึ่งมิใชสวนราชการหรือบุคลภายนอก มีมาถึงสวนราชการ
4. เอกสารที่ทางราชการจัดทําขึ้นเพื่อเปนหลักฐานในราชการ
6

5. เอกสารที่ทางราชการจัดทําขึ้นตามกฎหมาย ระเบียบ หรือขอบังคับโดยที่หนังสือราชการ


มีดวยกันทั้งหมด 6 ชนิด
1. หนังสือภายนอก คือ หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธีโดยใชกระดาษตราครุฑเปน
หนังสือติดตอระหวางสวนราชการ หรือสวนราชการมีถงึ หนวยงานอืน่ ใดซึ่งมิใชสว นราชการ หรือ
ที่มีถึงบุคคลภายนอก
2. หนังสือภายใน คือ หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธีนอยกวาหนังสือภายนอก เปน
หนังสือติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัดเดียวกัน ใชกระดาษบันทึกขอความ
3. หนังสือประทับตรา คือ หนังสือที่ใชประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหนาสวนราชการ
ระดับกรมขึ้นไป โดยใหหวั หนาสวนราชการระดับกอง หรือผูที่ไดรับมอบหมายจากหัวหนาสวน
ราชการระดับกรมขึ้นไป เปนผูรับผิดชอบลงชื่อกํากับตรา
4. หนังสือสั่งการ ไดแก คําสั่ง ระเบียบ และขอบังคับ
5. หนังสือประชาสัมพันธ ไดแก ประกาศ แถลงการณ และขาว
6. หนังสือที่เจาหนาที่ทําขึน้ หรือรับไวเปนหลักฐานในราชการคือ หนังสือที่ทางราชการทํา
ขึ้นนอกจากทีก่ ลาวมาแลวขางตน หรือหนังสือที่หนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือ
บุคคลภายนอกมีมาถึงสวนราชการ และสวนราชการรับไวเปนหลักฐานของทางราชการ
เนื่องจากในสารนิพนธนี้เปนระบบจัดการเอกสารของคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่ง
หนังสือราชการสวนใหญจะเปนการรับ - สงหนังสือทั้งจากภายใน และภายนอก หนังสือราชการที่
ใชสงกันภายใน เรียกวา “บันทึกขอความ” ซึ่งเปนหนังสือติดตอราชการที่เปนทางการนอยกวา
หนังสือภายนอก
การกําหนดเลขที่หนังสือออก ประกอบดวย รหัสตัวพยัญชนะสองตัว ใชแทนชื่อกระทรวง
ทบวง หรือสวนราชการที่ไมสังกัดสํานักนายกรัฐมาตรี กระทรวง ทบวง หรือจังหวัด การกําหนด
รหัสตัวพยัญชนะนอกจากทีก่ ําหนดไวนี้ ใหปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีซึ่งเปนผูรักษาการตาม
ระเบียบเปนผูกําหนดรหัสตัวพยัญชนะ สําหรับจังหวัดใหกําหนดโดยหารือกระทรวงมหาดไทยเพือ่
มิใหการกําหนดอักษรสองตัวนี้มีการซ้ํากัน
เลขประจําของเจาของเรื่อง ประกอบดวยตัวเลขสี่ตัว ใหกําหนดดังนี้
1. สําหรับราชการบริหารสวนกลาง ตัวเลขสองตัวแรก สําหรับกระทรวง หรือทบวง
หมายถึงสวนราชการระดับกรมโดยเริ่มจากตัวเลข 01 เรียงไปตามลําดับสวนราชการตามกฎหมาย
วาดวยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง หากมีการเปลี่ยนแปลงโดยยุบสวนราชการใดใหปลอยตัวเลข
นั้นวาง หากมีการจัดตั้งสวนราชการขึ้นใหมใหใชเรียงลําดับถัดไป ตัวเลขสองตัวหลัง หมายถึง
สํานัก กอง หรือสวนราชการที่มีฐานะเทียบกอง โดยเริ่มจากตัวเลข 01 เรียงไปตามลําดับสวน
7

ราชการ ตามกฎหมายวาดวยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง หากมีการเปลี่ยนแปลงโดยยุบสวน


ราชการใดใหปลอยตัวเลขนัน้ วาง หากมีการจัดตั้งสวนราชการขึ้นใหมใหใชเรียงลําดับถัดไป
2. สําหรับราชการสวนภูมภิ าค ตัวเลขสองตัวแรก หมายถึง อําเภอหรือกิ่งอําเภอ โดยเริ่มจาก
ตัวเลข 01 ซึ่งโดยปกติใหใชสําหรับอําเภอเมืองเรียงไปตามลําดับตามที่กระทรวงมหาดไทยกําหนด
ตัวเลขสองตัวหลัง หมายถึง หนวยงานในราชการสวนภูมภิ าคที่สังกัดจังหวัด หรืออําเภอ ใหมกี าร
ปรับปรุงเลขประจําของเจาของเรื่องใหเปนไปตามลําดับ ตามกฎหมายวาดวยการปรับปรุงกระทรวง
ทบวง กรม และกฎหมายวาดวยการแยงสวนราชการทุกๆ 5 ป โดยถือเอาปพุทธศักราชที่ลงทายดวย
เลข 5 และเลข 0 เปนหลัก
ในกรณีที่กระทรวง ทบวง สวนราชการที่ไมสังกัดสํานักนายกรฐมนตรี กระทรวง ทบวง
หรือ จังหวัด ประสงคจะใหรัฐวิสาหกิจ หรือหนวยงานอืน่ ใด ที่มิไดเปนสวนราชการซึ่งอยูในสังกัด
ใชรหัสตัวพยัญชนะของกระทรวง ทบวง สวนราชการที่ไมสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง
ทบวง หรือจังหวัด แลวแตกรณีใหใชตัวเลขสองตัวแรกเริ่มจาก 51 เรียงไปตามลําดับ
การลงชื่อและตําแหนงในหนังสือราชการ ใหปฎิบัติดังนี้
1. หัวหนาสวนราชการระดับกรมขึ้นไป หรือผูวาราชการจังหวัด จะกําหนดใหผูดํารง
ตําแหนงใดลงชื่อในหนังสือไดเฉพาะหนังสือที่อยูในหนาที่ของผูดํารงตําแหนงนั้น หรือของสวน
ราชการซึ่งอยูในบังคับบัญชาของผูดํารงตําแหนงนั้น และหนังสือดังกลาวไมกอใหเกิดนิติสัมพันธ
กับสวนราชการระดับกรม หรือจังหวัด
2. การพิมพชอื่ เต็มของเจาของลายมือชื่อ ใหใชคํานํานามวา นาย นาง นาวสาว หนาชื่อเต็ม
ใตลายมือชื่อ เวนแตเจาของลายมือชื่อเปนสตรีที่ไดรับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ หรือมี
บรรดาศักดิ์ หรือฐานันดรศักดิ์ หรือมียศทีต่ องใชยศประกอบชื่อ
3. การลงตําแหนงของเจาของหนังสือ ใหลงตําแหนงของเจาของหนังสือ ถาผูลงชื่อไมใช
เจาของหนังสือโดยตรง ใหลงตําแหนงของผูลงชื่อ สวนการลงตําแหนงของราชการทหารใหเปนไป
ตามระเบียบขอบังคับและแบบธรรมเนียมของกระทรวงกลาโหม
หนังสือราชการภาษาอังกฤษ แบงออกไดเปน 2 ประเภท คือ หนังสือที่ลงชื่อและหนังสือที่
ไมตองลงชื่อ
หนังสือที่ลงชื่อ มี 3 ชนิด ไดแก หนังสือราชการที่เปนแบบพิธี ( First Person Formal Note)
หนังสือราชการที่ไมเปนแบบพิธี (First Person Informal Note) หนังสือกลาง (Third Person Note
หรือ Note Verbale)
หนังสือที่ไมลงชื่อ มี 2 ชนิด ไดแก บันทึกชวยจํา (Aide-Memoire) บันทึก (Memorandum)
(ฝายวิชาการสํานักพิมพพัฒนาศึกษา, 2539: 8)
8

2.2 วงจรชีวิตของการพัฒนาระบบงานสารสนเทศ
ในการพัฒนาระบบงานสารสนเทศโดยทัว่ ไป จะดําเนินตามขั้นตอนตาง ๆ ที่กําหนดไวใน
System Development Life Cycle (SDLC) แต SDLC มีอยูหลายวิธี (Methodology) ดังนัน้ จํานวน
และรายละเอียดของขั้นตอนตาง ๆ จึงแตกตางกันไปตาม Methodology ของ SDLC ที่นักพัฒนา
ระบบงานสารสนเทศเลือกใช SDLC ซึ่งประกอบดวยขั้นตอนตาง ๆ ดังนี้ (พรเทพ, 2545: 8)
2.2.1 Feasibility Study เกี่ยวกับการประเมินตนทุนของการเลือกตาง ๆ ของการพัฒนาระบบ
งานสารสนเทศเพื่อใหมีความคุมคามากที่สุดในการพัฒนาระบบ
2.2.2 Requirement Collection and Analysis เปนขั้นตอนในการรวบรวม จากผูใช (User's
Requirement) มาวิเคราะห เพื่อใชในการกําหนดขอบเขตใหกับระบบทีจ่ ะพัฒนาขึ้น
2.2.3 Design เปนการนําความตองการตาง ๆ ที่ไดจากขั้นตอนที่ 2.2.2 มาใชในการออกแบบ
ระบบตอไป
2.2.4 Prototyping เปนการนําเอาสวนตาง ๆ ที่ไดออกแบบไวในขั้นตอนที่ 2.2.3 มาพัฒนาเปน
ตนแบบของระบบงาน (Prototype) เพื่อนําไปทดลองใชหาขอผิดพลาดของระบบกอนนําไปใชงาน
จริง ขอผิดพลาดที่เกิดขึ้นถูกนําไปเปนขอมูลสําหรับขั้นตอนที่ 2.2.2 ไดใหม
2.2.5 Implementation เปนขั้นตอนที่นําเอาระบบไปทดลองใชงาน
2.2.6 Validation and Testing เปนขั้นตอนของการตรวจสอบความถูกตองของระบบ
2.3.7 Operation ระบบงานสารสนเทศที่พัฒนาขึ้นไปใชงานจริง ทั้ง 7 ขั้นตอนสามารถแสดง
ดวยแผนภาพ ดังภาพที่ 2-1
9

ภาพที่ 2-1 ขั้นตอนของวงจรชีวิตของการพัฒนาระบบงานสารสนเทศ

2.3 แผนภาพกระแสขอมูล (Data Flow Diagram)


แผนภาพกระแสขอมูล (Data Flow Diagram:DFD) หมายถึง แผนภาพที่แสดงใหเห็นถึงทิศ
ทางการไหลของขอมูลที่มีอยูในระบบ และการดําเนินงานที่เกิดขึน้ ในระบบ โดยขอมูลในแผนภาพ
ทําใหทราบถึง ที่มาของขอมูล, ที่ไปของขอมูล, ที่เก็บขอมูล, เหตุการณที่กระทํากับขอมูล แผนภาพ
กระแสขอมูลจะแสดงภาพรวมของระบบ (Overall picture of a system) และรายละเอียดบางอยาง
แตในบางครั้งหากตองการกําหนดรายละเอียดที่สําคัญในระบบ นักวิเคราะหระบบอาจจําเปนตอง
ใชเครื่องมืออื่นๆ ชวย เชน ขอความสั้นๆที่เขาใจ หรือ อัลกอริทึม, ตารางการตัดสินใจ (Decision
Table), Data Model, Process Description ทั้งนี้ก็ขึ้นอยูก บั ความตองการในรายละเอียด
วัตถุประสงคของการสรางแผนภาพกระแสขอมูลนี้เพื่อ
1. เปนแผนภาพที่สรุปรวมขอมูลทั้งหมดที่ไดจากการวิเคราะหในลักษณะของรูปแบบที่
เปนโครงสราง
2. เปนขอตกลงรวมกันระหวางนักวิเคราะหระบบและผูใชงาน
3. เปนแผนภาพที่ใชในการพัฒนาตอในขั้นตอนของการออกแบบระบบ
4. เปนแผนภาพที่ใชในการอางอิง หรือเพื่อใชในการพัฒนาตอในอนาคต
10

5. ทราบที่มาที่ไปของขอมูลที่ไหลไปในกระบวนการตางๆ (Data and Process)


2.3.1 สัญลักษณที่ใชในแผนภาพกระแสขอมูล
สัญลักษณที่ใชเปนมาตรฐานในการแสดงแผนภาพกระแสขอมูล มีสัญลักษณดังตอไปนี้
2.3.1.1 ขั้นตอนการทํางานของระบบ (Process)
Process หรือ ขั้นตอนการดําเนินงาน คือ งานที่ดําเนินการ/ตอบสนองขอมูลที่รับเขา หรือ
ดําเนินการ ตอบสนองตอเงื่อนไข สภาวะใดๆ ที่เกิดขึ้น ไมวาขั้นตอนการดําเนินงานนั้นจะกระทํา
โดยบุคคล หนวยงาน หุน ยนต เครื่องจักร หรือ เครื่องคอมพิวเตอรกต็ าม โดยจะเปนกริยา (Verb)
เชน ลงทะเบียน เพิกถอนวิชา เพิ่มวิชา พิมพรายงาน เปนตน จํานวนโปรเซสควรมีอยูระหวาง 2-7
โปรเซส หรือในบางตําราไดกําหนดจํานวนโปรเซสควรอยูในระหวาง 7 บวกลบดวย 2 สัญลักษณ
ที่ใชแสดงแทน Process ดวยสี่เหลี่ยมมุมมน ประกอบไปดวย 2 สวน คือ สวนบนใชแสดงหมายเลข
ของ Process เชน 0, 1.0, 1.1 เปนตน สวนลางจะใชแสดงชื่อของ Process สัญลักษณของ Process
สามารถแสดงดวยแผนภาพ ดังภาพที่ 2-2

ภาพที่ 2-2 สัญลักษณที่ใชแสดงแทน Process

2.3.1.2 เสนทางการไหลของขอมูล (Data Flow)


เสนทางการไหลของขอมูล (Data Flows) เปนการสื่อสารระหวางขั้นตอนการทํางานของ
(Process) ตางๆ และสภาพแวดลอมภายนอกหรือภายในระบบ โดยแสดงถึงขอมูลที่นําเขาไปในแต
ละ Process และขอมูลที่สงออกจาก Process แสดงถึงการบันทึกขอมูล การลบขอมูล การแกไข
ขอมูลในไฟลหรือฐานขอมูล ซึ่งเรียกวา “Data Store” สัญลักษณของ Data Flow สัญลักษณทใี่ ช
อธิบายเสนทางการไหลของขอมูลคือ เสนตรงที่ประกอบดวยหัวลูกศรตรงปลายเพื่อบอกทิศทาง
การเดินทางหรือการไหลของขอมูล สามารถแสดงดวยแผนภาพ ดังภาพที่ 2-3

ขอมูลพนักงาน

ภาพที่ 2-3 สัญลักษณเสนทางการไหลของขอมูล (Data Flow)


11

2.3.1.3 ตัวแทนขอมูล (External Agent)


ตัวแทนขอมูล (External Agents) หมายถึง บุคคล หนวยงานในองคกร องคกรอื่นๆ หรือ
ระบบงานอื่นๆ ที่อยูภายนอกขอบเขตของระบบ แตมีความสัมพันธกับระบบ โดยมีการสงขอมูลเขา
สูระบบเพื่อดําเนินงาน และรับขอมูลที่ผานการดําเนินงานเรียบรอยแลวจากระบบ ในบางครั้ง
เรียกวา “External Entity” สัญลักษณของ External Agents สัญลักษณที่ใชอธิบาย คือ สี่เหลี่ยมจตุรัส
หรือสี่เหลี่ยมผืนผา ภายในจะตองแสดงชื่อของ External Agent โดยสามารถทําการซ้ํา (Duplicate)
ไดดว ยการใชเครื่องหมาย (back slash) ตรงมุมลางซาย สัญลักษณของ External Agents สามารถ
แสดงดวยแผนภาพ ดังภาพที่ 2-4

ชื่อ External ชื่อ External


Agent Agent

ภาพที่ 2-4 สัญลักษณตวั แทนขอมูล (External Agent)

2.3.1.4 แหลงจัดเก็บขอมูล (Data Store)


แหลงจัดเก็บขอมูล (Data Store) เปนแหลงเก็บหรือบันทึกขอมูล เปรียบเสมือนคลังขอมูล
(เทียบเทากับไฟลขอมูล และฐานขอมูล) โดยอธิบายรายละเอียดและคุณสมบัติเฉพาะตัวของสิ่งที่
ตองการเก็บหรือบันทึก สัญลักษณของ Data Store สัญลักษณทใี่ ชอธิบายคือสี่เหลี่ยมเปดหนึ่งขาง
แบงออกเปนสองสวน ไดแก สวนที่ 1 ทางดานซายใชแสดงรหัสของ Data Store อาจจะเปน
หมายเลขลําดับหรือตัวอักษรไดเชน D1, D2 เปนตน สําหรับสวนที่ 2 ทางดานขวา ใชแสดงชื่อ Data
Store หรือชื่อไฟล เชน Employee, Application, Member เปนตน ลักษณของ External Agents
สามารถแสดงดวยแผนภาพ ดังภาพที่ 2-5

ภาพที่ 2-5 สัญลักษณแหลงจัดเก็บขอมูล (Data Store)


12

2.3.2 วิธีการสรางแบบจําลองขั้นตอนการทํางานของระบบดวย DFD


ในการสรางแบบจําลองขั้นตอนการทํางานของระบบดวย DFD นั้น นักวิเคราะหระบบจะทํา
การสราง Context Diagram กอน เนื่องจาก Context Diagram เปนตัวกําหนดขอบเขต และเสนแบง
เขตของระบบที่ศึกษาและพัฒนา แนวทางในการกําหนดขอบเขตมีดังนี้
2.3.2.1 เปรียบระบบเสมือนภาชนะบรรจุ เพื่อแบงแยกสิ่งที่อยูภายในภาชนะออกจากสิ่ง
ที่อยูภายนอกภาชนะ โดยไมตองสนใจสิง่ ที่อยูภายในภาชนะมีอะไรบาง
2.3.2.2 ศึกษาระบบโดยการสอบถามผูใชงานถึงเหตุการณหรือการดําเนินงานประจําวัน
ที่เกิดขึ้นของระบบวามีการติดตอ จัดการ หรือดําเนินงานอยางไรบาง และระบบมีการตอบสนองตอ
เหตุการณนั้นๆ อยางไร อะไรคือขอมูลที่รับเขามา (Input) และสงมาจากใคร (External Agent)
2.3.2.3 สอบถามผูใชระบบวาตองสงขอมูลอะไรออกไปสู External Agent บาง เชนตอง
การรูปแบบรายงาน การสอบถามขอมูล แบบใด สิ่งเหลานี้ทําใหนกั วิเคราะหระบบสามารถสราง
Data Flow ได
2.3.2.4 การจําแนกแหลงขอมูลภายนอกระบบ(External data store) ระบบตองการจาก
ไฟลหรือฐานขอมูลจากระบบอื่น ซึ่งอาจเปนการอาน แกไข เปลี่ยนแปลง ขอมูลเหลานั้น
2.3.2.5 การสราง Context Diagram สรางจากสิ่งที่รวบรวมไดจากขอ 2.3.2.1 - 2.3.2.4
หลังจากที่ไดศกึ ษาการทํางาน ขอมูลรับเขา ขอมูลสงออก นักวิเคราะหระบบอาจมีเสนทางการไหล
ของขอมูล (Data Flow) มากมาย ซึ่งไมอาจแสดงไดทั้งหมดใน Context Diagram นี้ ดังนั้น Data
Flow ที่แสดงควรเปนขอมูลหลักและมีความสําคัญตอระบบ สวนรายละเอียดของการเคลื่อนไหว
ของขอมูลนั้นสามารถนําไปอธิบายใน DFD ระดับตอไปได
2.3.3 แผนภาพระดับ 0 (Level-0 Diagram)
การสรางแผนภาพระดับ 0 แผนภาพกระแสขอมูลในระดับที่แสดงขั้นตอนการทํางานหลัก
ทั้งหมด (Process หลัก) ของระบบแสดงทิศทางการไหลของ Data Flow และแสดงรายละเอียดของ
แหลงจัดเก็บขอมูล (Data Store) แผนภาพระดับ 0 เปนการแสดงใหเห็นถึงรายละเอียดของ Process
การทํางานหลักๆ ที่มีอยูภายในภาพรวมของระบบ (Context Diagram) สามารถแสดงดวยแผนภาพ
ดังภาพที่ 2-6

ภาพที่ 2-6 แผนภาพระดับ 0 (Level-0 Diagram)


13

2.3.4 การแบงยอยแผนภาพ (Decomposition of DFD)


ถาระบบใดมีการทํางานที่ซับซอนมาก นักวิเคราะหระบบจะไมสามารถอธิบายการทํางาน
ทั้งหมดไดภายในขั้นตอนเดียวใน Context Diagram ดังนัน้ ในการวิเคราะหระบบจึงสามารถจําแนก
ระบบใหญหนึง่ ระบบออกเปนระบบยอยๆ ไดหลายระบบ โดยแบงใหเปนระบบยอยที่มีขนาดเล็ก
ลงเรื่อยๆ จนสามารถอธิบายการทํางานไดทั้งหมด เรียกวิธีนวี้ า “ การแบงยอย (Decomposition)
หรือ Functional Decomposition” Decomposition จะทําการแบงยอยระบบและขัน้ ตอนการทํางาน
ออกเปนสวนยอย โดยในแตละขั้นตอนทีแ่ ยกออกมา (Subsystems) จะแสดงใหเห็นถึงรายละเอียด
ของการทํางานเพิ่มมากขึน้ การแบงยอย Process นั้นสามารถแบงยอยลงไปไดเรื่อยๆ จนกระทั่งถึง
ระดับที่ไมสามารถแบงยอยไดอีกแลว เรียกแผนภาพทีไ่ มสามารถแบงยอย Process ไดอีกแลววา
Primitive DFD ระดับของแผนภาพทีแ่ บงยอยมาจาก Level-0 เรียกวา Level-1 ซึ่งแผนภาพที่
แบงยอยในระดับถัดมาจาก Level-0 diagram จะตองมี Process อยางนอย 2 Process ขึ้นไป
แผนภาพระดับ 1 สามารถแสดงดวยแผนภาพ ดังภาพที่ 2-7

user

1.0 2.0

Authorize User manage

D8 Tb_user

ภาพที่ 2-7 แผนภาพระดับ 1 (Level-1 Diagram)


2.4 ภาษา HTML
2.4.1 ความหมายของภาษา HTML
HTML มาจากคําวา Hypertext Markup Language ซึ่งเปนรูปแบบของภาษาที่ใชในการ
แสดงผลบนเว็บบราวเซอร โดยสามารถนําเสนอขอมูลที่มีทั้งตัวอักษร ภาพ เสียง ภาพยนตร
และสามารถเชื่อมโยงกับเอกสารอื่น ๆ ได ลักษณะของเอกสาร HTML จะเปนเท็กซไฟลธรรมดาที่
ตองอาศัยการแปลความจากเว็บบราวเซอร คําสั่งของภาษา HTML เรียกวา "แท็ก" (Tag) ซึ่งแท็กนี้
14

โดยทั่วไปจะอยูรูปแบบ <...>…</...> ซึ่งเว็บบราวเซอรจะแปลงแท็กนี้แลวแสดงผลใหเห็น ภาษา


HTML ไดรับการพัฒนาตลอดเวลาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน เพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพและรองรับการ
นําเสนอขอมูลตาง ๆ ใหไดผลลัพธที่ดียิ่งขึ้น โดยทั่วไปการสรางเว็บเพจดวยภาษา HTML จะใช
Text Editor ตาง ๆ เชน Notepad ของ Microsoft Windows หรือ EditPlus เปนตน อีกทั้งในปจจุบนั
ยังมีโปรแกรมสําเร็จรูปที่ชวยในการสรางเว็บเพจจํานวนมากที่มีประสิทธิภาพ เชน FrontPage และ
Dreamweaver เปนตน ซึ่งชวยใหสามารถสรางเว็บเพจไดโดยงาย โดยโปรแกรมเหลานี้จะสราง
โคด HTML ใหอัตโนมัติ (พันจันทร, ชิษณุพงศ, 2545: 9)
2.4.2 โครงสรางของภาษา HTML
HTML มีองคประกอบ 2 สวน คือ สวนทีเ่ ปนเนื้อหาและสวนที่เปนคําสั่ง หรือแท็กรูปแบบ
พื้นฐานโครงสรางของเอกสาร HTML ดังรูปแบบขางลางนี้
<HTML>
<HEAD>
<TITLE>ชื่อแสดงบนไตเติลบารของเว็บบราวเซอร</TITLE>
</HEAD>
<BODY>คําสั่งหรือขอความที่ตองการแสดงบนเว็บบราวเซอร </BODY>
</HTML>
2.4.3 คําสั่งเบื้องตนของภาษา HTML
คําสั่งของภาษา HTML หรือที่เราเรียกวา แท็ก (Tag) เปนสวนที่จดั การเกี่ยวกับรูปแบบการ
จัดเอกสารเพื่อแสดงผลบนบราวเซอร โดยมีรูปแบบคําสั่งเบื้องตน ดังตารางที่ 2-1
ตารางที่ 2-1 คําสั่งเบื้องตนของภาษา HTML
รูปแบบ ความหมาย
<HTML>…</HTML> เปนคําสั่งเริ่มตนและสิ้นสุดของเอกสาร HTMLเหมือนคําสั่ง Begin และ
End
<HEAD>…</HEAD> ใชกําหนดขอความในสวนที่เปน ชื่อเรื่อง ภายในคําสั่งนี้จะมีคําสั่งยอย
อีกหนึ่งคําสั่งคือ <TITLE>
<TITLE>…</TITLE> เปนสวนแสดงชื่อของเอกสารโดยจะแสดงที่ไตเติลบารของหนาตางที่
เปดเอกสารนีอ้ ยูเทานั้น
<BODY>…</BODY> สวนเนื้อหาของโปรแกรมจะเริ่มตนดวยคําสั่ง <BODY>และสิ้นสุดดวย
</BODY> ในระหวางคําสั่งแท็กนีจ้ ะประกอบดวยแท็กมากมายตามที่
ตองการใหแสดงผลบนบราวเซอร
15

2.5 เทคโนโลยีของไมโครซอฟตดอทเน็ต (Microsoft.NET Technology


2.5.1 สถาปตยกรรมของ .NET Framework
สถาปตยกรรมของแอพพลิเคชัน .NET ที่พัฒนาดวย Visual Studio.NET จะมีเลเยอรลางสุด
คือ .NET Framework SDK เปรียบเสมือน Runtime Library ที่จะรันอยูคอยสนับสนุนการทํางาน
ของแอพพลิเคชัน จากนั้นจะเปนเลเยอรของ Common Language Runtime เปนผลลัพธของการ
คอมไพลแอพพลิเคชัน .NET เลเยอรถัดขึน้ มาเปนเครื่องมือ (Tools) และเทคนิคตาง ๆ ที่สามารถใช
พัฒนาแอปพลิเคชันไดทั้งในเรื่องของเว็บเซอรวิส ADO.NET และ ASP.NET จนกระทั่งถึงเลเยอร
บนสุดคือภาษาที่ใชในการพัฒนาแอพพลิเคชันดวย Visual Studio.NET ดังภาพที่ 2-8

Visual Studio.NET

ภาพที่ 2-8 โครงสรางสถาปตยกรรมของ .NET

2.5.1.1 เลเยอร Common Language Runtime


เปนตัวกลางในการจัดเตรียมการบริการและทรัพยากรสําหรับรองรับการประมวลผลและการ
ทํางานของโปรแกรมที่ทํางานบนเทคโนโลยีของ .NET เชน การจัดการหนวยความจํา การเขารหัส
โปรแกรม และดวยความสามารถของ CLR ทําใหโปรแกรมสามารถพัฒนาโดยไมจําเปนตองขึ้นกับ
ระบบปฏิบัติการ ภายในตัว COM จะมีโมดูลยอย ๆ ซึ่งเปนสถาปตยกรรมภายในดังภาพที่ 2-9
16

ภาพที่ 2-9 โครงสรางเลเยอร Common Language Runtime

การทํางานของโปรแกรมนัน้ เริ่มจากคอมไพเลอรของแตละภาษาจะคอมไพลโคดใหเปน
แบบ Microsoft Intermediate Language (MSIL) หรือเรียกสั้น ๆ วา IL Code ซึ่งจะมีลักษณะคลาย
ภาษา Assembly จาก IL Code ก็แปลงเปนโปรแกรมที่รันโดย CLR อีกทีหนึ่ง ซึ่งสามารถที่จะเลือก
ไดวาจะคอมไพลแอพพลิเคชันไปอยูใ นรูปของเอ็กซิคิวตไฟลหรือ MISL ซึ่งจะกลายเปน Just-In-
Time (JIT) คือเมื่อไดแอพพลิเคชันในรูปของ MISL แลว เมื่อรันโปรแกรมใชงานจริงมันจะถูก
คอมไพลเลอร JIT ทําการคอมไพลโคด MSIL ในสวนที่ตองการใชไปเปน Native Code อีกทีซึ่ง
นําไปใหเครื่องทํางานตอ หากมีการใชโคดในสวนเดิมอีกก็ไมตองมีการคอมไพลซ้ํา ดังภาพที่ 2-10

ภาพที่ 2-10 รูปแบบการคอมไพลโคดไปเปน IL Code


17

2.5.1.2 เลเยอร Base Class Library ตัว Base Class คือ การที่รวบรวมฟงกชัน API
(Application Programming Interface) ซึ่งกระจัดกระจายอยู เวลาจะเรียกใชตองไปคนหาใน Help
นั้นคือ Base Class Library พยายามทีจ่ ะรวบรวม API และฟงกชันที่เกีย่ วกับระบบเขามาไวใน
ลักษณะของการออกแบบเชิงวัตถุทั้งหมดโดยมีคลาสอันหนึ่งเปนมาตรฐาน เปนคลาสที่สรางใน
ระบบเรียบรอยแลว ซึ่งคลาสทั้งหมดจะอยูภายใตคลาสหลัก ที่เรียกวา System
ภายในคลาสจะมีคลาสยอย ๆ มากมาย ซึ่งแตละอันจะสนับสนุนการทํางานที่ตองการไดไม
วาเปนเรื่องของการทํากราฟก การทําเกี่ยวกับโครงสรางขอมูล (Data Structure) การทําเกี่ยวกับ
เรื่องเครือขาย (Network) ฟงกชัน API เหลานี้จะถูกจัดกลุมใหเปน การออกแบบเชิงวัตถุอยูภายใน
System Class การเรียกใชงาน System Class จะสามารถเรียกทั้ง VB, C++ และ C#
2.5.1.3 เลเยอร Common Language Specification เปนเครื่องมือที่ใชในการสรางแอพ
พลิเคชัน หรือหลักการที่ใชในการเขียนโปรแกรมตาง ๆ เชน เรื่องของ ADO.NET, ASP.NET ที่ใช
ในการพัฒนาแอพพลิเคชัน แตสิ่งที่เหนือกวาทุกอยางคือภาษาที่ใชงาน ภาษาตาง ๆ ที่ทํางานใน
.NET นั้นมีขอดีคือ สนับสนุนมาตรฐานเดียวกัน เรียกวา Common Language Specification ใน
อนาคตอาจเห็นเว็บเพจที่พฒ ั นาดวยภาษา COBALและรวมทั้งภาษาอื่น ๆ ดวย นอกจากนีใ้ น
ตระกูล .NET เองมี VB, C++ และ C# และภาษาอื่น ๆ เชน PASCAL, Perl เปนตนโดยภาษา
โปรแกรมประเภท Object ทั้งหมดสามารถเปนแพลตฟอรมของ .NET ได เพราะวาใน .NET นั้นมี
ทุกอยางที่เปนการออกแบบเชิงวัตถุ
2.5.2 สถาปตยกรรม ADO.NET เดิมการประมวลผลขอมูลเปนแบบ Connection Based ใน
สถาปตยกรรม 2-Tier ตอมาการในสถาปตยกรรมแบบ Multi-Tier โปรแกรมเมอร ตองเปลี่ยนไป
จัดการแบบ Disconnected เพื่อใหขยายขีดความสามารถในการรองรับการใชงานไดมากขึ้น ภาษา
XML จึงมีบทบาทสําคัญ ซึ่ง ADO.NET นั้นก็มคี วามสามารถในการรับสงขอมูลเปน XML
สวนประกอบคอมโพเนนตของ ADO.NET ประกอบดวย 2 คอมโพเนนตหลักคือ DatSet และ
.NET Data Provider ซึ่งประกอบดวย กลุมของคอมโพเนนตคือ Connection, Command,
DataReader และ DataAdapter
ADO.NET DataSet เปนคอมโพเนนตหลักในการเชือ่ มตอฐานขอมูลแบบ Disconnected
DataSet ถูกออกแบบมาใหมีความเปนอิสระจากแหลงขอมูลดวยเหตุนี้ มันจึงสามารถใชไดใน Data
Source หลายประเภทดวยกลุมของ DataTable ที่วานี้ก็เกิดมาจากการสง Query ไปดึงมาจาก
ฐานขอมูล โดย DataTable ก็จะประกอบไปดวย DataRow, DataColumn รวมถึง Primary Key,
Foreign Key, ขอจํากัดตาง ๆ เชน Data Integrity และความสัมพันธของขอมูล (DataRelation) ใน
18

DataTable เอง ในสวนของการสงขอมูล DataSet ไดใช XML เปนตัวกลางในการสงขอมูลระหวาง


Tier ทําใหสามารถนําไปใชกับการทําเว็บเซอรวิสดังภาพที่ 2-11

ภาพที่ 2-11 สถาปตยกรรม ADO .NET

สวนหลักอีกสวนหนึ่งคือ .NET Data Provider ซึ่งสรางมาเพื่อการประมวลผลขอมูลแบบ


รวดเร็วและแบบสงไปขางหนาอยางเดียว (Forward-Only) และเปนการเขาถึงขอมูลแบบอาน
อยางเดียว (Read-Only) โดยประกอบดวยสวนยอดังตอไปนี้คือ
1. Connection จัดการเกี่ยวกับเรื่องการติดตอกับ Data Source หรือฐานขอมูลนั่นเอง
2. Command ทําเกี่ยวกับเรือ่ งการเขาใชงานฐานขอมูลโดยใชคําสั่งภาษา SQL รวมถึงการ
ทํา Stored Procedure และรับสงขอมูลพารามิเตอรตาง ๆ
3. DataReader จัดการเรื่องประสิทธิภาพของการสงขอมูลจาก DataSource โดย
DataReader นั้นใชไดในกรณีที่ดึงขอมูลมาทีละรายการ โดยไมยอนกลับเทานั้น และเปนการดึง
ขอมูลมาอยางเดียว เขียนกลับไปไมได
4. DataAdapter จะเปนเหมือนสะพานเชื่อมตอระหวาง DataSet และ Data Source โดยการ
ทํางานคือเมื่อมีการเปด Connection และกําหนด Query String SQL แลว DataAdapter ใช
Command Object เพื่อประมวลผลคําสั่งภาษา SQL และทําการดึงขอมูลลงมาที่ DataSet เพื่อใช
งานตอไป โดย .NET Framework มี .NET Data Provider ใหใช 2 แบบ คือ SQL Server .NET Data
Provider และ OLE DB .NET Data Provider
19

2.5.3 การเลือกใชงาน DatReader หรือ DataSet ในการเลือกใช DataReader หรือ DataSet ใน


แอพพลิเคชันนั้น ควรพิจารณาถึงชนิดของหนาทีก่ ารทํางานของแอพพลิเคชัน โดยจะเลือกใช
DataSet ก็ตอเมื่อ
2.5.3.1 มีการสงขอมูลระหวาง Tier หรือตองมีการใช XML
2.5.3.2 มีการติดตอขอมูลแบบไดนามิค โดยผูกติดกับ Window From หรือการรวม
ขอมูลที่เกี่ยวของกันมาใชงานจากแหลงขอมูลหลาย ๆ ที่
2.5.3.3 ใหมีการเก็บขอมูลลงในแคชของเครื่อง
2.5.3.4 การประมวลผลขอมูลโดยไมตองเปดการเชื่อมตอตลอดเวลา ซึ่งทําใหไคลเอนต
สามารถเขามาใชงานฐานขอมูลไดมากขึ้น โดยถาไมมีความจําเปนเหลานี้ก็สามารถใช DataReader
แทนได โดยการทํางานจะเปนแบบ Forward-Only and Read-Only คือเปนการสงขอมูลใหอยาง
เดียวแบบสงไปขางหนาเทานั้นและเปนแบบอานไดอยางเดียว กลาวคือ ไมสามารถปรับปรุงขอมูล
ได ขอดีของการใช DataReader คือจะชวยประหยัดหนวยความจําลงไปไดมาก
2.6 ฐานขอมูลและการจัดการฐานขอมูล
2.6.1 ฐานขอมูล (Database)
ฐานขอมูล คือ การรวบรวมแฟมขอมูลหลาย ๆ แฟมที่มีความสัมพันธ เกี่ยวของกันซึ่งแตละ
แฟมขอมูลจะประกอบดวยหลาย ๆ เรคคอรด แตละเรคคอรดแบงออกเปนหลาย ๆ ฟลด
ความหมายของฐานขอมูลในปจจุบันจึงเปนการจัดการขอมูลที่เกี่ยวของกันอยางมีระบบ นอกจาก
จะเก็บตัวขอมูลแลวยังเก็บความสัมพันธระหวางขอมูลดวย (พรเทพ, 2545: 9)
2.6.2 การจัดทําฐานขอมูลกอใหเกิดประโยชนดังนี้
2.6.2.1 ชวยลดความซ้ําซอนของขอมูล
2.6.2.2 เปนศูนยกลางขอมูลเพื่อใชขอมูลรวมกัน
2.6.2.3 ขอมูลมีความถูกตองตรงกัน
2.6.2.4 ขอมูลมีความเปนอิสระในการจัดเก็บและคลองตัวในการเรียกใช
2.6.2.5 การปรับปรุงแกไขขอมูลทําไดงาย รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
2.6.2.6 มีระบบความปลอดภัย เพราะการนําขอมูลการเก็บรวมไวในที่เดียวกัน
2.6.2.7 สามารถกําหนดสิทธิ์ในการใชขอมูลไดสะดวก
2.6.3 ระบบจัดการฐานขอมูล (Database Management System : DBMS)
ระบบจัดการฐานขอมูล คือ ซอฟตแวรที่ถกู สรางขึ้นเพื่ออํานวยความสะดวกสําหรับ
ผูใชงานฐานขอมูลในการสราง ปรับปรุง และเรียกใชขอมูลในฐานขอมูล ระบบการจัดการ
20

ฐานขอมูลตัวอยางซอฟตแวรที่ใชไดแก Microsoft SQL Server, Oracle, MySQL, Microsoft Access


เปนตน
2.6.4 ระบบการจัดการฐานขอมูลทําหนาที่ดังตอไปนี้
2.6.4.1 จัดการโครงสรางที่ใชในการเก็บขอมูล
2.6.4.2 คนหาขอมูลตามเงื่อนไขที่ตองการ
2.6.4.3 จัดทํารายงานตามตองการ
2.6.4.4 เพิ่ม ลบ แกไข ปรับปรุงขอมูลในฐานขอมูล
2.6.4.5 ควบคุมดูแลการสรางและการเรียกใชฐานขอมูล
2.6.5 ระบบการจัดการฐานขอมูลกอใหเกิดประโยชนดังนี้
2.6.5.1 ชวยในการพัฒนาโปรแกรมประยุกตใชงาน
2.6.5.2 สามารถใชขอมูลกับงานหลายงานไดในขณะเดียวกัน
2.6.5.3 การคนหาขอมูลจากฐานขอมูลไดงาย
2.6.5.4 ควบคุมขอมูลใหถูกตอง และสอดคลองกัน
2.6.5.5 สามารถลดความซ้ําซอนของขอมูล
2.6.5.6 การปรับปรุงขอมูลใหกลับเขาสูสภาพปกติไดรวดเร็วและมีมาตรฐาน
2.6.6 Microsoft SQL Server 2000
Microsoft SQL Server 2000 คือฐานขอมูลและเครื่องมือวิเคราะหสมบูรณแบบ ที่กอใหเกิด
โซลูชัน E-Commerce, โซลูชันของสายธุรกิจ และโซลูชันดานคลังขอมูลในยุคหนาไดอยางรวดเร็ว
จุดเดนของ Microsoft SQL Server 2000 ดาน E-COMMERCE ทุกวันนี้แอพพลิเคชันสําหรับ
E-COMMERCE ตองการการรองรับ XML การเขาถึงขอมูลที่ปลอดภัยผานทางเว็บ และ
ความสามารถในการขยายระบบสําหรับธุรกิจที่กําลังเจริญกาวหนา โดยมีจดุ เดนดังตอไปนี้
2.6.6.1 ขอมูลเชิงสัมพันธแปลงเปน XML เขาถึงขอมูลที่มีความสัมพันธกันโดยการ
จัดรูปแบบขอมูล XML กับขอมูลที่มีความสัมพันธกัน และแสดงผลของการเรียกคนขอมูลใน
รูปแบบ XML
2.6.6.2 XML แปลงเปนขอมูลเชิงสัมพันธ แปลงมุมมองเชิงสัมพันธบนขอมูล XML
แบบลําดับขั้นและประมวลผลขอมูลโดยการใช Transact-SQL (T-SQL) และ Stored Procedures
2.6.6.3 เขาถึงเว็บไดอยางสมบูรณแบบ เรียกคนขอมูล วิเคราะห และปรับปรุงขอมูล
ไดโดยตรงผานอินเตอรเน็ต
21

2.6.6.4 Distributed Partitioned Views ประสิทธิภาพทางดานการขยายระบบและความ


เชื่อถือไดของระบบโดยแบงสวนการทํางานไปยังหลายเซิรฟเวอร พรอมยังสามารถเพิ่มเซิรฟเวอร
แมมีการขยายระบบใหมีขนาดใหญขึ้นก็ตาม
2.6.6.5 การสนับสนุนขอมูลหลายชุดสําหรับการทํางานที่มีโฮสต ใชงานแอพพลิเคชัน
พรอมกันดวยระบบที่เชื่อถือไดในการทํางานแบบมีโฮสต ดวยการแยกฐานขอมูลออกเปนชุด
สําหรับลูกคา หรือแอพพลิเคชัน (ไมตองการลิขสิทธิ์เพิ่มเติมสําหรับรุน Enterprise Edition)
2.6.6.6 SQL Query Analyzer ใชเครื่องมือตรวจแกไขขอบกพรอง T-SQL ใน Stored
Procedures เพื่อกําหนด Breakpoints, Watches, แสดงคาตัวแปรและการตรวจรหัส (Code) ทีละ
ขั้น
2.6.6.7 การรักษาความปลอดภัย ปกปองขอมูลดวยการตั้งคาเริ่มตนการรักษาความ
ปลอดภัยที่สูงกวาระหวางการติดตั้งที่สูงกวา รวมทั้งสนับสนุนการเชื่อมตอแบบ Secure Sockets
Layer (SSL) และ Kerberos โดยการรับรองความปลอดภัยระดับ C2 อยูระหวางดําเนินการ
2.7 ASP.NET
ASP.NET สงวนชัย ( อางถึง อินไซท ASP.NET) ASP.NET หรืออีกชื่อหนึ่งวา ASP+ ซึ่งเปน
ชื่อที่ไมโครซอฟทใชเรียกในตอนแรก ถือวาเปน ASP เวอรชั่นลาสุดตอจาก ASP 3.0 ASP.NET
พัฒนามาจาก ASP รูปแบบ และไวยากรณตางๆ และภาษาที่นํามาใชงานนัน้ ตางจากเดิมทั้งสิน้
ASP.NET เปนอีก Generation หนึ่งของ ASP มากกวา เรามาลองดูกันวาใน ASP.NET นั้นมีอะไรที่
แตกตางจาก ASP รุนกอน ๆบางสามารถใชภาษาใดๆในการเขียนสคริปตได จากเดิมที่เราสามารถ
ใชไดเฉพาะภาษาที่เปนสคริปตของ VBScript และ Jscript แตใน ASP.NET เราสามารถที่จะใช
ภาษาที่มีรูปแบบของภาษาเต็มๆ ซึ่ง ในเบื้องตน มี 3 ภาษาคือ C#, VB.NET และ JScript.Net ที่
ออกมาเปนมาตรฐาน แตในอนาคตไมโครซอฟทมีแผนที่จะเพิ่มตัวแปลภาษาใหครบทุกภาษา
2.7.1 ลักษณะของ ASP.NET
2.7.1.1 มีความยืดหยุนในการเขียนโปรแกรมมากขึ้นโดยที่สามารถใชภาษาในการเขียน
ASP.NET ไดมากกวา 1 ภาษาภายในไฟลเดียวกัน ทําใหสามารถเลือกรูปแบบของภาษาที่งายที่สุด
ตอการเขียนในแตละสวนได
2.7.1.2 ลักษณะเปนคอมไพเลอร (Compiler) คือการแปลคําสั่งรวมทั้งโปรแกรม และ
นอกจากนี้นามสกุลของไฟลก็มีการเปลี่ยนแปลงจากเดิมที่ใชนามสกุลไฟลเปน *.asp เปน *.aspx
รูปแบบและการใชงานคอมโพเนนตที่งายขึ้น รูปแบบของคอมโพเนนตจึงจะเนนไปที่ XML มาก
ที่สุด และที่สําคัญการใชงานคอมโพเนนตใน ASP.NET สามารถอัพโหลดไฟลไวในไดเร็คตอรีที่
ผูดูแลเซิรฟเวอร (Admin) สามารถกําหนดหลังจากนั้นคอมโพเนนตจะติดตั้งตัวเองโดยอัตโนมัติ
22

2.7.1.3 มีไลบรารีใหเลือกใชไดมากขึ้น
2.7.1.4 มีคอนโทรลทําใหการใชงานในงายขึ้นชวยในการสรางเว็บไซดไดงายและมี
ประสิทธิภาพมากขึ้น
2.7.1.5 ไมขึ้นตอ Hardware เนื่องจากเปนระบบใน .NET Framework ดังนั้นจึงมี
คุณสมบัติของ Common Language Runtime (CLR) ทําใหมีการคอมไพลโปรแกรมเปนภาษา
มาตรฐานที่เรียกวา IL
2.7.1.6 งายตอการหาจุดผิดพลาดในการเขียนโปรแกรม หากเปน ASP รุนกอนเวลาเกิด
ความผิดพลาด (error) เครื่องจะบอกแควาเปนความผิดพลาดชนิดใดบรรทัดไหน แตใน ASP.NET
นี้เครื่องจะแสดงรายละเอียดที่มากขึ้น พรอมแนวทางแกไข
2.7.1.7 มีการตรวจสอบเหตุการณตาง ๆ ไดภายในเว็บเพจโดยที่ตองมีการตรวจสอบ
เหตุการณตางๆ ตั้งแตโหลดหนาเว็บเพจไปจนถึงปดหนาเว็บเพจลง ทําใหเราสามารถเขียน
โปรแกรมกําหนดเหตุการณตางๆไดงายขึ้น
2.7.1.8 แยกสวนที่เปน HTML กับ ASP ออกมาอยางชัดเจนในเวอรชั่นกอนๆสวนที่
เปน HTML กับ ASP จะเขียนปนกันไปมา แตในเวอรชั่นนี้จะแยกสวนกันอยางชัดเจนวาสวนไหน
เปน HTML และสวนไหนเปน ASP
2.8 ภาษาจาวาสคริปต (JavaScript Language)
ภาษาจาวาสคริปต เปนลักษณะของการเขียนโปรแกรมบนระบบอินเตอรเน็ตโดยการทําให
เว็บเพจมีชีวิตชีวามีลูกเลนแพรวพราวมากขึ้น เชน ทําใหเกิดภาพเคลื่อนไหว พรอมกับระบบ
มัลติมีเดียชวยในการติดตอและโตตอบระหวางผูเขาชมเว็บเพจกับเจาของเว็บเพจนัน้ นอกจากนีย้ ัง
ผสมผสานรวมทํางานกับเอกสาร HTML ไดเปนอยางดี จาวาสคริปตจะมองสิ่งตาง ๆ บนเว็บเพจ
เปนวัตถุหรือเรียกวา ออบเจ็กต (Object) มาเขียนเปนรหัสคําสั่ง จึงเปนภาษาที่เหมาะสมกับการ
พัฒนาระบบคอมพิวเตอรเครือขาย(Network) อยางอินเตอรเน็ตไดเปนอยางดียิ่ง
2.8.1 ลักษณะการทํางานของ JavaScript
จาวาสคริปต (JavaScript) เปนภาษาสคริปตเชิงวัตถุ หรือเรียกวา อ็อบเจ็กโอเรียลเต็ด
(Object Oriented Programming) มีเปาหมายในทีจ่ ะทําการออกแบบและพัฒนาโปรแกรมในระบบ
อินเตอรเน็ต สําหรับผูเขียนเอกสารดวยภาษา HTML สามารถทํางานขามแพลตฟอรมไดทํางาน
รวมกับภาษา HTML และภาษาจาวาไดทั้งทางฝงไคลเอนต (Client) และทางฝงเซิรฟเวอร (Server)
โดยมีลักษณะการทํางานดังนี้
2.8.1.1 Navigator JavaScript เปนภาษา JavaScript ที่ถูกแปลทางฝงไคลเอนต
23

2.8.1.2 LiveWore Javascript เปนภาษา JavaScript ที่ถูกแปลทางฝงเซิรฟเวอร (Server)


ดวยลักษณะการทํางานของภาษาจาวาสคริปตซึ่งฝงตัวอยูในเอกสาร HTML จึงสามารถสั่งทํางานได
เลยในฝงไคลเอนตโดยไมตอ งคอมไพลดังภาษาจาวา กลาวคือภาษาจาวาสคริปตจะทํางานไปพรอม
กันกับเอกสาร HTML ในแบบอินเตอรพรีเตอร (Interpreter) คือแปลไปทีละบรรทัด จึงเปนภาษาที่
งายตอการเขาใจและงายตอการใชงานสําหรับผูที่มีความรูภาษา HTML มาบางแลว สามารถ
2.8.2 สรุปความสามารถของ JavaScript
2.8.2.1 ถูกออกแบบมาสําหรับงานตกแตงและพัฒนาเว็บเพจโดยเฉพาะ
2.8.2.2 ชวยลดภาระการทํางานของเซิรฟเวอร โดยสามารถทําการประมวลผลเองได
ในโปรแกรมบราวเซอรบนฝงไคลเอนต
2.8.2.3 มีกลไกในการตรวจสอบ, การเปรียบเทียบ, การตัดสินใจ, การประมวลผล
และสามารถสรางฟงกชันไดเอง
2.8.2.4 สามารถใชงานรวมกับเทคโนโลยีอื่น ๆ ไดแก ActiveX, CGI, Plug-In, Java
โดยไมขึ้นอยูก ับแพล็ตฟอรมใด ๆ
2.8.2.5 สามารถเปลี่ยนรูปเว็บเพจ HTML จาก Static HTML เปน DHTML (Dynamic
HTML)
2.8.2.6 ใชงานไดงาย เพราะมีลักษณะเปน Interpreter เปน Text File ฝงอยูในเอกสาร
HTML ดังนั้นจึงสามารถทํางานบนบราวเซอรไดทันที โดยไมตองทําการคอมไพลโปรแกรม
อยางเชนภาษาจาวา
2.8.2.7 รูปแบบการใชเหมือนกับชุดภาษาคําสั่งควบคุมลําดับ การดําเนินงานโครงสราง
ของโปรแกรมเชน IF , WHILE , FOR เปนตน
2.8.2.8 ภาษาจาวาสคริปต เปนภาษาที่สามารถเรียนรูไดงาย เหมาะสําหรับเปนภาษาใน
การพัฒนาโปรแกรมบนระบบอินเตอรเน็ตโปรแกรมหนึ่ง
2.9 งานวิจัยทีเ่ กี่ยวของ
จากการศึกษาคนควางานวิจยั ที่เกีย่ วของกับการนําคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตมาใชในการ
จัดการเอกสารพบผลงานวิจยั ที่มีความใกลเคียงแนวคิดดังกลาว ซึ่งผูจัดทําโครงงานไดนํามาเปน
แนวทางในการพัฒนาระบบสืบคนและติดตามเอกสารอิเล็กทรอนิกสทางราชการผานอินเตอรเน็ต
ใหมีประสิทธภาพดังตอไปนี้
จามรกุล (2545: 3) ไดศึกษาวิจัยเกีย่ วกับระบบจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส เพื่อพัฒนาระบบ
จัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกสสําหรับบริหารจัดการเอกสารและขอมูลขาวสารตางๆ ที่ใชงานภายใน
องคกร สามารถจัดเก็บขอมูลรายละเอียดที่เกี่ยวกับเอกสารและตัวไฟลเอกสาร สรางบันทึกขอความ
24

คนหาและดาวนโหลด หรือเปดไฟลเอกสารเพื่อใชงานได รวมถึงการจัดสงขอมูลรายละเอียด


เกี่ยวกับเอกสารไปยังผูรับและตรวจสอบและสถานการณสงและรับขอมูลเอกสาร โดยมีการควบคุม
ตรวจสอบสิทธิการเขาถึงตลอดอายุการใชงานของเอกสาร สามารถกําหนดประเภทและชนิดของ
เอกสารตามความตองการ นําไปใชงานไดกับองคกรตางๆ ที่มีโครงสรางแตกตางกันไดสูงสุด 4
ระดับ และสามารถแบงกลุมผูใชระบบเพื่อใหสามารถกําหนดสิทธิและควบคุมดูแลรักษาความ
ปลอดภัยในการใชงานระบบไดตามตองการ สําหรับเครื่องมือในการพัฒนาในสวนของเซิรฟเวอร
ไดเลือกใชระบบปฏิบัติการลีนุกส (Linux) ระบบการจัดการฐานขอมูล MySQL โปรแกรมอาปาเช
เว็บเซอรฟเวอร โปรแกรมภาษา พีเอ็ชพี เปนซอฟตแวรทูล และไดใชโปรแกรมเน็ตสเคป หรือ
โปรแกรมอินเตอรเน็ตแอกซโพรเลอร เปนซอฟทแวรในการทํางาน และทําการทดสอบระบบดวย
วิธีการ Black Box Testing จากการประเมินประสิทธิภาพของระบบโดยผูเชี่ยวชาญและผูใชงาน
ทั่วไป พบวาระบบงานนี้ มีประสิทธิภาพ ใยระดับดีมากและสามารถที่จะนําไปใชในองคกรตางๆได
อยางมีประสิทธิภาพ
นุชรัตน (2545: 7) ไดศึกษาวิจยั เกีย่ วกับระบบการจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส สําหรับ
องคกรรัฐ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อชวยใหการจัดการเอกสารในองคกรรัฐใหเปนไปอยางมี
ประสิทธิภาพ ชวยลดขั้นตอนการดําเนินงานของเจาหนาที่ในการรับ-สง คนหา และจัดเก็บเอกสาร
ในองคกรของรัฐ โดยระบบไดถูกพัฒนาขึน้ ดวยโปรแกรม Visual Basic 6 สวนของการเก็บขอมูล
ใช SQL Server 7 โดยทําการเชื่อมตอกับฐานขอมูลผาน ODBC และทํางานภายใตระบบปฏิบตั ิการ
Windows 98/2000 โดยโปรแกรมทีพ่ ัฒนาขึ้นนี้มลี ักษณะการทํางานแบบ Client/Server ใช
คอมพิวเตอรเครื่องหนึ่งสําหรับเก็บฐานขอมูล โดยผูใชแตละคนมี Login และ Password สวนตัวใน
การเขาใชโปรแกรม ซึ่งโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นนี้สามารถรับ-สงเอกสาร ไปยังผูใชที่อยูในระบบ
ตรวจสอบเอกสารที่มีการรับเขามาและสงออกไปของผูใชแตละคน ติดตามไดวาเอกสารที่ทําการ
สงไปแลวนั้นผูรับไดเปดอานและตอบกลับมาหรือยัง ทําการจัดเก็บหนังสือที่ผา นการอนุมัติและ
รับทราบลงแฟมตาง ๆ ดานผลลัพธที่ไดจากโปรแกรมอยูใ นระดับดี ดานความสามารถของ
โปรแกรมตรงตอความตองการของผูใชอยูในระดับดีและดานการตรวจสอบขอผิดพลาดของขอมูล
ที่ปอนเขาสูโปรแกรมอยูในระดับดี
ภัทรวุธ,มงคล (2545: 10) ไดศึกษาวิจัยเกี่ยวกับระบบติดตามเอกสารผานอินเตอรเน็ต
เพื่อที่จะอํานวยความสะดวกใหแกนักศึกษาในการติดตามเอกสาร เจาหนาที่ในการจัดเก็บขอมูล
และยังอํานวยความสะดวกกับอาจารยและผูบริหารไดตรวจสอบใบคํารองที่ตองพิจารณาไดงายขึ้น
โดยใช Macromedia Dreamwever รวมกับ ASP ในการพัฒนา เนื่องจากวา ASP ไดถูกออกแบบมา
ใหมีความสามารถในการทํางานรวมกับฐาน ขอมูลผานทางเว็บบราวเซอรไดเปนอยางดี และใช
25

SQL 2000 เปนตัวจัดการฐานขอมูลใหกับระบบ โดยผูใชมีอยู 4 ระดับ คือ นักศึกษาสามารถทําการ


ตรวจสอบการอนุมัติหรือคนหาใบคํารองของตนเอง ธุรการสาขา / เจาหนาที่วิชา สามารถรับและ
แกไขขอมูลใบคํารองและขอมูลการอนุมัติ อาจารยสามารถเลือกพิจารณาหรือคนหาใบคํารองที่
ตองการอนุมัติผลได อีกระดับ คือ ผูดูแลระบบสามารถจัดการขอมูลของระบบไดทั้งหมด โดยผูใช
แตละคนสามารถใชงานผานทางเว็บบราวเซอร ทําใหการติดตามเอกสาร มีความสะดวกรวดเร็วขึ้น
จากการนํ าคอมพิวเตอรและการนํ าเทคโนโลยีอินเทอร เน็ ตมาประยุ กตใ ชในการจั ดการ
เอกสารนั้น ทําใหการรับ-สงเอกสาร มีความสะดวก ความรวดเร็วในการรับสงเอกสารและประหยัด
งบประมาณในการจัดซื้อกระดาษ ซึ่งโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นนี้สามารถรับ-สงเอกสาร ไปยังผูใชที่อยู
ในระบบและผูใชสามารถตรวจสอบเอกสารที่มีการรับเขามาและส งออกไปของผูใช แตละคน
ติดตามไดวาเอกสารที่ทําการสงไปแลวนั้นผูรับไดเปดอานและตอบกลับมาหรือไม ทําการจัดเก็บ
เอกสารตาง ๆ ใหอยูในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส ทําใหสามารถคนหาไดงายและประหยัดพื้นที่ในการ
จัดเก็บ ผูจัดทําสารนิพนธ จึงทําการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อจัดการงานสารบรรณ
บทที่ 3
วิธีการดําเนินงาน

ในการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อจัดการงานสารบรรณ ผูพัฒนาไดมีการศึกษาและรวบรวม
ขอมูลตาง ๆ ที่จําเปนตองใชครบถวนเรียบรอย จากนั้นไดกําหนดขั้นตอนการดําเนินงานทั้งหมด
เปน 4 ขั้นตอนดวยกันคือ
3.1 การวิเคราะหและออกแบบระบบ
3.2 การสรางและพัฒนาระบบ
3.3 การสรางเครื่องมือประเมินความพึงพอใจของระบบ
3.4 การวิเคราะหขอมูลทางสถิติ
3.1 การวิเคราะหและออกแบบระบบ
การวิเคราะหและออกแบบระบบสารสนเทศเพื่อจัดการงานสารบรรณนี้ เปนขั้นตอนที่สําคัญ
มากที่จะทําใหการพัฒนาระบบมีประสิทธิ์ภาพ โดยการวิเคราะหจะเกีย่ วของกับการออกแบบผัง
รายละเอียดตาง ๆ ของการดําเนินงานและสรางผังการทําตาง ๆ เชน Context Diagram, Data Flow
Diagram, Entity Relationship Diagram
3.1.1 Context Diagram คือ ผังแสดงขอมูลที่เขาสูระบบ ขอมูลที่ออกจากระบบ และขอมูลที่
เกี่ยวของกับระบบภายนอก ขั้นตอนนี้สําคัญทําใหทราบขอบเขตของระบบ ดังภาพที่ 3-1

ภาพที่ 3-1 Context Diagram การไหลขอมูลระดับสูงสุด


28

จาก Context Diagram ขางตนสามารถอธิบายไดดังนี้ กลุมบุคคลที่มีสวนเกี่ยวของกับระบบ


มี 3 กลุม คือ ผูดูแลระบบ, เจาหนาที่ธุรการ และผูใชงาน
3.1.2 Data Flow Diagram คือ ผังแสดงการไหลของขอมูลของระบบในระดับตาง ๆ
Data Flow Diagram Level 1 คือ ภาพรวมของผังแสดงการไหลของขอมูลของระบบทั้งหมด ดังภาพ
ที่ 3-2

ผูใชงาน

ตรวจสอบสิทธิ์การใชงาน

2.0 1.0

บริหารและจัดการ ตรวจสอบสิทธิ์การ
ผูใชงานระบบ ใชระบบงาน
D8 แฟมขอมูลผูใชระบบงาน

เพิ่ม/ปรับปรุงผูใชงาน

ผูดูแลระบบ เจาหนาที่ธุรการ ผูใชงาน

สํารองขอมูล

4.0

3.0 7.0 6.0 5.0


การสํารองขอมูล
บริหารและจัดการ ปรับปรุง/ ปรับปรุง/ สืบคนและแสดง
เอกสาร แสดงขอมูลกระดาน แสดงขอมูลขาว เอกสาร
ถามตอบ
D9 XML File

D7 แฟมขอมูลกระดานถามตอบ D1 แฟมขอมูลขาว

D2 แฟมขอมูลรับหนังสือเขา

D3 แฟมขอมูลไฟลแนบของหนังสือเขา

D4 แฟมขอมูลผูรับหนังสือ

D5 แฟมขอมูลขอความของผูรับหนังสือ

D6 แฟมขอมูลสงหนังสือออก

ภาพที่ 3-2 Data Flow Diagram Level 0

จาก Data Flow Diagram Level 0 จะประกอบดวยงานหลักทั้งหมด 7 งาน ดังตอไปนี้


โปรเซสที่ 1.0 ตรวจสอบสิทธิ์การใชงานระบบ
โปรเซสที่ 2.0 บริหารและจัดการผูใชระบบ
29

โปรเซสที่ 3.0 บริหารและจัดการเอกสาร


โปรเซสที่ 4.0 สํารองขอมูล
โปรเซสที่ 5.0 สืบคนและแสดงเอกสาร
โปรเซสที่ 6.0 ปรับปรุงและแสดงขอมูลขาว
โปรเซสที่ 7.0 ปรับปรุงและแสดงขอมูลกระดานถามตอบ
Data Flow Diagram Level 0 อธิบายไดดงั นี้ โปรเซสที่ 1.0 ทําหนาที่ ตรวจสอบสิทธิ์การใช
งานของผูใชระบบเพื่อแยกผูใ ชงานตามสิทธิ์ที่กําหนดโดยแยกออกเปนผูดูแลระบบ, เจาหนาที่ และ
ผูใชงาน โปรเซสที่ 2.0 ทําหนาที่บริหารและจัดการผูใชระบบ เพิ่มและปรับรุงขอมูลผูใช กําหนด
สิทธิ์การใชงาน โปรเซสที่ 3.0 ทําหนาทีบ่ ริหารและจัดการเอกสาร ลงทะเบียนรับหนังสือเขาและ
กําหนดผูมีสิทธิ์รับหนังสือ ลงทะเบียนเมือ่ มีการสงหนังสือออก โปรเซสที่ 4.0 สํารองขอมูล ทํา
หนาที่สํารองขอมูล โปรเซสที่ 5.0 ทําหนาที่สืบคนและแสดงเอกสารตามสิทธิ์ของผูใชที่ไดรับ
โปรเซสที่ 6.0 ปรับปรุงและแสดงขอมูลขาว ทําหนาทีเ่ พิม่ ลบ แกไข และแสดงขอมูลขาว โปรเซส
ที่ 7.0 ปรับปรุงและแสดงขอมูลกระดานถามตอบ ทําหนาที่เพิ่ม ลบ แกไข และแสดงขอมูลลกระ
ดานถามตอบ โดยใช Data Flow Diagram Level ตาง ๆ อธิบายดังตอไปนี้
Data Flow Diagram Level 1 โปรเซสที่ 1.1 ตรวจสอบรหัสผูใชและรหัสผาน ผูใชกรอกรหัส
ผูใชและรหัสผาน ระบบทําการตรวจสอบการกรอกขอมูลวาครบถวนและถูกตองแลวหรือไม
จากนั้นทําการตรวจสอบวามีรหัสผูใชและรหัสผานวาตรงกับขอมูลในฐานขอมูลหรือไมและสงไป
ให โปรเซสที่ 1.2 ตรวจสอบสิทธิ์วารหัสผูใชที่ลอกอินเขาสูระบบงานมีสิทธิ์การใชงานหรือไม โดย
ตรวจสอบกับแฟมขอมูลผูใชงานระบบ ดังภาพที่ 3-3

ภาพที่ 3-3 Data Flow Diagram Level 1 ตรวจสอบสิทธิ์การใชงานระบบ


30

Data Flow Diagram Level 1 โปรเซสที่ 2.1 เพิ่มผูใชงานระบบ ผูดูแลระบบเพิ่มผูใชงานใหม


เและกําหนดสิทธิ์การใชงานตามสิทธิ์ของผูใช โปรเซสที่ 2.2 ปรับปรุงขอมูลผูใชงานระบบ ผูดูแล
ระบบสามารถปรับปรุงแกไขขอมูลและปรับเปลี่ยนสิทธิ์การใชงานของผูใชงานระบบ
ดังภาพที่ 3-4

ภาพที่ 3-4 Data Flow Diagram Level 1 บริหารและจัดการผูใชระบบ

Data Flow Diagram Level 1 โปรเซสที่ 3.1 รับเอกสาร เจาหนาที่ธุรการรับเอกสารจาก


หนวยงานภายนอกคณะและลงทะเบียนรับ จากนั้นสงให โปรเซสที่ 3.2 ไฟลแนบเอกสาร ทําหนาที่
แนบไฟลเอกสารเพื่อจัดเก็บเอกสาร จากนั้นสงตอให โปรเซสที่ 3.3 กําหนดผูรับ เพื่อกําหนดผูรับ
เอกสาร จากนัน้ สงตอให โปรเซสที่ 3.4 สงเมลแจงผูรับเมื่อเอกสารใหมสงถึงผูรับ ดังภาพที่ 3-5

D8 แฟมขอมูลผูใชระบบงาน

3.1 3.2 3.3 3.4

เจาหนาที่ธุรการ สงเมลถึง
รับเอกสารเขา ไฟลแนบเอกสาร กําหนดผูรับเอกสาร
ผูรับเอกสาร

D2 แฟมขอมูลรับหนังสือเขา D3 แฟมขอมูลไฟลแนบของหนังสือเขา D4 แฟมขอมูลผูรับหนังสือ

ภาพที่ 3-5 Data Flow Diagram Level 1 บริหารและจัดการเอกสาร


31

Data Flow Diagram Level 1 สํารองขอมูล โปรเซสที่ 4.1 เตรียมขอมูล เมื่อผูดูแลระบบ


ตองการสํารองขอมูล โปรเซสที่ 4.1 จะทําหนาที่เตรียมขอมูลจากแฟมขอมูลและจัดขอมูลใหอยูใน
รูปแบบของ XML และสงใหโปรเซสที่ 4.2 สํารองขอมูล ทําหนาที่บันทึกขอมูลที่ไดจัดเตรียมใน
โปรเซสที่ 4.1 มาบันทึกลงในไฟล ดังภาพที่ 3-6

ภาพที่ 3-6 Data Flow Diagram Level 1 สํารองขอมูล

Data Flow Diagram Level 1 สืบคนและแสดงเอกสาร โปรเซสที่ 5.1 สืบคนเอกสาร เมื่อผูใช


ระบบเขาสูระบบงาน ระบบจัดเตรียมเฉพาะเอกสารทีผ่ ูใชมีสิทธิ์เขาถึงเอกสารนั้นเทานั้น และสง
ขอมูลให โปรเซสที่ 5.2 แสดงเอกสาร ระบบจะนําเอกสารที่ไดจากโปรเซสที่ 5.1 เตรียมมาแสดง
โดยที่ผูใชสามารถกําหนดใหแสดงเฉพาะเอกสารที่ยังไมไดอานเทานัน้ หรือจะแสดงเอกสารทั้งหมด
ก็ได ในกรณีทมี่ ีเอกสารนั้นมีเอกสารแนบมาดวย โปรเซสที่ 5.3 สรางขอความแนบเอกสาร เมื่อผูใช
ระบบตองการสรางขอความอธิบายเอกสารแนบ สงใหผรู ับคนอื่น ดังภาพที่ 3-7
32

ภาพที่ 3-7 Data Flow Diagram Level 1 สืบคนและแสดงเอกสาร

Data Flow Diagram Level 1 ปรับปรุงและแสดงขอมูลขาว เจาหนาทีธ่ ุรการทําหนาที่ในการ


ปรับปรุงขาวเขาสูระบบงานโดยโปรเซสที่ 6.1 เพิ่มขอมูลขาว ทําหนาที่เพิ่มขอมูลขาวใหมเขาสู
ระบบ โปรเซสที่ 6.2 ทําหนาที่ลบขอมูลขาวที่ไมตองการแลวออกจากระบบ โปรเซสที่ 6.3 แสดง
ขาว ทําหนาทีแ่ สดงขาวใหกบั ผูใชระบบ ดังภาพที่ 3-8

ภาพที่ 3-8 Data Flow Diagram Level 1 ปรับปรุงและแสดงขอมูลขาว


33

จาก Data Flow Diagram Level 1 ปรับปรุงและแสดงขอมูลกระดานถามตอบ เมื่อผูใช


ระบบงานตองการตั้งกระทูแ ละตอบกระทู โปรเซสที่ 7.1 ทําหนาที่ในการตั้งกระทู โปรเซสที่ 7.2
แสดงขอมูลกระดานถามตอบ แสดงหัวขอกระทูและคําตอบของกระทูน ั้นเทานัน้ ดังภาพที่ 3-9

ภาพที่ 3-9 Data Flow Diagram Level 1 ปรับปรุงและแสดงขอมูลกระดานถามตอบ

3.1.3 ผังแสดงความสัมพันธของขอมูลตาง ๆ (Entity Relationship Diagram) เพื่อนําเสนอ


รายละเอียดตางๆ ที่เกี่ยวของกับขอมูลในฐานขอมูลที่ออกแบบ โดยความสัมพันธระหวางขอมูล
สามารถนํามาเขียนเปนผังแสดงความสัมพันธของขอมูลในระบบงานไดโดยใช E-R Diagram ดัง
ภาพที่ 3-10
34

ภาพที่ 3-10 ความสัมพันธของแฟมตาง ๆ


35

3.1.6 โครงสรางฐานขอมูล ประกอบไปดวย 10 ตารางขอมูล ดังนี้


3.1.6.1 ตารางขอมูลขาว (News) เปนตารางที่เก็บขอมูลขาวประกาศ ซึ่งประกอบดวย
รายละเอียดตาง ๆ ดังตารางที่ 3-1
ตารางที่ 3-1 ขอมูลขาว (News)
No. Field Name Data Type Length Description
1. News_Id bigint 8 รหัสขาว (PK)
2. New_Title nvarchar 200 หัวขอขาว
3. News_Description ntext 16 รายละเอียดขาว
4. News_DateTime datetime 8 ว/ด/ป ขาว

3.1.6.2 ตารางสงหนังสือออก (tb_OutDocument) เปนตารางที่เก็บการสงหนังสือออก


รายละเอียดตาง ๆ ของการสงหนังสือออก ซึ่งประกอบดวยรายละเอียดตาง ๆ ดังตารางที่ 3-2
ตารางที่ 3-2 สงหนังสืออก (tb_OutDocument)
No. Field Name Data Type Length Description
1. DocOut_Ref bigint 8 เลขที่หนังสือออกอางอิง(PK)
2. DocOut_No nvachar 50 เลขที่หนังสือออก
3. DocOut_DateTime datetime 8 ว/ด/ป หนังสือออก
4. User_Email vachar 100 E-Mail
5. DocOut_To nvachar 100 ถึง
6. DocOut_Title nvachar 200 หัวขอ
7. DocOut_Type nvachar 50 ประเภทหนังสือออก
8. DocOut_Description nvachar 200 รายละเอียด
9. DocOut_Status nvachar 50 สถานะหนังสือออก
10. DocOut_Remark nvachar 200 หมายเหตุ

3.1.6.3 ตารางเอกสารแนบหนังสือออก (tb_OutDocumentFile) เปนตารางที่ใชในเก็บ


การสงเอกสารแนบ ซึ่งประกอบดวยรายละเอียดตาง ๆ ดังตารางที่ 3-3
36

ตารางที่ 3-3 เอกสารแนบหนังสือออก (tb_OutDocumentFile)


No. Field Name Data Type Length Description
1. File_Id bigint 8 รหัสเอกสาร (PK)
2. DocOut_Ref bigint 8 เลขที่หนังสือออกอางอิง
3. File_Description nvarchar 200 รายละเอียดเอกสารแนบ
4. File_Address nvarchar 200 ที่เก็บเอกสารแนบ
5. File_Name nvarchar 200 ชื่อเอกสารแนบ
6. File_DateTime datetime 8 ว/ด/ป เอกสารแนบ

3.1.6.4 ตารางรับเอกสารเขา (tb_ReceiveDocment) เปนตารางที่เก็บการรับเอกสาร


เขา ซึ่งประกอบดวยรายละเอียดตาง ๆ ดังตารางที่ 3-4
ตารางที่ 3-4 รับเอกสารเขา (tb_ReceiveDocment)
No. Field Name Data Type Length Description
1. Doc_Ref bigint 8 เลขที่เอกสารอางอิง(PK)
2. Doc_Id varchar 50 เลขที่รับหนังสือ
3. Doc_No nvarchar 50 เลขที่หนังสือ
4. Doc_DateTime datetime 8 ว/ด/ป รับหนังสือ
5. Doc_From nvarchar 100 จากหนวยที่สง
6. Doc_To nvarchar 100 ถึงผูรับ
7. Doc_Title nvarchar 200 เรื่อง
8. Doc_Type nvarchar 50 ประเภท
9. Doc_Description nvarchar 200 รายละเอียด
10. Doc_Status nvarchar 50 สถานะ
11. Doc_Remark nvarchar 200 หมายเหตุ

3.1.6.5 ตารางความคิดเห็นผูรับเอกสาร (tb_ReceiveDocumentComment) เปนตาราง


ที่เก็บขอมูลความคิดเห็นของผูรับเอกสาร ซึ่งประกอบดวยรายละเอียดตาง ๆ ดังตารางที่ 3-5
37

ตารางที่ 3-5 ความคิดเห็นผูร ับเอกสาร(tb_ReceiveDocumentComment)


No. Field Name Data Type Length Description
1. Cmt_Id Bigint 8 รหัสความเห็น (PK)
2. Doc_Ref Bigint 8 เลขที่เอกสารอางอิง
3. User_Email varchar 100 E-Mail
4. Cmt_Description nvarchar 500 รายละเอียด

3.1.6.6 ตารางเอกสารที่รับเขา (tb_ReceiveDocumentFile) เปนตารางที่เก็บรายละเอียด


เอกสารที่รับเขา ซึ่งประกอบดวยรายละเอียดตาง ๆ ดังตารางที่ 3-6
ตารางที่ 3-6 เอกสารที่รับเขา (tb_ReceiveDocumentFile)
No. Field Name Data Type Length Description
1. File_Id bigint 8 รหัสเอกสาร (PK)
2. File_Description nvarchar 200 รายละเอียด
3. File_Address nvarchar 200 ทีเก็บเอกสาร
4. File_Name nvarchar 200 ชื่อเอกสาร
5. File_DateTime nvarchar 8 ว/ด/ป รับเอกสารแนบ

3.1.6.7 ตารางรับเอกสารของผูใชงาน (tb_ReceiveDocumentUser) เปนตารางที่เก็บ


เอกสารของผูใชงาน ซึ่งประกอบดวยรายละเอียดตาง ๆ ดังตารางที่ 3-7
ตารางที่ 3-7 รับเอกสารของผูใชงาน (tb_ReceiveDocumentUser)
No. Field Name Data Type Length Description
1. Ref_Id bigint 8 รหัสเอกสารอางอิง (PK)
2. Doc_Ref bigint 8 เอกสารอางอิง
3. User_Email varchar 100 E-Mail ของ User
4. User_Acceptation int 4 สถานะของเอกสาร
5. Create_DateTime datetime 8 ว/ด/ป รับเอกสาร

3.1.6.8 ตารางราผูใชงาน (tb_User) เปนตารางที่เก็บขอมูลของผูใชงาน ซึ่ง


ประกอบดวยรายละเอียดตาง ๆ ดังตารางที่ 3-8
38

ตารางที่ 3-8 ผูใชงาน (tb_User)


No. Field Name Data Type Length Description
1. User_Email varchar 120 E-Mail ของผูใชงาน (PK)
2. Password varchar 12 รหัสผาน
3. FirstName nvarchar 100 ชื่อ
4. LastName nvarchar 200 นามสกุล
5. Description nvarchar 200 รายละเอียด
6. Permission int 4 สิทธิ์การอนุญาตใชงาน
7. Create_Datetime datetime 8 ว/ด/ป ที่สราง
8. User_System int 4 ผูใชงานระบบ
9. User_Active tinyint 1 สถานะการใชงาน

3.1.6.9 ตารางรายละเอียดกระทู (tb_Webboard_Details) เปนตารางที่เก็บรายละเอียด


คําตอบของกระทู ซึ่งประกอบดวย รายละเอียดตาง ๆ ดังตารางที่ 3-9
ตารางที่ 3-9 รายละเอียดกระทู (tb_Webboard_Details)
No. Field Name Data Type Length Description
1. Detail_Id bigint 8 รหัสรายละเอยดกระทู (PK)
2. Item_Id bigint 8 รหัสกระทู
3. Detail_Desctiption nvarchar 200 รายละเอียด
4. Answer_Name nvarchar 100 ชื่อผูตอบ
5. Answer_Email nvarchar 100 อีเมลผูตอบ
6. Answer_Date datetime 8 ว/ด/ป ตอบกระทู

3.1.6.10 ตารางหัวขอกระทู (tb_Webboard_Item) เปนตารางที่เก็บหัวขอกระทู ซึ่ง


ประกอบดวยรายละเอียดตาง ๆ ดังตารางที่ 3-10
39

ตารางที่ 3-10 หัวขอกระทู (tb_Webboard_Item)


No. Field Name Data Type Length Description
1. Item_Id bigint 8 รหัสกระทู
2. Item_Name nvarchar 200 ชื่อกระทู
3. Item_Description nvarchar 200 รายละเอียดกระทู
4. Created_Name nvarchar 100 ชื่อผูสรางกระทู
5. Created_Email nvarchar 100 E-Mail ของผูสรางกระทู
6. Created_Date datetime 8 ว/ด/ป สรางกระทู

3.1.7 การออกแบบหนาจอที่ติดตอกับผูใชงาน
หลังจากที่ไดทําการวิเคราะหระบบโดยใช Data Flow Diagram และ E-R Diagram แลวนั้น
ทําใหทราบถึงการไหลของขอมูลที่มีอยูในระบบทั้งหมด การออกแบบหนาจอของระบบ แบง
ออกเปน 3 สวนดวยกันคือ
1. สวนของผูดูแลระบบ
2. สวนของเจาหนาที่ธุรการ
3. สวนของผูใชงาน
หนาจอแรกของระบบ คือหนาจอ Login เมื่อผูใชงานทําการ Login แลว จะแยกเมนูตาม
ประเภทของ ผูใชงาน ซึ่งแตละสวนจะประกอบดวยหนาจอยอยอื่น ๆ อีก ดังภาพที่ 3-11

ภาพที่ 3-11 หนาจอแรกของระบบ


40

หนาจอผูดแู ลระบบ แบงหนาจอออกเปน 3 สวน ไดแก สวนสัญลักษณของระบบ สวนของ


เมนู และสวนแสดงขอมูล ดังภาพที่ 3-12

ภาพที่ 3-12 หนาจอผูดูแลระบบ


หนาจอหนาจอรับเอกสาร แบงหนาจอออกเปน 3 สวน ไดแก สวนสัญลักษณของระบบ
สวนของเมนู และสวนการแสดงผลและปรับปรุงขอมูล ดังภาพที่ 3-13

ภาพที่ 3-13 หนาจอรับเอกสาร


41

หนาจอผูใชงาน แบงหนาจอออกเปน 3 สวน ไดแก สวนสัญลักษณของระบบ สวนของเมนู


สวนการคนหา และสวนแสดงขอมูล ดังภาพที่ 3-14

ภาพที่ 3-14 หนาจอผูใชงาน

หนาจอกระดานถามตอบ แบงหนาจอออกเปน 3 สวน ไดแก สวนสัญลักษณของระบบ


สวนของเมนู สวนการสรางกระทู และสวนแสดงกระทู ดังภาพที่ 3-15

ภาพที่ 3-15 หนาจอกระดานถามตอบ


42

3.2 การสรางและพัฒนาระบบ
ขั้นตอนการสรางและพัฒนาระบบสารสนทศเพื่อจัดการงานสารบรรณ พัฒนาบนระบบ
ปฏิบัติการ Windows xp เว็บเซิรฟเวอร (Web Server) ใช Internet Information Server 5.0 (IIS) และ
ใชโปรแกรมภาษา ASP .NET ที่อยูในชุดของโปรแกรม Visual Studio .NET 2003 ในการสรางหนา
เว็บเพจและออกแบบหนาจอการติดตอกับผูใชงาน (Graphic User Interface) และใชภาษาจาวา
สคริปตในบางสวนของหนาเว็บเพจเพื่อใหระบบทํางานไดอยางมีประสิทธิ์ภาพมากขึ้น โปรแกรม
จัดการฐานขอมูลใช Microsoft SQL Server 2000 การติดตอระหวางโปรแกรมภาษา ASP .NET กับ
ฐานขอมูล Microsoft SQL Server 2000 จะทําการติดตอโดยผาน ADO .NET และใชโปรแกรม
Adobe Photoshop 7.0 ในการแตงรูปภาพที่ใชงานในระบบ
3.3 การสรางเครื่องมือประเมินความพึงพอใจของระบบ
หลังจากที่ไดพัฒนาระบบแลว ผูพัฒนาระบบไดออกแบบ แบบสอบถามเพื่อประเมินความ
พึงพอใจของระบบที่พัฒนาขึน้ โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้
1. ดาน Function Requirement Test
2. ดาน Function Test
3. ดาน Usability Test
4. ดาน Security Test
โดยกลุมตัวอยางในการวิจยั ประกอบดวย เจาหนาที่และอาจารย คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ, เจาหนาที่ธนาคารออมสิน, เจาหนาที่สํานักงาน
ตรวจเงินแผนดิน โดยแบงเปนระดับผูเชีย่ วชาญ จํานวน 5 คน และระดับผูใชงาน จํานวน 30 คน
การประเมินไดกําหนดเกณฑการใหคะแนนแบงเปน 5 ระดับ ดังตารางที่ 3-11
ตารางที่ 3-11 เกณฑการใหคะแนนของแบบประเมิน
ระดับเกณฑการใหคะแนน ความหมาย
5 ระบบที่พัฒนามีความพึงพอใจมากที่สุด
4 ระบบที่พัฒนามีความพึงพอใจมาก
3 ระบบที่พัฒนามีความพึงพอใจปานกลาง
2 ระบบที่พัฒนามีความพึงพอใจนอย
1 ระบบที่พัฒนามีความพึงพอใจนอยที่สุด
43

3.4 การวิเคราะหขอมูลทางสถิติ
สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูลในครั้งนี้ ใชสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ในการ
วัดคากลางของขอมูลโดยใชคาเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic Mean) หรือคาเฉลี่ย (Mean) และวัดการ
กระจายของขอมูลโดยใชคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) โดยทําการประมวลผล
ขอมูลดวยโปรแกรม Microsoft Office Excel 2003
3.4.1 คาเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic Mean) หรือคาเฉลี่ย (Mean)
จากสูตร

X=
∑X
N

เมื่อ X แทนเฉลี่ยเลขคณิตหรือคาเฉลี่ย
∑X แทนผลรวมทั้งหมดของขอมูล
N แทนจํานวนขอมูลทั้งหมด

3.4.2 คาเฉลี่ยเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)


จากสูตร

SD =
∑(X − X ) 2

เมื่อ SD แทนสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
X แทนเฉลี่ยเลขคณิตหรือคาเฉลี่ย
∑(X − X ) 2
แทนผลรวมของขอมูลลบคาเฉลี่ยทั้งหมดยกกําลังสอง
N แทนจํานวนขอมูลทั้งหมด
บทที่ 4
ผลของการดําเนินงาน

ผลการพัฒนาและทดสอบระบบสารสนเทศเพื่อจัดการงานสารบรรณ มีผลการดําเนินงาน
และการวิเคราะหขอมูลเพื่อหาความพึงพอใจของระบบ ซึ่งไดแสดงเปนลําดับดังนี้
4.1 ผลการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อจัดการงานสารบรรณ
4.2 ผลการวิเคราะหแบบประเมินความพึงพอใจห็นของผูเชี่ยวชาญ
4.3 ผลการวิเคราะหแบบประเมินความพึงพอใจของผูใชงานทั่วไป
4.4 สรุปผลการประเมินหาความพึงพอใจของระบบ
4.1 ผลการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อจัดการงานสารบรรณ
ชวยในการจัดเก็บขอมูลของการรับหนังสือเขา การสงหนังสือออก การสงหนังสือไปถึง
ผูเกี่ยวของ การจัดทํารายงาน โดยระบบแบงผูใชงานออกเปน 3 กลุม คือ ผูดูแลระบบ เจาหนาที่
ธุรการและ ผูใชงานระบบ โดยแตละกลุมมีหนาที่แตกตางกัน
4.1.1 หนาจอแรกของระบบ เปนหนาจอสําหรับผูใชงานทุกคนที่ตองใสอีเมลแอดเดสและรหัส
ผานเพื่อทําการลอกอินเขาใชงานระบบ ดังภาพที่ 4-1

ภาพที่ 4-1 หนาจอแรกของระบบ


46

4.1.2 หนาจอผูใชงานใส อีเมลแอดเดรสหรือรหัสผานไมถูกตอง เมื่อผูใชงานใสอีเมล


แอดเดรสหรือรหัสผานผิด จะแสดงขอความ ดังภาพที่ 4-2

ภาพที่ 4-2 หนาจอผูใชงานใส อีเมลแอดเดรสหรือรหัสผานไมถูกตอง

4.1.3 หนาจอสําหรับผูดูแลระบบ เปนหนาจอของผูดูแลระบบซึ่งจะมีเมนูตา งๆ ที่เกี่ยว


ของกับหนาทีข่ องผูดูแลระบบ เชน เพิ่มผูใชงาน, สํารองขอมูล ดังภาพที่ 4-3

ภาพที่ 4-3 หนาจอสําหรับผูดูแลระบบ


47

4.1.4 หนาจอสําหรับเจาหนาที่ เปนหนาจอหลักของเจาหนาที่ธุรการที่ทําการลงทะเบียน


รับสงเอกสาร แกไขขอมูลเอกสาร ดังภาพที่ 4-4

ภาพที่ 4-4 หนาจอสําหรับเจาหนาที่

4.1.5 หนาจอสําหรับผูใชงาน เปนหนาจอหลักของผูใชงานที่ใชในการตรวจสอบและ


แสดงเอกสารเขาเอกสารออก แสดงลิงคที่เชื่อมตอไปยังเวบเพจตางๆ ดังภาพที่ 4-5

ภาพที่ 4-5 หนาจอสําหรับผูใชงาน


48

4.2 ผลการวิเคราะหแบบประเมินความพึงพอใจของผูเชีย่ วชาญ


ผลการประเมินความพึงพอใจของระบบในแตละดานซึ่งแสดงคา คะแนนเฉลี่ย ( X ) และ
สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( SD ) คาระดับความพึงพอใจของผูเชี่ยวชาญ จํานวน 5 คน มีดังตอไปนี้
4.2.1 ดานความสามารถทํางานตามความตองการของผูใช (Function Requirement Test)
ดังตารางที่ 4-1
ตารางที่ 4-1 ผลการประเมินความพึงพอใจระบบของผูเชี่ยวชาญ ดานความสามารถทํางานตาม
ความตองการของผูใชงาน
ระดับ
รายการประเมิน SD
X
ความพึงพอใจ
1. ความเหมาะสมของการตรวจสอบสิทธิ์ 3.80 0.45 ปานกลาง
2. ความเหมาะสมของการเพิ่มขอมูลผูใชงาน 4.60 0.55 ดี
3. ความเหมาะสมของการสํารองขอมูล 4.60 0.55 ดี
4. ความเหมาะสมในการจัดทําทะเบียนรับ-สงเอกสาร 4.20 0.45 ดี
5. ความเหมาะสมของการสืบคนเอกสาร 4.40 0.55 ดี
6. ความเหมาะสมของการแสดงเอกสาร 4.40 0.55 ดี
7. ความเหมาะสมในการตรวจสอบการเปดเอกสาร 3.60 0.55 ปานกลาง
8. ความเหมาะสมในการการตอบรับ/แสดงเอกสาร 4.40 0.55 ดี
9. ความเหมาะสมของระบบในภาพรวม 4.20 0.45 ดี
10. ความเหมาะสมของรายงาน 4.40 0.55 ดี
สรุปดานความสามารถทํางานตามความตองการของ 4.26 0.56 ดี
ผูใชงาน

จากตารางที่ 4-1 เมื่อพิจารณาการประเมินความพึงพอใจของระบบจากการประเมินของ


ผูเชี่ยวชาญในดานความสามารถทํางานตามความตองการของผูใชงานไดคาเฉลี่ยเทากับ 4.26 และ
คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.56 ซึ่งแสดงถึงการยอมรับความพึงพอใจการใชงานอยูในระดับ
ดี
49

4.2.2 ดานหนาที่ของโปรแกรม (Function Test) ดังตารางที่ 4-2


ตารางที่ 4-2 ผลการประเมินความพึงพอใจระบบของผูเชี่ยวชาญ ดานหนาที่ของระบบ
ระดับ
รายการประเมิน SD
X
ความพึงพอใจ
1. ความถูกตองในการตรวจสอบสิทธิ์ 4.20 0.45 ดี
2. ความถูกตองในการเพิ่ม แกไขและลบ ขอมูล
ปานกลาง
ผูใชงาน 3.80 0.45
3. ความถูกตองการสํารองขอมูล 4.20 0.45 ดี
4. ความถูกตองในการจัดทําทะเบียนรับ-สงเอกสาร 4.20 0.45 ดี
5. ความถูกตองในการคนหาเอกสาร 4.20 0.45 ดี
6. ความถูกตองในการแสดงเ อกสาร 4.00 0.71 ดี
7. ความถูกตองในการตอบรับ/แสดงเอกสาร 4.00 0.71 ดี
8. ความถูกตองในการกําหนดผูรับเอกสาร 3.80 0.45 ปานกลาง
9. ความถูกตองในการแสดงขอมูลขาว 3.80 0.45 ปานกลาง
10. ความถูกตองในการทํางานของ Web Board 3.80 0.45 ปานกลาง
11. ความถูกตองในการทํางานของระบบในภาพรวม 4.20 0.45 ดี
12. ความถูกตองในการสรางขอมควมแนบกับเอกสาร
ดี
ไปยังบุคคลที่เกี่ยวของ 4.20 0.45
13. ความถูกตองในภาพรวมของระบบ 3.80 0.45 ปานกลาง
14. ความถูกตองของออกรายงานสรุปประจําวัน/
ปานกลาง
สัปดาห/เดือน/ป ได 3.80 0.45
สรุปดานหนาที่ของระบบ 4.00 0.48 ดี

จากตารางที่ 4-2 เมื่อพิจารณาการประเมินความพึงพอใจของระบบจาก ของผูเชี่ยวชาญใน


ดานหนาที่ของระบบไดคาเฉลี่ยเทากับ 4.00 และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.48 ซึ่งแสดงถึง
การยอมรับความพึงพอใจการใชงานอยูในระดับดี
50

4.2.2 ดานการใชงานของระบบ (Usability Test) ดังตารางที่ 4-3


ตารางที่ 4-3 ผลการประเมินความพึงพอใจระบบของผูเชี่ยวชาญ ดานการใชงานของระบบ
ระดับ
รายการประเมิน SD
X
ความพึงพอใจ
1. ความงายในการใชงาน 4.00 0.00 ดี
2. ความถูกตองของผลลัพธ 4.20 0.45 ดี
3. ความชัดเจนของขอความที่แสดงบนจอภาพ 3.80 0.45 ปานกลาง
4. ความเหมาะสมของการใชสีของตัวอักษร พื้นหลัง และ
ดี
รูปภาพประกอบ 4.60 0.55
5. ความเหมาะสมของตําแหนงการจัดวางสวนตาง ๆ บน
ดี
จอภาพ 4.40 0.55
6. ความเหมาะสมของปริมาณขอมูลที่นําเสนอในแตละ
ดี
หนาจอ 4.00 0.00
7. ความเหมาะสมของตําแหนงชองกรอกขอมูล 4.00 0.71 ดี
8. ความเหมาะสมของระบบในภาพรวม 4.40 0.55 ดี
สรุปดานการใชงานของระบบ 4.18 0.50 ดี

จากตารางที่ 4-3 เมื่อพิจารณาการประเมินความพึงพอใจของระบบจากการประเมินของ


ผูเชี่ยวชาญในดานการใชงานของระบบไดคาเฉลี่ยเทากับ 4.18 และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
เทากับ 0.50 ซึ่งแสดงถึงการยอมรับความพึงพอใจการใชงานอยูในระดับดี
4.2.4 ดานความปลอดภัย (Security Test) ดังตารางที่ 4-4
ตารางที่ 4-4 ผลการประเมินความพึงพอใจระบบของผูเชี่ยวชาญ ดานดานความปลอดภัย
ระดับ
รายการประเมิน SD
X
ความพึงพอใจ
1. ความเหมาะสมของการกําหนดรหัสผานของผูใช 3.80 0.45 ปานกลาง
2. ความเหมาะสมของการกําหนดรหัสผานของผูดูแล
ดี
ระบบ 4.40 0.55
3. ความเหมาะสมของการเขาถึงขอมูลสวนตัวของผูใช 4.00 0.00 ดี
สรุปดานความปลอดภัย 4.20 0.45 ดี
51

จากตารางที่ 4-4 เมื่อพิจารณาการประเมินความพึงพอใจของระบบจากการประเมินของ


ผูเชี่ยวชาญในดานดานความปลอดภัย ไดคาเฉลี่ยเทากับ 4.2 และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ
0.45 ซึ่งแสดงถึงการยอมรับความพึงพอใจการใชงานอยูในระดับดี
4.3 ผลการวิเคราะหแบบประเมินความพึงพอใจของผูใชงานทั่วไป
ผลการประเมินความพึงพอใจของระบบแสดงคาคะแนนเฉลี่ย ( X ) และคาสวนเบีย่ งเบน
มาตรฐาน ( SD ) ระดับความพึงพอใจของผูใชงานทั่วไป จํานวน 30 คน มีดังตอไปนี้
4.3.1 ดานความสามารถทํางานตามความตองการของผูใช (Function Requirement Test) ดัง
ตารางที่ 4-5
ตารางที่ 4-5 ผลการประเมินความพึงพอใจระบบของผูใชงานทั่วไป ดานความสามารถ ทํางานตาม
ความตองการของผูใชงาน
ระดับ
รายการประเมิน SD
X
ความพึงพอใจ
1. ความเหมาะสมของการตรวจสอบสิทธิ์ 4.33 0.48 ดี
2. ความเหมาะสมของการเพิ่มขอมูลผูใชงาน 4.50 0.51 ดี
3. ความเหมาะสมของการสํารองขอมูล 3.97 0.18 ปานกลาง
4. ความเหมาะสมในการจัดทําทะเบียนรับ-สงเอกสาร 3.97 0.32 ปานกลาง
5. ความเหมาะสมของการสืบคนเอกสาร 3.93 0.25 ปานกลาง
6. ความเหมาะสมของการแสดงเอกสาร 3.97 0.41 ปานกลาง
7. ความเหมาะสมในการตรวจสอบการเปดเอกสาร 4.23 0.43 ดี
8. ความเหมาะสมในการการตอบรับ/แสดงเอกสาร 4.47 0.51 ดี
9. ความเหมาะสมของระบบในภาพรวม 4.40 0.62 ดี
10. ความเหมาะสมของรายงาน 4.37 0.61 ดี
สรุปดานความสามารถทํางานตามความตองการของ
ดี
ผูใชงาน 4.21 0.50

จากตารางที่ 4-5 เมื่อพิจารณาการประเมินความพึงพอใจของระบบจากการประเมินของ


ผูใชงานทั่วไปในดานความสามารถทํางานตามความตองการของผูใชงาน ไดคาเฉลีย่ เทากับ 4.21
และคาสวนเบีย่ งเบนมาตรฐานเทากับ 0.50 ซึ่งแสดงถึงการยอมรับความพึงพอใจการใชงานอยูใน
ระดับดี
52

4.3.2 ดานหนาที่ของระบบ (Function Test) ดังตารางที่ 4-6


ตารางที่ 4-6 ผลการประเมินความพึงพอใจระบบของผูใชงานทั่วไป ดานหนาที่ของระบบ
ระดับ
รายการประเมิน SD
X
ความพึงพอใจ
1. ความถูกตองในการตรวจสอบสิทธิ์ 4.57 0.50 ดี
2. ความถูกตองในการเพิ่ม แกไขและลบ ขอมูล
ดี
ผูใชงาน 4.23 0.43
3. ความถูกตองการสํารองขอมูล 4.23 0.43 ดี
4. ความถูกตองในการจัดทําทะเบียนรับ-สงเอกสาร 4.60 0.50 ดี
5. ความถูกตองในการคนหาเอกสาร 4.07 0.25 ดี
6. ความถูกตองในการแสดงเ อกสาร 4.07 0.25 ดี
7. ความถูกตองในการตอบรับ/แสดงเอกสาร 4.00 0.00 ดี
8. ความถูกตองในการกําหนดผูรับเอกสาร 4.10 0.40 ดี
9. ความถูกตองในการแสดงขอมูลขาว 4.70 0.47 ดี
10. ความถูกตองในการทํางานของ Web Board 4.57 0.57 ดี
11. ความถูกตองในการทํางานของระบบในภาพรวม 4.63 0.49 ดี
12. ความถูกตองในการสรางขอมควมแนบกับเอกสาร
ดี
ไปยังบุคคลที่เกี่ยวของ 4.33 0.55
13. ความถูกตองในภาพรวมของระบบ 4.17 0.46 ดี
14. ความถูกตองของออกรายงานสรุปประจําวัน/
สัปดาห/เดือน/ป ได 4.23 0.43 ดี
สรุปดานหนาที่ของระบบ 4.32 0.49 ดี

จากตารางที่ 4-6 เมื่อพิจารณาการประเมินความพึงพอใจของระบบจากการประเมินของ


ผูใชงานทั่วไปในดานหนาทีข่ องระบบไดคาเฉลี่ยเทากับ 4.32 และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ
0.49 ซึ่งแสดงถึงการยอมรับความพึงพอใจการใชงานอยูใ นระดับดี
53

4.3.3 ดานการใชงานของระบบ (Usability Test) ดังตาราง ที่ 4-7


ตารางที่ 4-7 ผลการประเมินความพึงพอใจระบบของผูใชงานทั่วไป ดานการใชงานของระบบ
ระดับ
รายการประเมิน SD
X
ความพึงพอใจ
1. ความงายในการใชงาน 4.17 0.38 ดี
2. ความถูกตองของผลลัพธ 4.70 0.47 ดี
3. ความชัดเจนของขอความที่แสดงบนจอภาพ 4.57 0.50 ดี
4. ความเหมาะสมของการใชสีของตัวอักษร พื้นหลัง และ ดี
รูปภาพประกอบ 4.40 0.50
5. ความเหมาะสมของตําแหนงการจัดวางสวนตาง ๆ บน
ดี
จอภาพ 4.47 0.51
6. ความเหมาะสมของปริมาณขอมูลที่นําเสนอในแตละ
ดี
หนาจอ 4.33 0.48
7. ความเหมาะสมของตําแหนงชองกรอกขอมูล 4.67 0.48 ดี
8. ความเหมาะสมของระบบในภาพรวม 4.50 0.51 ดี
สรุปดานการใชงานของระบบ 4.48 0.50 ดี

จากตารางที่ 4-7 เมื่อพิจารณาการประเมินความพึงพอใจของระบบจากการประเมินของ


ผูใชงานทั่วไปในดานการใชงานของระบบไดคาเฉลี่ยเทากับ 4.48 และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
เทากับ 0.50 ซึ่งแสดงถึงการยอมรับความพึงพอใจการใชงานอยูในระดับดี
4.3.4 ดานความปลอดภัย (Security Test) ดังตารางที่ 4-8
ตารางที่ 4-8 ผลการประเมินความพึงพอใจระบบของผูใชงานทั่วไป ดานความปลอดภัย
ระดับ
รายการประเมิน SD
X
ความพึงพอใจ
1. ความเหมาะสมของการกําหนดรหัสผานของผูใช 4.13 0.35 ดี
2. ความเหมาะสมของการกําหนดรหัสผานของผูดูแล
ดี
ระบบ 4.37 0.61
3. ความเหมาะสมของการเขาถึงขอมูลสวนตัวของผูใช 4.43 0.50 ดี
สรุปดานความปลอดภัย 4.31 0.51 ดี
54

จากตารางที่ 4-8 เมื่อพิจารณาการประเมินความพึงพอใจของระบบจากการประเมินของ


ผูใชงานทั่วไปในดานดานความปลอดภัย ไดคาเฉลี่ยเทากับ 4.31 และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
เทากับ 0.51 ซึ่งแสดงถึงการยอมรับความพึงพอใจการใชงานอยูในระดับดี
4.4 สรุปผลการประเมินหาความพึงพอใจของระบบ
4.4.1 สรุปผลการประเมินหาความพึงพอใจระบบโดยผูเชี่ยวชาญ
เมื่ อ ได นํ า ระบบที่ ไ ด พั ฒ นานี้ ไ ปทดสอบเพื่ อ ประเมิ น ความพึ ง พอใจของระบบสามารถ
สรุปผลการประเมินแตละดานได ดังตารางที่ 4-9
ตารางที่ 4-9 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจระบบในทุก ๆ ดานโดยผูเชี่ยวชาญ
ระดับ
รายการประเมิน SD
X
ความพึงพอใจ
1. การประเมินดานความสามารถทํางานตามความตองการ
ดี
ผูใช (Functional Requirement Test) 4.26 0.56
2. การประเมินดานหนาที่ของระบบ (Functional Test) 4.00 0.48 ดี
3. การประเมินดานการใชงานของระบบ (Usability Test) 4.18 0.50 ดี
4. การประเมินดานความปลอดภัย (Security Test) 4.10 0.45 ดี
ผลสรุปการประเมินความพึงพอใจของระบบ 4.12 0.51 ดี

จากตารางที่ 4-9 สรุปการประเมินความพึงพอใจของระบบโดยผูเชี่ยวชาญ สามารถสรุปได


โดยการนําคาที่ไดมาจากการประเมินความพึงพอใจของระบบในทุก ๆ ดานมาคํานวณรวมกันดวย
วิธีการทางสถิติ เพื่อหาคาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานคาเฉลี่ยเทากับ 4.12 และคาสวน
เบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.51 ซึ่งผลที่ไดสามารถสรุปไดวาการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อ
จัดการงานสารบรรณอยูในระดับดี
4.4.2 สรุปผลการประเมินหาความพึงพอใจระบบในทุก ๆ ดานโดยผูใชงานทั่วไป
เมื่ อ ได นํ า ระบบที่ ไ ด พั ฒ นานี้ ไ ปทดสอบเพื่ อ ประเมิ น ความพึ ง พอใจของระบบสามารถ
สรุปผลการประเมินแตละดานได ดังตารางที่ 4-10
55

ตารางที่ 4-10 การเปรียบเทียบและผลสรุปการประเมินความพึงพอใจระบบในทุก ๆ ดาน โดย


ผูใชงาน
ระดับ
รายการประเมิน SD
X
ความพึงพอใจ
1. การประเมินดานความสามารถทํางานตามความตองการ
ดี
ผูใช (Functional Requirement Test) 4.21 0.50
2. การประเมินดานหนาที่ของระบบ (Functional Test) 4.32 0.49 ดี
3. การประเมินดานการใชงานของระบบ (Usability Test) 4.48 0.50 ดี
4. การประเมินดานความปลอดภัย (Security Test) 4.31 0.51 ดี
ผลสรุปการประเมินความพึงพอใจของระบบ 4.32 0.50 ดี

จากตารางที่ 4-10 สรุปการประเมินความพึงพอใจของระบบ โดยผูใชในทุก ๆ ดาน สามารถ


สรุปไดโดยการนําคาที่ไดมาจากการประเมินความพึงพอใจของระบบในทุก ๆ ดานมาคํานวณ
รวมกันดวยวิธกี ารทางสถิติ เพื่อหาคาเฉลี่ยและคาสวนเบีย่ งเบนมาตรฐานคาเฉลี่ยเทากับ 4.32 และ
คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.50 ซึ่งผลที่ไดสามารถสรุปไดวาการพัฒนาระบบสารสนเทศ
เพื่อจัดการงานสารบรรณอยูในระดับดี
บทที่ 5
สรุปผลและขอเสนอแนะ

การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อจัดการงานสารบรรณ มุงเนนการพัฒนาระบบงานโดยนํา
เทคโนโลยีที่ทันสมัยและทฤษฎีตางๆ ที่เกี่ยวของหลายอยาง เชน เทคโนโลยี ASP.NET และการ
ติดตอฐานขอมูลดวย ADO.NET , เทคโนโลยีฐานขอมูล SQL Server และ เทคโนโลยีเครือขาย
อินเทอรเน็ต เขามาเพื่อประยุกตใชงานรวมกัน เพื่อชวยใหการพัฒนาระบบสามารถดําเนินไปได
อยางลงตัว และทําใหเพิ่มประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นในดานการจัดเก็บขอมูลและคนหาขอมูล ระบบ
ยังสามารถใหผูใชหลายคนใชงานระบบไดพรอมในเวลาเดียวกันหรือตางเวลากันจากสถานที่ตาง ๆ
กัน โดยจําเปนที่จะตองมีเครื่องคอมพิวเตอรที่เชื่อมตอกับอินเทอรเน็ต ซึ่งสามารถที่จะสรุปผลการ
จัดทําสารนิพนธ ไดดังนี้
5.1 สรุปและอภิปรายผล
5.1.1 สรุปผลของผูเชี่ยวชาญ
ผลการประเมินความพึงพอใจเห็นของผูเชี่ยวชาญเกี่ยวกับระบบสารสนเทศเพื่อจัดการงาน
สารบรรณโดยผูเชี่ยวชาญ จํานวน 5 คน คาเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจของระบบ เทากับ 4.12 ซึ่ง
สามารถแปลความไดวาอยูในเกณฑที่ดี แสดงวาระบบที่พัฒนาขึ้นมามีคุณภาพดี
5.1.2 สรุปผลของผูใชงานทั่วไป
ผลการประเมินความพึงพอใจของผูใชงานทั่วไปเกี่ยวกับระบบสารสนเทศเพื่อจัดการงาน
สารบรรณโดยผูใชงานทั่วไป จํานวน 30 คน คาเฉลี่ยของระดับพึงพอใจของระบบ เทากับ 4.32 ซึ่ง
สามารถแปลความไดวาอยูใ นเกณฑที่ดี แสดงวาระบบที่พัฒนาขึ้นมามีคุณภาพดี
5.1.3 ดานความสามารถในการทํางานตามความตองการของผูใช และเมื่อพิจารณาความพึง
พอใจของโปรแกรมดานความสามารถทํางานตามความตองการของผูใช ความเหมาะสมของการ
ตรวจสอบสิทธิ์ ความเหมาะสมของการเพิ่มขอมูลผูใชงาน ความเหมาะสมของการสํารองขอมูล
ความเหมาะสมในการจัดทําทะเบียนรับ-สงเอกสาร ความเหมาะสมของการสืบคนเอกสาร ความ
เหมาะสมของการแสดงเอกสาร ความเหมาะสมในการตรวจสอบการเปดเอกสาร ความเหมาะสม
ในการการตอบรับ/แสดงเอกสาร ความเหมาะสมของระบบในภาพรวม ความเหมาะสมของ
รายงาน ความเหมาะสมของระบบในภาพรวมยอมรับความพึงพอใจการใชงานอยูในระดับดี
5.1.4 ดานหนาที่ของโปรแกรม เมื่อพิจารณาการประเมินความพึงพอใจของโปรแกรมดาน
หนาที่ของโปรแกรม เชน ความถูกตองในการตรวจสอบสิทธิ์ ความถูกตองในการเพิ่ม แกไขและ
58

ลบ ขอมูลผูใชงาน ความถูกตองการสํารองขอมูล ความถูกตองในการจัดทําทะเบียนรับ-สงเอกสาร


ความถูกตองในการคนหาเอกสาร ความถูกตองในการแสดงเอกสาร ความถูกตองในการตอบรับ/
แสดงเอกสาร ความถูกตองในการกําหนดผูรับเอกสาร ความถูกตองในการแสดงขอมูลขาว ความ
ถูกตองในการทํางานของ Web Board ความถูกตองในการทํางานของระบบในภาพรวม ความ
ถูกตองในการสรางขอคาวมแนบกับเอกสารไปยังบุคคลที่เกี่ยวของ ความถูกตองในภาพรวมของ
ระบบ ความถู กต องของออกรายงานสรุป ประจําวัน /สั ปดาห /เดื อน/ป ได ในภาพรวมยอมรับ
ประสิทธิภาพการใชงานอยูในระดับดี
5.1.5 ดานการใชงานของโปรแกรม เมื่อพิจารณาการประเมินประสิทธิภาพของโปรแกรม
ดานการใชงานของโปรแกรม เชน ความงายในการใชงาน ความถูกตองของผลลัพธ ความชัดเจน
ของขอความที่แสดงบนจอภาพ การใชสีของตัวอักษร พื้นหลัง รูปภาพประกอบ ตําแหนงการจัดวาง
สวนตาง ๆ บนจอภาพ และปริมาณขอมูลที่นําเสนอในแตละหนาจอ ยอมรับประสิทธิภาพการใช
งานอยูในระดับดี
5.1.6 ดานความปลอดภัย เมื่อพิจารณาการประเมินประสิทธิภาพของโปรแกรมดานความ
ปลอดภัย เชน การกําหนดชื่อผูใชและรหัสผาน การกําหนดสิทธิ์ผูใชงานออกเปนระดับตาง ๆ
การเข า ถึ ง ข อ มู ล ส ว นตั ว ของผู ใ ช ความเหมาะสมของระบบรั ก ษาความปลอดภั ย ยอมรั บ
ประสิทธิภาพการใชงานอยูในระดับดี
จากผลของการประเมินประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศเพื่อจัดการงานสารบรรณ โดย
ผูเชี่ยวชาญและผูใชงานทั่วไป จะเห็นไดวาระบบสารสนเทศเพื่อจัดการงานสารบรรณ สามารถที่จะ
ใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งระบบโดยรวมสามารถตอบสนองความตองการผูใชและผูดูแล
ระบบ เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ จึงทําใหผลของการประเมินประสิทธิภาพอยูในระดับดี
5.2 ปญหาและอุปสรรค
5.2.1 ชื่อหนวยงานที่สงหนังสือเขามาที่คณะมีเปนจํานวนมาก ทําใหไมสามารถจัดทําปน
Dropdown list ได ทําใหการกรอกขอมูลทําไดชา ไมสดวก และทําใหเกิดขอมูลที่ซ้ําและไมถูกตอง
โดยอาจเกิจจากการกรอกขอมูลผิดกัน เมื่อคนหาหรือจัดกลุมขอมูลทําใหจัดกลุมขอมูลไดไมถูกตอง
เนื่องจากภาษาไทยมีลําดับเขามาเกี่ยวของ
5.2.2 ระบบนี้มีการใชฐานขอมูล Microsoft SQL Server 2000 โปรแกรมติดตอกับฐานขอมูล
โดยใช UserID และ Password ในการเขาถึงฐานขอมูล SQL Server ไดมีการถูกกําหนดไวใน
Source code ของโปรแกรม ดังนั้นเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง UserID และ Password ในการเขาถึง
ฐานขอมูล SQL Server จําเปนตองมีการเขาไปแกไข Source Code ที่มีการกําหนด UserID และ
Password
59

5.2.3 การเชื่อมตอฐานขอมูลโดยผาน ADO.NET เปนรูปแบบของ Microsoft เทานั้นถามีการ


เปลี่ยนแปลงฐานขอมูล ทําใหตองมีการแกไขโปรแกรมในสวนของการติดตอฐานขอมูลใหม
5.3 ขอเสนอแนะ
5.3.1 ควรเลือกใชเว็บเซิรฟเวอรที่สนับสนุน SSL (Secure Socket Layer) เขามาชวยในการ
จัดการเรื่องความปลอดภัยในการตรวจสอบการยืนยันการเขาใชงานระบบ
5.3.2 ควรพัฒ นาระบบสารสนเทศเพื่อ จัด การงานสารบรรณ ใหสามารถใชขอมูลที่มีการ
เขารหัสขอมูล เชน การใช Digital Signature หรือ การใช Water mark เพื่อพิสูจนวาเปนเอกสารที่สงจาก
เจาหนาที่ธุรการ
บรรณานุกรม

ภาษาไทย
กิตติ ภักดีวัฒนะกุล และไชยรัตน ปานปน . ASP ฉบับฐานขอมูล. กรุงเทพฯ : บริษัท เคทีพี คอมพ
แอนด คอนซัลท จํากัด, 2543.
กิตติ ภักดีวัฒนะกุล และเพียงเดือน ครูอตุ สาหะ. Access 2000 ฉบับโปรแกรมเมอร. กรุงเทพฯ :
บริษัท เคทีพี คอมพ แอนด คอนซัลท จํากัด, 2543.
จามรกุล เหลาเกียรติกุล. ระบบจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส. สารนิพนธ
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ, 2545.
จิตติมา เทียมบุญประเสริฐ. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ. พิมพครั้งที่2. กรุงเทพฯ :
คณะวิทยาศาสตรเทคโนโลยี สถาบันราชภัฏสวนดุสิต, 2544.
ทวีชัย หงษสุมาลย และสงวนชัย สุวรรณชีวะศิร.ิ อินไซต ASP และ ASP.NET ฉบับ
สมบูรณ. กรุงเทพฯ : โปรวิชั่น, 2545.
ธวัชชัย สุรยิ ะทองธรรม, ธาริน สิทธิธรรมชารี และประชา พฤกษประเสริฐ. สรางเว็บเพจอยางไร
ขีดจํากัด ASP Active Server Page. กรุงเทพฯ : เอช เอ็น กร็ป จํากัด, 2544.
นุชรัตน นุชประยูร. ระบบการจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกสสําหรับองคกรรัฐ. สารนิพนธ วิทยา
ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ, 2545.
ฝายวิชาการสํานักพิมพพัฒนาศึกษา. ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวย งานสารบรรณ พ.ศ.
2526. กรุงเทพฯ : บริษัท วิสิทธิ์พัฒนา จํากัด, 2539.
พิรนุช สุขปญญา และศาวินี พิชยไพศาล. คูมือผูควบคุมระบบ Microsoft Windows 2000.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ DSL กรุงเทพ, 2543.
ภัทรวุธ ภิรมยรัตน และมงคล งามนัก. ระบบติดตามเอกสารผานอินเทอรเน็ต. ปริญญานิพนธ
อุตสาหกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ, 2545.
มณีโชติ สมานไทย. คูมือการออกแบบฐานขอมูลและภาษา SQL. กรุงเทพฯ :
ดานสุทธาการพิมพ จํากัด, 2546.
ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ. สถิติวิทยาทางการวิจัย. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ :
62

สํานักพิมพสุวรี ิยาสาสน, 2540.


สมจิตร อาจอินทร และงามนิจ อาจอินทร. ระบบฐานขอมูล. พิมพครั้งที่ 7. ขอนแกน :
ศูนยหนังสือมหาวิทยาลัยขอนแกน, 2546.
สุทธา ศรีวิริยาจารย. Microsoft Windows 2000 Server ภาคปฎิบัติสําหรับผูดูแลเน็ต
เวิรก. กรุงเทพฯ : เอช เอ็น กร็ป จํากัด, 2543.
สัจจะ จรัสรุงรวีวร และสมพร จิวรสกุล. คูมือการติดตั้งและใชงาน Microsoft SQL Server
2000ฉบับสมบูรณ. กรุงเทพฯ: อินโฟเพรส, 2545.
สัลยุทธ สวางวรรณ. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ. กรุงเทพฯ : เอช.เอ็น.กรุป จํากัด,
2546.
ภาคผนวก ก

- รายนามผูเชี่ยวชาญและผูใช
- แบบประเมินประสิทธิภาพระบบ
64

รายนามผูเชี่ยวชาญ
ผูเชี่ยวชาญที่ไดทดสอบ จํานวน 5 ทาน มีรายนามดังตอไปนี้
1. อาจารยศิฬาณี นุชิตประสิทธิ์ชัย
อาจารย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ
2. นายทองพูล หีบไทสง
นักวิชาการคอมพิวเตอร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ
3. นายจีระศักดิ์ นําประดิษฐ
นักวิชาการคอมพิวเตอร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ
4. นายอรรฆรัตน บุญยะผลานันท
นักวิชาการคอมพิวเตอร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ
5. นางสาวมธุรส ไพบูรณวรชาติ
นักวิชาการคอมพิวเตอร 5 สํานักงานการตรวจเงินแผนดิน

รายนามผูใช
ผูใชที่ไดทดสอบ จํานวน 30 ทาน มีรายนามดังตอไปนี้
1. นายพชรพันธ สําเภาเงิน
พนักงานปฏิบัติการ 6 ฝายปฏิบัติการและเครือขายสารสนเทศ ธ.ออมสิน
2. นายมนัส มณีโชติ
พนักงานปฏิบัติการ 5 ฝายปฏิบัติการและเครือขายสารสนเทศ ธ.ออมสิน
3. นายพลกฤต ไชยยารัตน
พนักงานปฏิบัติการ 6 ฝายปฏิบัติการและเครือขายสารสนเทศ ธ.ออมสิน
4. นายกิตติพงษ บูรณกูล
ผูชวยผูอํานวยการฝายปฏิบัติการและเครือขายสารสนเทศ ธ.ออมสิน
5. นางสาววันเพ็ญ หุนสําราญ
พนักงานปฏิบัติการ 7 ฝายปฏิบัติการและเครือขายสารสนเทศ ธ.ออมสิน
6. นายสุขสันต สิทธิหาญ
พนักงานปฏิบัติการ 5 ฝายปฏิบัติการและเครือขายสารสนเทศ ธ.ออมสิน
7. นายทศม วงศชวย
พนักงานปฏิบัติการ 5 ฝายปฏิบัติการและเครือขายสารสนเทศ ธ.ออมสิน
65

รายนามผูใช(ตอ)
8. นายรักษ วิสุทธิวงค
พนักงานปฏิบัติการ 5 ฝายปฏิบัติการและเครือขายสารสนเทศ ธ.ออมสิน
9. นางสาวยุวดี อุไรวงษ
พนักงานปฏิบัติการ 6 ฝายปฏิบัติการและเครือขายสารสนเทศ ธ.ออมสิน
10. นางสาวกรรณิกา นันทนาเนตร
ผูชวยผูอํานวยการฝายปฏิบัติการและเครือขายสารสนเทศ ธ.ออมสิน
11. นางสาวฉวีวรรณ ชินพงศษา
ผูชวยผูอํานวยการฝายปฏิบัติการและเครือขายสารสนเทศ ธ.ออมสิน
12. นางรัตนา ทองงอม
พนักงานปฏิบัติการ 7 ฝายปฏิบัติการและเครือขายสารสนเทศ ธ.ออมสิน
13. นายพงศธร ฐานมั่นคง
โปรแกรมเมอร บริษัทยิบอินซอย จํากัด
14. นางสาวจิรายุ บุญชัยศรี
นักวิเคราะหระบบ บริษัทยิบอินซอย จํากัด
15. นายอาทร เรี่ยวแรง
นักวิเคราะหระบบ อาวุโส บริษัทยิบอินซอย จํากัด
16. นางวัลลพ กฤษณแกว
นักวิเคราะหระบบ อาวุโส บริษัทยิบอินซอย จํากัด
17. นางจํารัส ฤทธิ์นาค
วิศวกรระบบ บริษัทยิบอินซอย จํากัด
18. นางสาวสุปราณี ออนละมุล
โปรแกรมเมอร อาวุโส บริษัทยับอินซอย จํากัด
19. นางสาวโสฬส เทียมไทสง
โปรแกรมเมอร อาวุโส บริษัทแอดวาสอิโฟเชอรวิส จํากัด มหาชน
20. นายสุกิจ ชัยสิทธิ์เมฆินทร
เจาหนาที่บันทึกขอมูล สํานักงานการตรวจเงินแผนดิน
21. นางสาวชูศรี เดชใด
โปรแกรมเมอร อาวุโส บริษัทยับอินซอย จํากัด
66

รายนามผูใช(ตอ)
22. นายศุภกิจ จิตศิริสายชล
วิศวกรระบบอาวุโส บริษัทโลคัสจํากัด
23. นายเฉลิมรัตน สมนันท
เจาหนาที่คอมพิวเตอรบริษัททีโอที จํากัด มหาชน
24. นายธุวพล พัฒนาสิทธิเสร
โปรแกรมเมอร อาวุโส บริษัทเซตเทเล็ม
25. นางสาวเฉลียว สุทธิวารินทร
เจาหนาที่บันทึกขอมูล
26. นางสาววยุพิน สุภาวษิต
นักวิเคาะหระบบ บริษัท SUMMITTHAI CO.,LTD.
27. นางศศิธร โสภณพาณิย
รับจาง
28. นางสาวจิราภา ศิริพาบรรณ
รับจาง
29. นายพิสิฐ ยืนบุญ
รับจาง
30. นายสุรศักดิ์ แกวมนตรี
รับจาง
67

แบบประเมินสารนิพนธ
การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อจัดการงานสารบรรณ
Information System Management for Archives System

นายพิรฬุ ห เดชะเทศ รหัสประจําตัว 46-7028-123-9


สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

คําชี้แจง
1. แบบประเมินสารนิพนธชุดนี้ เปนแบบสอบถามเพื่อใหความคิดเห็นเกี่ยวกับการใชงาน
ระบบงานสารบัญ ระบบงานสารบัญถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่ออํานวยความสะดวกในการรับ-สง เอกสาร
ของคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อประเมินประสิทธิภาพของระบบที่ใชในการ
ปฏิบัติงานจริง
2. การแสดงความคิดเห็นของผูประเมินเกี่ยวกับประสิทธิภาพของระบบ ซึ่งประกอบดวย
สวนของคําถามที่อยูดานซายมือ และมาตราสวนประมาณคาที่อยูดานขวามือจํานวน 5 ชอง โปรด
กาเครื่ อ งหมาย 9 ลงในช อ งทางด า นขวามื อ ที่ ต รงกั บ ความคิ ด เห็ น ของท า น โดยกํ า หนดค า
ความหมายดังนี้
5 หมายถึงระบบที่พัฒนามีประสิทธิภาพมากที่สุด
4 หมายถึงระบบที่พัฒนามีประสิทธิภาพมาก
3 หมายถึงระบบที่พัฒนามีประสิทธิภาพปานกลาง
2 หมายถึงระบบที่พัฒนามีประสิทธิภาพนอย
1 หมายถึงระบบที่พัฒนามีประสิทธิภาพนอยที่สุด
ตารางที่ ก-1 ตัวอยางการประเมิน
ระดับความคิดเห็น
รายการประเมิน มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด
5 4 3 2 1
1. ความถูกตองในการแสดง
9
รายละเอียดขอมูล
3. แบบประเมินนี้มีทั้งหมด 4 หนา
68

ขอมูลสวนตัวของผูประเมิน
1. ชื่อ-นามสกุล ....................................................................................................................

2. ตําแหนง .............................................................................................................

3. คุณวุฒิ † ปริญญาตรี † ปริญญาโท † ปริญญาเอก

ตารางที่ ก-2 การประเมินดาน Function Requirement Test


ระดับประสิทธิภาพ
ปาน
รายการประเมิน มากที่สุด มาก นอย นอยที่สุด
กลาง
5 4 3 2 1
1. ความเหมาะสมของการตรวจสอบสิทธิ์
2. ความเหมาะสมของการเพิ่มขอมูลผูใชงาน
3. ความเหมาะสมของการสํารองขอมูล
4. ความเหมาะสมในการจัดทําทะเบียนรับ-สง
เอกสาร
5. ความเหมาะสมของการสืบคนเอกสาร
6. ความเหมาะสมของการแสดงเอกสาร
7. ความเหมาะสมในการตรวจสอบการเปด
เอกสาร
8. ความเหมาะสมในการการตอบรับ/แสดง
เอกสาร
9. ความเหมาะสมของระบบในภาพรวม
10. ความเหมาะสมของรายงาน
69

ตารางที่ ก-3 การประเมินดาน Function Test


ระดับความคิดเห็น
รายการประเมิน มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด
5 4 3 2 1
1. ความถูกตองในการตรวจสอบสิทธิ์
2. ความถูกตองในการเพิ่ม แกไขและลบ
ขอมูลผูใชงาน
3. ความถูกตองการสํารองขอมูล
4. ความถูกตองในการจัดทําทะเบียนรับ-สง
เอกสาร
5. ความถูกตองในการคนหาเอกสาร
6. ความถูกตองในการแสดงเ อกสาร
7. ความถูกตองในการตอบรับ/แสดงเอกสาร
8. ความถูกตองในการกําหนดผูรับเอกสาร
9. ความถูกตองในการแสดงขอมูลขาว
10. ความถูกตองในการทํางานของ Web
Board
11. ความถูกตองในการทํางานของระบบใน
ภาพรวม
12. ความถูกตองในการสรางขอมควมแนบกับ
เอกสารไปยังบุคคลที่เกี่ยวของ
13. ความถูกตองในภาพรวมของระบบ
14. ความถูกตองของออกรายงานสรุป
ประจําวัน/สัปดาห/เดือน/ป ได
70

ตารางที่ ก-4 การประเมินดาน Usability Test


ระดับความคิดเห็น
รายการประเมิน มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด
5 4 3 2 1
1. ความงายในการใชงาน
2. ความถูกตองสมบูรณของผลลัพธ
3. ความชัดเจนของขอความที่แสดงบนจอภาพ
4. การใชสีของตัวอักษร พื้นหลัง และรูปภาพ
ประกอบ
5. การจัดวางตําแหนงสวนตาง ๆ บนจอภาพ
6. ปริมาณขอมูลที่นําเสนอในแตละหนาจอ
7. ความเหมาะสมของตําแหนงชองกรอก
ขอมูล
8. การใชถอยคําบนจอภาพสามารถสื่อสาร
เขาใจงาย
9. ความเหมาะสมของคําแนะนําการใชระบบ
10. ความเหมาะสมของโปรแกรมในภาพรวม

ตารางที่ ก-5 การประเมินดานความปลอดภัย (Security Test)


ระดับความคิดเห็น
ปาน
รายการประเมิน มากที่สุด มาก นอย นอยที่สุด
กลาง
5 4 3 2 1
1. การกําหนดชื่อผูใชและรหัสผาน
2. การกําหนดสิทธิ์ผูใชงานออกเปนระดับตาง

3. การเขาถึงขอมูลสวนตัวของผูใช
4. ความเหมาะสมของระบบรักษาความ
ปลอดภัย
71

ความคิดเห็นและขอเสนอแนะ
...............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.....................................................................................................
ขอขอบคุณที่กรุณาสละเวลาในการประเมินระบบครั้งนี้
ภาคผนวก ข

คูมือการใชงาน
ระบบสารสนเทศเพื่อจัดการงานสารบรรณ
74

คูมือการใชงานระบบสารสนเทศเพื่อจัดการงานสารบรรณ
คูมือการใชงานแบงเปน 3 สวน
1. การใชงานระบบในสวนผูด แู ลระบบ
2. การใชงานระบบในสวนของเจาหนาที่
3. การใชงานระบบในสวนของผูใชงาน

1. การใชงานระบบในสวนของผูด ูแลระบบ
1.1 การใชงานระบบของจะใชงานผานทางโปรแกรมผานอินเทอรเน็ตเอ็กโปรเลอร (ควร
เปนเวอรชั่น 6 ขึ้นไป) เมือ่ เปดอินเทอรเน็ตเอ็กโปรเลอรแลวใหพิมพ URL ที่ชอง Address
http://www.archives-system.com หนาแรกผูใช ตองใสอีเมลแอดเดรสและรหัสผาน ระบบจะทํา
การตรวจสอบอีเมลแอดเดรสและรหัสผานวาเปนผูใชประเภทใด ดังภาพที่ ข-1

ภาพที่ ข-1 หนาจอแรกของระบบ


75

สําหรับผูดูแลระบบ เมื่อทําการ ใส อีเมลแอดเดรส และรหัสผานถูกตอง จะแสดงเมนู หนา


หลัก เพิ่มผูใชงาน แกไขผูใชงาน สํารองขอมูล แกไขขอมูลสวนตัว ออกจากระบบ ดังภาพที่ ข-2

ภาพที่ ข-2 หนาจอแรกสําหรับผูดูแลระบบ

1.2 การเพิ่มผูใชงาน เลือก “เพิ่มผูใชงาน” กรอก ขอมูลของผูใชงาน เชน อีเมลแอดเดรส


รหัสผาน ชื่อ นามสกุลผูใชงาน และกําหนดสิทธิ์การใชงาน ดังภาพที่ ข-3

ภาพที่ ข-3 หนาจอเพิ่มผูใชงาน


76

1.3 การแกไขขอมูลผูใชงาน เลือก “แกไขผูใชงาน” เลือกผูใชงานที่ตองการแกไข จาก


Popup สามารถแกไข รหัสผาน ชื่อ นามสกุล ผูใชงานและเปลี่ยนสิทธิ์ ภาพที่ ข-4

ภาพที่ ข-4 หนาจอแกไขขอมูลผูใช

กดปุมคนหา หนาจอ Pop Up ผูใชงานจะแสดงออกมา เลือกผูใชงานที่ตองการแกไข


ดังภาพที่ ข-5

ภาพที่ ข-5 หนาจอ Pop Up ผูใชงาน


77

1.4 การสํารองขอมูล เลือก “สํารองขอมูล” ดังภาพที่ ข-6

ภาพที่ ข-6 หนาจอสํารองขอมูล

การสํารองขอมูลแบงออกเปน : เอกสารเขา, เอกสารออก ,รายชื่อผูใชงาน เมื่อเลือกสํารอง กด


ตกลง ระบบจะแสดงขอมูลที่ตองการสํารองเปนสองสวน คือ ขอมูลและโครงสราง ดังภาพที่ ข-7

ภาพที่ ข-7 หนาจอสํารองขอมูล


78

การสํารองขอมูล เลือกการสํารองขอมูล -> เอกสารเขา -> ขอมูล ดังภาพที่ ข-8

ภาพที่ ข-8 หนาจอสํารองขอมูลสวนของขอมูล

การสํารองโครงสรางขอมูล เลือกการสํารองขอมูล -> เอกสารเขา -> โครงสราง ดังภาพที่


ข-9

ภาพที่ ข-9 หนาจอสํารองขอมูลสวนของโครงสราง


79

1.5 การแกไขขอมูลสวนตัว เลือก “แกไขขอมูลสวนตัว” การแกไขขอมูลสวนตัว ระบบ


จะแสดงขอมูลสวนตัวของผูใชและสามารถแกไขขอมูลดังกลาวได ดังภาพที่ ข-10

ภาพที่ ข-10 หนาจอแสดงการแกไขขอมูลสวนตัว

2. การใชงานระบบในสวนของเจาหนาที่
2.1 เจาหนาที่ เมื่อเขาสูระบบงาน เมนูของเจาหนาที่ประกอบดวย หนาหลัก รับเอกสารเขา
แกไขเอกสารเขา สงเอกสารออก แกไขเอกสารสงออก เพิ่มขาว รายงาน กระดานถามตอบ เอกสาร
เขา เอกสารออก แกไขขอมูลสวนตัว ดังภาพที่ ข-11

ภาพที่ ข-11 หนาจอแรกสําหรับเจาหนาที่


80

2.2 การรับเอกสารเขา เลือก “รับเอกสารเขา” กรอกขอมูลเลขรับหนังสือ เลขเอกสาร วันที่


ของเอกสาร วันที่รับเอกสาร ผูสงเอกสาร ถึงผูรับเอกสาร เรื่อง ประเภทเอกสาร รายละเอียดแบบยอ
เมื่อกดบันทึกขอมูลเอกสารเขาจะแสดงขอความ “เพิ่มขอมูลเรียบรอยแลว” ดังภาพที่ ข-12

ภาพที่ ข-12 หนาจอ รับเอกสารเขา

เลือก “Upload เอกสาร” กรณีมีเอกสารแนบ ดังภาพที่ ข-13

ภาพที่ ข-13 หนาจอการ Upload เอกสาร


81

เลือก “กําหนดผูรับมอบดําเนินการ” ที่ตองการ กําหนดผูร ับมอบดําเนินการ ดังภาพที่ ข-14

ภาพที่ ข-14 หนาจอ กําหนดผูรับมอบดําเนินการ

เลือก “สงอีเมลแจงเตือน” กรณีที่ตองการสงอีเมลแจงเตือนไปยังผูรบั เจาหนาทีจ่ ะทราบผล


การสงอีเมล ดังภาพที่ ข-15

ภาพที่ ข-15 หนาจอผลการสงอีเมล


82

2.3 แกไขรับเอกสารเขา เลือก “แกไขรับเอกสารเขา” เมื่อตองการปรับปรุบขอมูลเอกสารเขา


เชน เพิ่มผูรับ เพิ่มหรือลบเอกสารแนบ โดยเลือก หมายเลขหนังสือ ดังภาพที่ ข-16

ภาพที่ ข-16 หนาจอ แกไขรับเอกสารเขา

เมื่อเลือก หมายเลขหนังสือ จะแสดขอมูลเอกสาร สามารถแกไขขอมูลได เมื่อแกไขเสร็จแลว


กดปรับปรุงขอมูล ดังภาพที่ ข-17

ภาพที่ ข-17 หนาจอการแกไขรับเอกสารเขา


83

2.4 สงเอกสารออก เลือก “สงเอกสารออก” กรอกขอมูล วันที่ของเอกสาร ผูสงเอกสาร ถึง


ผูรับเอกสาร เรื่อง ประเภทเอกสาร รายละเอียดแบบยอ เมื่อกดบันทึกขอมูลเอกสารเขาจะแสดง
ขอความ “เพิ่มขอมูลเรียบรอยแลว” เพื่อบันทึกการสงเอกสารออก ดังภาพที่ ข-18

ภาพที่ ข-18 หนาจอ สงเอกสารออก

เลือก “Upload เอกสาร” เมื่อมีเอกสารที่เปนเอกสารแนบ ดังภาพที่ ข-19

ภาพที่ ข-19 หนาจอการ Upload เอกสาร


84

2.5 แกไขเอกสารสงออก เลือก “แกไขเอกสารสงออก” เมื่อตองการปรับปรุบขอมูลของ


เอกสารสงออก โดยเลือกเลขที่สงหนังสือ ดังภาพที่ ข-20

ภาพที่ ข-20 หนาจอ แกไขเอกสารสงออก

เมื่อเลือก เลขที่สงหนังสือ จะแสดงขอมูลของเอกสาร สามารถแกไขขอมูลได เมื่อแกไขเสร็จ


แลว กดปรับปรุงขอมูล ดังภาพที่ ข-21

ภาพที่ ข-21 หนาจอการแกไข เอกสารสงออก


85

2.6 รายงาน เมื่อตองการดูรายงานเลือก “รายงาน” โดยแบงรายงานออกเปน 2 แบบ


2.6.1 รายงานการรับเอกสารเขา
2.6.2 รายงานการสงเอกสาร ดังภาพที่ ข-22

ภาพที่ ข-22 รายงาน

รายงานเอกสารเขา เลือก “รายงานการรับเอกสาร” กําหนดชวงเวลาทีต่ องการสรางรายงาน


โดยรายงานจะแสดงรายละเอียดแบงเปน 2 สวน รายงานสรุปและสวนรายละเอียด ดังภาพที่ ข-23

ภาพที่ ข-23 หนาจอเงื่อนไขรายงานสรุป


86

รายงานแบบสรุป เลือก “รายงานการรับเอกสารเขา” จะสรุปจํานวนเอกสารในแตละเดือน


ดังภาพที่ ข-24

ภาพที่ ข-24 หนาจอรายงานแบบสรุป

รายงานแบบรายละเอียด เลือก “รายงานการรับเอกสารเขา” จะแสดงรายงานแบบละเอียด


ดังภาพที่ ข-25

ภาพที่ ข-25 หนาจอรายงานแบบรายละเอียด


87

2.7 เพิ่มขาว เมื่อตองการเพิม่ ขาว เลือก “เพิ่มขาว” กรอกขอมูล กด “เพิ่ม” เพื่อเพิ่มขอมลขาว


ดังภาพที่ ข-26

ภาพที่ ข-26 หนาจอเพิ่มขาว

เมื่อตองการดูรายละเอียดขาว เลือก “ขาว” จะแสดงหนาจอรายละเอียดขาว ดังภาพที่ ข-27

ภาพที่ ข-27 หนาจอดูรายละเอียดขาว


88

การลบขาว เลือก “เพิ่มขาว” เลือก Delete เลือก Ok เพื่อยืนยันการลบ ดังภาพที่ ข-28

ภาพที่ ข-28 หนาจอ ลบขาว

2.8 เอกสารเขา เลือก “เอกสารเขา” เพื่อตรวจสอบการรับตอบรับเอกสาร ดังภาพที่ ข-29

ภาพที่ ข-29 หนาจอการตรวจสอบการตอบรับเอกสาร


89

2.9 เอกสารออก เลือก “เอกสารออก” เมื่อตองการตรวจสอบการเอกสารที่สงออก ดังภาพ


ที่ ข-30

ภาพที่ ข-30 หนาจอเอกสารออก

เลือกเอกสารที่ตองการเมื่อตองการตรวจรายละเอียดเอกสารออก ดังภาพที่ ข-31

ภาพที่ ข-31 หนาจอรายละเอียดเอกสารออก


90

2.10 เลือก “กระดานถาม-ตอบ” เพื่อตองการดูกระทู ดังภาพที่ ข-32

ภาพที่ ข-32 หนาจอดูกระทู

เลือก สรางกระทู เพื่อสรางกระทู ดังภาพที่ ข-33

ภาพที่ ข-33 หนาจอเพิ่มกระทู


91

การตอบกระดานถาม-ตอบ เลือก “กระดานถาม-ตอบ” ชื่อหัวขอ เมื่อตองการตอบกระทู ดัง


ภาพที่ ข-34

ภาพที่ ข-34 หนาจอตอบกระทู

2.10 แกไขขอมูลสวนตัว เลือก “แกไขขอมูลสวนตัว” ระบบจะแสดงขอมูลสวนตัวของผูใช


และสามารถแกไขขอมูลสวนตัวได ดังภาพที่ ข-35

ภาพที่ ข-35 หนาจอแกไขขอมูลสวนตัว


92

3. การใชงานระบบ สวนของผูใชงานทั่วไป
3.1 สําหรับผูใชงาน เมื่อเขาสูระบบ จะแสดงเมนู หนาหลัก เอกสารเขา เอกสารออก
กระดานถาม-ตอบ แกไขขอมูลสวนตัว ดัง ภาพที่ ข-36

ภาพที่ ข-36 หนาจอแรกสําหรับผูใชงาน

3.2 หนาจอคนหาเอกสารเขา ดัง ภาพที่ ข-37

ภาพที่ ข-37 หนาจอคนหาเอกสารเขา


93

3.3 เอกสารเขา เลือก “เอกสารเขา” เพื่อตรวจสอบเอกสารเขา โดยสามารถคนหาเอกสารจาก


เลขที่เอกสาร เรื่องเอกสาร ชวงเวลา ดังภาพที่ ข-38

ภาพที่ ข-38 หนาจอเอกสารเขา

3.4 หนาจอ เอกสารเขาที่ดูแลว ดังภาพที่ ข-39

ภาพที่ ข-39 หนาจอ เอกสารเขาที่ดูแลว


94

3.5 เลือก เอกสารที่ตองการ เพื่อแสดงรายละเอียดของเอกสารเขาและแสดงไฟลเอกสารที่


แนบ ดังภาพที่ ข-40

ภาพที่ ข-40 รายละเอียดของเอกสารเขาและแสดงไฟลเอกสารที่แนบ

3.6 เอกสารออก เลือก “เอกสารออก” เพื่อตรวจสอบเอกสารสงออก ดังภาพที่ ข-41

ภาพที่ ข-41 หนาจอเอกสารออก


95

3.7 หนาจอคนหาเอกสารออก ดัง ภาพที่ ข-42

ภาพที่ ข-42 หนาจอคนหาเอกสารออก

3.8 หนาจอ เอกสารออกที่ดแู ลว ดังภาพที่ ข-43

ภาพที่ ข-43 หนาจอ เอกสารออกที่ดูแลว


96

3.9 กระดานถาม-ตอบ เลือก “กระดานถาม-ตอบ” เลือกกระทูที่ตองการเพื่อแสดงกระทู ดัง


ภาพที่ ข-44

ภาพที่ ข-44 หนาจอดูกระทู

3.10 การสรางกระทู เลือก สรางกระทู เพื่อตองการสรางกระทู ดังภาพที่ ข-45

ภาพที่ ข-45 หนาจอสรางกระทู


97

3.11 หนาจอตอบกระทู ดังภาพที่ ข-46

ภาพที่ ข-46 หนาจอตอบกระทู

3.12 หนาจอเมื่อสรางกระทูเสร็จ ดังภาพที่ ข-47

ภาพที่ ข-47 หนาจอเมื่อสรางกระทูเสร็จ


98

3.13 แกไขขอมูลสวนตัว เลือก “แกไขขอมูลสวนตัว” เมื่อตองการแกไขขอมูลสวนตัว จะ


แสดงขอมูลสวนตัวของผูใช สามารถแกไขขอมูล ดังกลาวได ดังภาพที่ ข-48

ภาพที่ ข-48 หนาจอ แกไขขอมูลสวนตัว


99

ประวัติผูจัดทําสารนิพนธ

ชื่อ นายพิรฬุ ห เดชะเทศ


สารนิพนธ ระบบสารสนเทศเพื่อจัดการงานสารบรรณ
สาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ

ประวัติ
ประวัติสวนตัว เกิดเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2516 บานเลขที่ 44 หมู 1 ต.หาดทาเสา อ.เมือง
จังหวัดชัยนาท 17000
ประวัติการศึกษา สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร
คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง
ประวัติการทํางาน เริ่มตนถึงปจจุบัน ทํางานที่ธนาคารออมสินสํานักงานใหญ ในตําแหนง
พนักงานธนาคาร

You might also like