Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 32

แผนการจัดการเรียนรู้เคมีพื้นฐาน

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ภาคเรียนที่ 1

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5
อัตราการเกิด
ปฏิกิริยาเคมี
เวลา 8 ชั่วโมง

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเวลาเรียน 8 ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชาเคมีพื้นฐาน รหัสวิชา ว 30102
ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้เคมีพื้นฐาน ม.4 ภาคเรียนที่ 1 125

รายวิชาที่นำมาบูรณาการ
ภาษาไทย คณิตศาสตร์ และการงานอาชีพและเทคโนโลยี

1. มาตรฐานการเรียนรู้ประจำหน่วย
มาตรฐาน ว 3.2 และ ว 8.1

2. ตัวชี้วัดชั้นปี ที่เกี่ยวข้อง
ว 3.2 ม.4-6/2
ว 8.1 ม.4-6/3, 4, 5, 7, 8, 11, 12

3. สาระการเรียนรู้
3.1 ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
3.2 การหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
3.3 อธิบายการเกิดปฏิกิริยาและพลังงานของปฏิกิริยา
3.4 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
3.5 การควบคุมอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน

4. ร่องรอยการเรียนรู้
4.1 ผลงานหรือชิ้นงาน
1) รายงานการทดลองศึกษาพื้นที่ผิวสัมผัสที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
2) รายงานการทดลองศึกษาการเพิ่มอุณหภูมิที่มีผลอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
3) ผังมโนทัศน์สรุปอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
4.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
จับกลุ่ม 4 คน ศึกษาขั้นตอนการทดลอง อภิปรายร่วมกัน ปฏิบัติการทดลอง สังเกต บันทึกผล
วิเคราะห์ ตอบคำถามหลังการทดลอง เขียนรายงานการทดลองผลการศึกษาพื้นที่ผิวสัมผัสกับอุณหภูมิที่มีผล
ต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
4.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนจบหน่วยการเรียนรู้

5. แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในภาพรวม

แนวทางการจัดการเรียนรู้
ร่องรอยการเรียนรู้
บทบาทครู บทบาทนักเรียน
5.1 ผลงานหรือชิ้นงาน
1) รายงานการทดลองศึกษาพื้นที่ 1. นำอภิปรายอัตราการเกิด 1. ร่วมอภิปราย ให้ความสนใจ
ผิวสัมผัสที่มีผลต่ออัตราการเกิด ปฏิกิริยาเคมี การทดลองศึกษา ใฝ่ รู้ ซักถามข้อสงสัย
แผนการจัดการเรียนรู้เคมีพื้นฐาน ม.4 ภาคเรียนที่ 1 126

แนวทางการจัดการเรียนรู้
ร่องรอยการเรียนรู้
บทบาทครู บทบาทนักเรียน
ปฏิกิริยาเคมี ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิด 2. ทำความเข้าใจการเขียน
2) รายงานการทดลองศึกษาการ ปฏิกิริยาเคมี รายงานการทดลองรับทราบเกณฑ์
เพิ่มอุณหภูมิที่มีผลอัตราการเกิด 2. อภิปรายการเขียนรายงานการ การประเมินผลการเขียนรายงาน
ปฏิกิริยาเคมี ทดลองและเกณฑ์การประเมินผล 3. ทำความเข้าใจการสรุปองค์
3) ผังมโนทัศน์สรุปอัตราการ การทดลอง ความรู้ด้วยการเขียนผังมโนทัศน์
เกิดปฏิกิริยาเคมี 3. นำอภิปรายให้ดูตัวอย่างการ รับทราบเกณฑ์การประเมินผัง
สรุปองค์ความรู้ด้วยการเขียนผัง มโนทัศน์
มโนทัศน์และนำเสนอเกณฑ์การ
ประเมินผังมโนทัศน์
5.2 กระบวนการหรือขั้นตอน
การปฏิบัติงาน
- การศึกษาขั้นตอนการปฏิบัติ 4. เตรียมวัสดุอุปกรณ์การ 4. อภิปรายแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ
การทดลอง ปฏิบัติการทดลอง ทดลองชุดศึกษาพื้นที่ผิวสัมผัสที่มี ปฏิบัติการทดลอง เขียนรายงาน
เขียนรายงานการทดลอง สรุปองค์ ผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี การทดลอง นำเสนอผลการ
ความรู้ด้วยผังมโนทัศน์ ณ ห้อง และชุดศึกษาอุณหภูมิที่มีผลต่อ ทดลอง สรุปสร้างองค์ความรู้ด้วย
ปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ของ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี การเขียนผังมโนทัศน์
โรงเรียน 5. เตรียมแบบประเมินผลและ
ประเมินผลผู้เรียน
5.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ 6. นำอภิปรายด้วยคำถามสำคัญ 5. ร่วมอภิปรายตอบคำถาม
ทางการเรียน เกี่ยวกับความรู้ที่คงทน สำคัญ
7. กำกับการสอบประเมินผลการ 6. ทำแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์
คิดวิเคราะห์ ทางการเรียนประจำหน่วย

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 8 ชั่วโมง
1. เป้ าหมายการเรียนรู้
1.1 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
สำรวจตรวจสอบ อภิปรายและอธิบาย สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยา
เคมี การหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี การเกิดปฏิกิริยาเคมี และพลังงานของปฏิกิริยา ปัจจัยที่มีผลต่ออัตรา
การเกิดปฏิกิริยาเคมี ได้แก่ ความเข้มข้น พื้นที่ผิว อุณหภูมิ ตัวเร่งและตัวหน่วงในปฏิกิริยาเคมี การควบคุม
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเพื่อใช้ในชีวิตประจำวันและในอุตสาหกรรม
1.2 จุดประสงค์การเรียนรู้
1) อธิบายความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีได้
แผนการจัดการเรียนรู้เคมีพื้นฐาน ม.4 ภาคเรียนที่ 1 127

2) บอกเกณฑ์ที่ใช้สังเกตการเกิดปฏิกิริยาเคมีของสารได้
3) อธิบายถึงความเข้มข้น พื้นที่ผิว อุณหภูมิ และตัวเร่งปฏิกิริยามีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีได้
4) อธิบายวิธีควบคุมอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันและในอุตสาหกรรมได้
5) ทดลองเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีได้
6) อธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมีโดยใช้ทฤษฎีการชนกันของอนุภาคได้
7) คำนวณหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีของสารจากข้อมูลที่กำหนดให้ได้
8) เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานของสารกับการดำเนินไปของปฏิกิริยาจากข้อมูล
ที่กำหนดให้ได้
9) บอกประโยชน์ที่เกิดจากการควบคุมอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันได้

2. สาระสำคัญ
2.1 สาระการเรียนรู้
1) ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
2) การหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
3) อธิบายการเกิดปฏิกิริยาและพลังงานของปฏิกิริยา
4) ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5) การควบคุมอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
2.2 ทักษะกระบวนการ
1) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
2) ทักษะกระบวนการสร้างความรู้
3) ทักษะกระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา
4) ทักษะกระบวนการปฏิบัติ
5) ทักษะกระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง
2.3 ทักษะการคิด
1) ทักษะการคิดจำแนกรายละเอียด
2) ทักษะการคิดแบบใยแมงมุม (web)
3) ทักษะการคิดแบบเรียงลำดับเหตุการณ์
4) ทักษะการคิดแบบสร้างสรรค์
5) ทักษะการคิดแบบเชื่อมโยงความสัมพันธ์

3. ร่องรอยการเรียนรู้
3.1 ผลงานหรือชิ้นงาน
1) รายงานการทดลองศึกษาพื้นที่ผิวสัมผัสที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
2) รายงานการทดลองศึกษาการเพิ่มอุณหภูมิมีผลอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
3) ผังมโนทัศน์สรุปอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
แผนการจัดการเรียนรู้เคมีพื้นฐาน ม.4 ภาคเรียนที่ 1 128

นักเรียนจับกลุ่ม 4 คน อภิปรายขั้นตอนการทดลอง ทำการทดลอง บันทึกผลการทดลอง วิเคราะห์ผล


การทดลอง เขียนรายงานการทดลอง สรุปองค์ความรู้ด้วยการเขียนผังมโนทัศน์เรื่องพื้นที่ผิวสัมผัสที่มีผลต่อ
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี และอุณหภูมิมีผลอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี นำเสนอผลงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับ
เพื่อนต่างกลุ่ม
3.3 พฤติกรรมด้านคุณลักษณะพึงประสงค์
1) สนใจสำรวจตรวจสอบเกี่ยวกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
2) มีวินัยตั้งใจปฏิบัติกิจกรรมการทดลองด้วยความปลอดภัยได้ผลถูกต้องเสร็จในเวลาที่กำหนด
3) มีความซื่อสัตย์ไม่ลอกผลการทดลองและแบบฝึกหัดจากเพื่อน
4) มีจิตสาธารณะให้ความร่วมมือกับกลุ่มในการทำการทดลองเก็บล้างอุปกรณ์เข้าที่เดิมได้เรียบร้อย
3.4 ความรู้ความเข้าใจ
1) นักเรียนสามารถบอกความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีได้
2) นักเรียนสามารถบอกเกณฑ์ที่ใช้สังเกตการเกิดปฏิกิริยาเคมีของสารได้
3) นักเรียนสามารถอธิบายความเข้มข้น พื้นที่ผิว อุณหภูมิ และตัวเร่งปฏิกิริยา มีผลต่ออัตราการเกิด
ปฏิกิริยาเคมีได้
4) นักเรียนสามารถอธิบายวิธีควบคุมอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันและในอุตสาห-
กรรมได้
5) นักเรียนสามารถทดลองศึกษาปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีได้
6) นักเรียนสามารถอธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมีโดยใช้ทฤษฎีการชนกันของอนุภาคได้
7) นักเรียนสามารถคำนวณหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีของสารจากข้อมูลที่กำหนดให้ได้
8) นักเรียนสามารถเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานของสารกับการดำเนินไปของ
ปฏิกิริยาจากข้อมูลที่กำหนดให้ได้
9) นักเรียนสามารถบอกประโยชน์ที่ได้รับจากการควบคุมอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำ
วันได้

4. แนวทางการวัดผลประเมินผล
เกณฑ์ผ่านขั้นต่ำและ
วิธีการประเมิน เครื่องมือวัดผล
การสรุปผลการประเมิน
เกณฑ์ผ่านขั้นต่ำ
1. ด้านองค์ความรู้ 1.1 จากการตอบคำถามกิจกรรม - ได้ถูกต้องร้อยละ 75 ขึ้นไป
1.2 จากการตอบคำถามแบบ
ทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ประจำหน่วย
1.3 จากการตอบคำถามแบบ
ทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ท้ายแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
2. ด้านทักษะกระบวนการ 2.1 แบบประเมินพฤติกรรม -ได้คุณภาพระดับพอใช้ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้เคมีพื้นฐาน ม.4 ภาคเรียนที่ 1 129

เกณฑ์ผ่านขั้นต่ำและ
วิธีการประเมิน เครื่องมือวัดผล
การสรุปผลการประเมิน
ด้านทักษะปฏิบัติ ทุกรายการ
2.2 แบบประเมินการนำเสนอ
ผลงานกลุ่ม
2.3 แบบประเมินผลการเรียนรู้
ด้วยตนเอง
2.4 แบบประเมินการเขียน
รายงานการทดลอง
2.5 แบบประเมินการเขียนผัง
มโนทัศน์
3. ด้านคุณลักษณะหรือจิตวิทยา 3.1 แบบสังเกตพฤติกรรมการ - ได้คุณภาพระดับพอใช้ขึ้นไป
ศาสตร์ เรียนรู้
สรุปผลการประเมิน
ต้องผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำทั้ง 3
รายการ

5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ 26 คิดทบทวนความรู้ เดิมและคิดเปรียบเทียบ
5.1 ขั้นนำ
1. นักเรียนเขียนการเกิดปฏิกิริยาเคมีของสารที่พบในชีวิตประจำวันให้ได้มากที่สุดในเวลา 5 นาที
ตัวอย่างเช่น การเผาไหม้เชื้อเพลิง การเกิดสนิมของเหล็ก การบูดเน่าของอาหาร การทำขนมปัง การสันดาป
อาหารในร่ างกายของสิ่ งมีชีวิต การสุ กของผลไม้ และการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชสี เขียว
2. ครูสุ่มตัวแทนนักเรียนนำเสนอผลการทำกิจกรรม 3 คน จากนั้นนำอภิปรายปฏิกิริยาเคมีที่
นักเรียนนำเสนอ นักเรียนคิดเปรียบเทียบความแตกต่างของปฏิกิริยาต่างๆ จัดลำดับความเร็วในการเกิด
ปฏิกิริยา
3. ครูนำอภิปรายปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี พร้อมกับให้ดูรูปประกอบความเข้าใจ
5.2 ขั้นสอน
ชั่วโมงที่ กิจกรรมการเรียนการสอน ฝึ กการคิดแบบ
27-28 1. นักเรียนจับคู่เพื่อนคู่คิดสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับอัตรา ทักษะการคิดจำ แนกราย
การเกิดปฏิกิริยาเคมี การหาอัตราการเกิดปฏิกิริยา ล ะ เ อี ย ด
เคมี ศึกษาตัวอย่างการหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
2. นั ก เ รี ย น ส ลับ กั น อ ภิ ป ร า ย ค น ล ะ 5 น า ที
3. ครูนำอภิปรายเกี่ยวกับการหาอัตราการเกิดปฏิกิริยา ทักษะการคิดแบบใยแมงมุม
เคมีจากตัวอย่างที่ 1 และตัวอย่างที่ 2 ด้วย power (web)
point นักเรียนสรุปด้วยการเขียนใยแมงมุม (web)
แผนการจัดการเรียนรู้เคมีพื้นฐาน ม.4 ภาคเรียนที่ 1 130

4. ครูนำอภิปรายและอธิบายการหาอัตราการเกิด ทักษะการคิดแบบสรุปความ
ปฏิกิริ ยาเคมี นักเรี ยนสรุ ปสร้างองค์ความรู้ คิ ด ร ว บ ย อ ด
5. ครูนำอภิปรายและอธิบายตัวอย่างที่ 3 การคำนวณ ทักษะการคิดแบบลำ ดับ
ห า อั ต ร า ก า ร เ กิ ด ป ฏิ กิ ริ ย า เ ค มี เ ห ตุ ก า ร ณ์
ชั่วโมงที่ กิจกรรมการเรียนการสอน ฝึ กการคิดแบบ
6. นักเรียนเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างการหา ทักษะการคิดเปรี ยบเทียบ
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยกับการหาอัตราการเกิด
ป ฏิ กิ ริ ย า ณ ช่ ว ง เ ว ล า ใ ด เ ว ล า ห นึ่ ง
7. นักเรี ยนทำ กิจกรรมที่ 5.1 ศึกษาอัตราการเกิด
ป ฏิ กิ ริ ย า เ ค มี จำ น ว น 5 ข้ อ
8. ครูสุ่มเลขที่นักเรียนเฉลยกิจกรรมคนละข้อจนครบ
5 ข้อ ครูอภิปรายเพิ่มเติมในส่วนที่ขาดให้สมบูรณ์
ทุ ก ข้ อ
9. นักเรียนสลับกันตรวจสอบความถูกต้องกับเพื่อน
คู่คิด ประเมินผลเพื่อนแล้วสรุปผลการประเมินส่ง
29 ค รู ทักษะการคิดจำ แนกราย
10. นักเรียนจับกลุ่ม 3 คน สืบค้นข้อมูลการอธิบาย ล ะ เ อี ย ด
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีและพลังงานของปฏิกิริยา
เคมีด้วยการให้ประธานกลุ่มเป็ นผู้นำการอภิปราย
โดยการใช้คำถามถามเกี่ยวกับเรื่องที่กำลังศึกษา ทักษะการคิดแบบใช้เหตุผล
11. ประธานกลุ่มตั้งคำถามเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีการชนกันของอนุภาค สมาชิก 2 คนในกลุ่ม
ร่ ว ม กั น อ ภิ ป ร า ย เ พื่ อ ต อ บ คำ ถ า ม ทักษะการคิดแบบแผนที่
12. เลขากลุ่มสรุปผลการสร้างองค์ความรู้ด้วยการเขียน ค ว า ม คิ ด
แผนที่ความคิดเกี่ยวกับหลักการของทฤษฎีการชน
กั น ข อ ง อ นุ ภ า ค ใ น ก า ร เ กิ ด ป ฏิ กิ ริ ย า เ ค มี ทักษะการคิดแบบใช้เหตุผล
13. ครูนำอภิปรายการเกิดปฏิกิริยาเคมีโดยใช้ทฤษฎี
การชนกันของอนุภาคด้วย power point นักเรียน
ร่วมอภิปราย ซักถามข้อสงสัย สรุปสร้างองค์ความ
30-31 รู้ ทักษะการคิดเปรี ยบเทียบ
14. ครูนำ อภิปรายและอธิบายด้วยสื่ อ power point
เกี่ยวกับพลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
นักเรียนสรุปเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง
ปฏิกิริยาดูดความร้อนกับปฏิกิริยาคายความร้อน
ความสัมพันธ์ของค่า Ea กับสารตั้ งต้นและ
ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์
แผนการจัดการเรียนรู้เคมีพื้นฐาน ม.4 ภาคเรียนที่ 1 131

ชั่วโมงที่ กิจกรรมการเรียนการสอน ฝึ กการคิดแบบ


15. นักเรียนทำกิจกรรมที่ 5.2 ทดสอบความรู้เกี่ยวกับ
การดำเนินไปของปฏิกิริยา เสร็จแล้วสลับกันตรวจ
สอบความถูกต้องกับเพื่อนคู่คิด ครูเฉลยกิจกรรม
เพื่อนประเมินเพื่อนก่อนส่งครู เพื่อเก็บข้อมูล
นั ก เ รี ย น เ ป็ น ร า ย บุ ค ค ล
16. ครูนำอภิปรายเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิด
ป ฏิ กิ ริ ย า เ ค มี ด้ว ย ก า ร ตั้ ง คำ ถ า ม ต่ อ ไ ป นี้
1) สารต่างชนิดกันมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีต่าง
กั น ห รื อ ไ ม่ อ ย่ า ง ไ ร
2) ที่อุณหภูมิต่างกัน สารชนิดเดียวกันมีอัตราการ
เกิดปฏิกิริ ยาเคมีต่างกันหรื อไม่ อย่างไร
3) เพราะเหตุใดจึงต้องใช้โกร่งบดสารให้ละเอียด
ก่ อ น นำ ไ ป ทำ ป ฏิ กิ ริ ย า กั บ ส า ร อื่ น
นัก เ รี ย น ร่ ว ม กัน อ ภิ ป ร า ย เ พื่ อ ต อ บ คำ ถ า ม
17. นักเรียนใช้กระบวนการกลุ่ม 5 คน ด้วยการให้
ตัวแทนกลุ่มจับสลากหัวข้อเรื่ องที่ศึกษา ดังนี้
1) พื้นที่ผิวสัมผัสมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ชั่วโมงที่ เกิจกรรมการเรียนการสอน
ค มี อ ย่ า ง ไ ร (กิ จ ก ร ร ม ที่ 5.3) ฝึ กการคิดแบบ
การทำกิจกรรมของเรื่องที่จับสลากได้
2) ความเข้มข้นของสารละลายกับอัตราการเกิด ดำเนินการ ขั้นตอนตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้น
ทดลอง บันทึกผล ป ฏิ ตอบคำถามเพื่อวิเคราะห์ผลการ
กิ ริ ย า เ ค สุดและทักษะการใช้เหตุผล มี
ท 3)
ด ล การเพิ่มอุณหภูมิมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
อ ง แ ล ะ เ ขี ย น ร า ย ง า น ก า ร ท ด ล อ ง
1. ครูสุ่มตัวแทนกลุ่มสาธิตการทดลอง
เ ค มี อ ย่ า ง ไ ร (กิ จ กอภิปรายผล ร ร ม ที่ 5.4) ทักษะการคิดสร้างสรรค์
การทดลอง
4) ตัวและตอบคำถามเพื่อวิเคราะห์ผลการ
เ ร่ ง ป ฏิ กิ ริ ย า แ ล ะ ตัว ห น่ ว ง ป ฏิ กิ ริ ย า
ทดลอง เพื่อนต่างกลุ่มประเมินผลการทำกิจกรรม
18. ครูนำอภิปรายก่อนการทดลองด้วยการให้นักเรียน
จ นต่างกลุ่มกันได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กันขณะปฏิบัติการ
ค ร บ ทุ ก เ รื่ อ ง
2. ครูนำอภิปรายหลังจากตัวแทนกลุ่มนำเสนอผลงาน
ท ด ล อ ทักษะการคิดแบบแผนที่

นักเรียนสรุปสร้างองค์ความรู้ด้วยการเขียนแผนผัง
19. ตัวแทนกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้นำเสนอผลการ ว า ม คิ ด ค
ความคิดในกิจกรรมที่ 5.5 ทดสอบความรู้เกี่ยวกับ
ทำกิจกรรม จะต้องสาธิตการทดลองประกอบ
ปั จ จัยก ที่า รมี นำ
ผล ต่เ สอ อัตรา
น อ ผ ลก ากรเา รกิ ดทำป ฏิกิ กิจ ริกยาร รเ คมมีด้ ว ย ทักษะการคิดแบบเรียงลำดับ
3. นักเรียนสืบค้นข้อมูลแบบกระตือรือร้นเรื่องการ
20. ประธานกลุ่มแบ่งงานให้สมาชิกอภิปรายขั้นตอน ทักษะการคิดแบบใยแมงมุม
ควบคุมอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน (web)
5.3 ขั้นสรุป สรุปสร้างองค์ความรู้ด้วยการเขียนใยแมงมุม (web)
4. ครูนำอภิปรายเกี่ยวกับการควบคุมอัตราการเกิด
ป ฏิ กิ ริ ย า เ ค มี ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จำ วั น
5. นักเรี ยนตอบคำ ถามแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนประจำหน่วย จำนวน 6 ข้อ สลับกับ
เพื่อนคู่คิดตรวจสอบผลการทำ กิจกรรม ครูนำ
อภิปรายเฉลยการทำ กิจกรรมทั้ง 6 ข้อ เพื่อน
ประเมินผลเพื่อนก่อนส่งครูเก็บข้อมูลของนักเรียน
เ ป็ น ร า ย บุ ค ค ล
แผนการจัดการเรียนรู้เคมีพื้นฐาน ม.4 ภาคเรียนที่ 1 132

1. นักเรียนซักถามปัญหาหรือข้อสงสัย ครูและเพื่อนร่วมอภิปรายเพื่อตอบคำถามหรือข้อสงสัย
ทุกข้อที่นักเรียนซักถามจนผู้ซักถามและเพื่อนเข้าใจ
2. นักเรียนจับคู่เพื่อนคู่คิดสรุปขั้นตอนแสดงลำดับความคิดสำคัญของหน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด ด้วยการใช้ลูกศร ( ) แสดงลำดับขั้นตอน
3. นักเรียนทำแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท้ายแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 จำนวน 10 ข้อ

6. สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้
6.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน เคมีพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรียนที่ 1
2) อุปกรณ์การทดลองชุดพื้นที่ผิวสัมผัสมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอย่างไร
3) อุปกรณ์การทดลองชุดความเข้มข้นของสารละลายกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
4) อุปกรณ์การทดลองชุดการเพิ่มอุณหภูมิมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอย่างไร
5) อุปกรณ์การทดลองชุดตัวเร่งปฏิกิริยาและตัวหน่วงปฏิกิริยาเคมี
6) power point
- เรื่องการเกิดปฏิกิริยาเคมี
- เรื่องพลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยาเคมี
6.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องสมุดโรงเรียน
2) ห้องสมุดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
3) แผ่นซีดีรวมเว็บไซต์ความรู้
4) อินเทอร์เน็ต จากเว็บไซต์ต่างๆ เช่น
- http:// www.geocities.com/rujida_jan/rate.htm
- http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/nongkhai/onuma-b/chemical/sec1p01.html
- http://www.sci.nu.ac.th/chemistry/E%20Learning/Chapters/Kinetics/Rate%20of%
20Reaction.htm
- http://www.kbyala.ac.th/digital-lib-m5-44/k-me-2/r3.html
- http://ebook.nfe.go.th/ebook/pdf/023/0023_127.pdf

7. กิจกรรมเสนอแนะ/บูรณาการ
7.1 สรุปเกี่ยวกับการนำความรู้เรื่องปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีไปใช้ในชีวิตประจำวัน
7.2 สำรวจปฏิกิริยาเคมีที่การเพิ่มอุณหภูมิมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
7.3 สำรวจปฏิกิริยาเคมีที่ต้องใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา

8. ภาระงาน
1) รายงานการทดลองผลการศึกษาพื้นที่ผิวสัมผัสมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
2) รายงานการทดลองผลการศึกษาอุณหภูมิมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แผนการจัดการเรียนรู้เคมีพื้นฐาน ม.4 ภาคเรียนที่ 1 133

3) ผังมโนทัศน์สรุปผลการศึกษาเรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การบูรณาการ
วิชาศิลปะ ภาษาไทย การงานอาชีพและเทคโนโลยี และคณิตศาสตร์
ผลการเรียนรู้
มีความรู้ความเข้าใจเรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ผลงานที่ต้องการ
1) เขียนรายงานการทดลองผลการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี จากการทดลองศึกษา
พื้นที่ผิวสัมผัสของสารกับอุณหภูมิที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีได้ถูกต้อง
2) เขียนผังมโนทัศน์สรุปองค์ความรู้จากการศึกษาเรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีได้ถูกต้องและ
สร้างสรรค์ เชื่อมโยงบูรณาการได้เหมาะสม
ขั้นตอนการทำงาน
การทำงานเป็นทีม การอภิปรายทักษะการฟัง สุนทรีสนทนาเกี่ยวกับเรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ปฏิบัติการทดลอง วิเคราะห์ผลการทดลอง อภิปรายตอบคำถามหลังการทดลอง เขียนรายงานการทดลอง
และนำเสนอผลการทดลอง สรุปสร้างองค์ความรู้ที่ได้จากการทำการทดลอง เชื่อมโยงกับสาระตามหนังสือ
เรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน เคมีพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรียนที่ 1
เกณฑ์การประเมินภาระงาน
ตาม Rubric จากหน่วยการเรียนรู้

9. บันทึกสรุปผลการจัดการเรียนการสอน
บันทึกหลังสอน
(บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีข้อมูลสารสนเทศชัดเจน)
ประเด็นการบันทึก จุดเด่น จุดที่ควรปรับปรุง
1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้เคมีพื้นฐาน ม.4 ภาคเรียนที่ 1 134

2. การใช้สื่อการเรียนรู้

3. การประเมินผลการเรียนรู้

4. การบรรลุผลการเรียนรู้ของผู้เรียน

บันทึกเพิ่มเติม
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ…………………………………..ผู้สอน

บันทึกความเห็นของผู้ตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ …………………………………..........
ตำแหน่ง (…………………………………..........)
10. ใบความรู้ ใบงาน และเครื่องมือวัดผล

แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้

วิชา ...................................................................................................... ชั้น .........................................


แผนการจัดการเรียนรู้เคมีพื้นฐาน ม.4 ภาคเรียนที่ 1 135

ทำงานได้เรียบร้อยถูกต้องและครบถ้วน
มีความซื่อสัตย์ในการทำกิจกรรม

ตั้งปัญหาหรือคำถามสร้างสรรค์
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อน
ความสนใจใฝ่ รู้ ตั้งใจเรียน
และทำกิจกรรม

หมายเหตุ
เลขที่ ชื่อ-นามสกุล

หมายเหตุ ให้บันทึกโดยใช้เครื่องหมาย
 = แสดงพฤติกรรมที่พึงประสงค์ตามคาดหวัง
 = ไม่แสดงพฤติกรรมที่พึงประสงค์ตามคาดหวัง
เกณฑ์การประเมิน
นักเรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ตามคาดหวังตั้งแต่ 3 รายการขึ้นไป ผ่านเกณฑ์การประเมิน

แบบประเมินพฤติกรรมด้านทักษะปฏิบัติ

ระดับคุณภาพการปฏิบัติ
ที่ รายการที่ปฏิบัติ
3 (ดี) 2 (พอใช้) 1 (ปรับปรุง)
1. ใช้อุปกรณ์ได้เหมาะสมและถูกต้อง
2. ทำการทดลองตามขั้นตอนที่กำหนดไว้
3. ทำการทดลองเสร็จในเวลาที่กำหนด
แผนการจัดการเรียนรู้เคมีพื้นฐาน ม.4 ภาคเรียนที่ 1 136

4. จัดพื้นที่การทดลองเหมาะสมและปลอดภัย
5. รักษาความสะอาดและจัดเก็บอุปกรณ์ได้ถูกต้อง

รวมคะแนน คะแนน
15

เกณฑ์การให้คะแนน
ได้ 3 คะแนน เมื่อปฏิบัติถูกต้องเหมาะสม มีข้อบกพร่องเพียงเล็กน้อยหรือไม่มีเลย
ได้ 2 คะแนน เมื่อปฏิบัติถูกต้องเหมาะสมเกินครึ่งหนึ่ง มีข้อบกพร่องค่อนข้างมาก
ได้ 1 คะแนน เมื่อปฏิบัติถูกต้องเหมาะสมต่ำกว่าครึ่งหนึ่ง มีข้อบกพร่องเป็นส่วนใหญ่หรือไม่ได้
ปฏิบัติ

เกณฑ์คุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
0-6 ปรับปรุง
7-11 พอใช้
12-15 ดี

แบบประเมินการนำเสนอผลงานกลุ่ม

คะแน กลุ่มที่ หมายเ


รายการประเมิน
น 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 หตุ
1. เทคนิคการนำเสนอ 5
2. ความร่วมมือภายในกลุ่ม 5
3. สื่อ/อุปกรณ์ที่ใช้ในการรายงาน 5
4. สาระที่ได้จากการรายงาน 5
รวม 20

กลุ่มที่ประเมิน ..................................................................................
สมาชิก 1. .......................................................................................
แผนการจัดการเรียนรู้เคมีพื้นฐาน ม.4 ภาคเรียนที่ 1 137

2. .......................................................................................
3. .......................................................................................
4. .......................................................................................

เกณฑ์การประเมิน
- ผ่านเกณฑ์การประเมินตั้งแต่ 11 คะแนนขึ้นไป
- ระดับพอใช้ 12-15 คะแนน
- ระดับดี 16 คะแนนขึ้นไป

แบบประเมินผลการเรียนรู้ด้วยตนเอง

ให้นักเรียนประเมินตนเองจากผลที่ได้จากการเรียนรู้ในวิชาวิทยาศาสตร์ โดยทำเครื่องหมาย  ลงในช่องที่


ตรงกับระดับความพึงพอใจของนักเรียนที่มีในแต่ละหัวข้อ

ระดับความพึงพอใจ
สัปดาห์ที่ เรื่อง/หัวข้อย่อย บันทึกเพิ่มเติม
มาก ปานกลาง น้อย
1.

2.

3.

4.

5.
แผนการจัดการเรียนรู้เคมีพื้นฐาน ม.4 ภาคเรียนที่ 1 138

6.

แบบประเมินการเขียนรายงานการทดลอง

ระดับคุณภาพ
ที่ รายการประเมิน
3 (ดี) 2 (พอใช้) 1 (ปรับปรุง)
1. การเขียนจุดประสงค์การทดลอง
2. การตั้งสมมุติฐาน
3. การแปลผลการทดลอง
4. การสรุปผลการทดลอง
5. ความสมบูรณ์ของชิ้นงาน

รวมคะแนน คะแนน
15

เกณฑ์การให้คะแนน
ได้ 3 คะแนน เมื่อมีความถูกต้อง สมบูรณ์ ชัดเจน หรือบกพร่องเพียงเล็กน้อย
ได้ 2 คะแนน เมื่อมีข้อบกพร่องไม่เกินครึ่ง
ได้ 1 คะแนน เมื่อมีข้อบกพร่องมากเกินครึ่งหนึ่งหรือไม่ได้เขียน

เกณฑ์คุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
0-6 ปรับปรุง
7-11 พอใช้
12-15 ดี
แผนการจัดการเรียนรู้เคมีพื้นฐาน ม.4 ภาคเรียนที่ 1 139

แบบประเมินการเขียนผังมโนทัศน์

ระดับคะแนน
ข้อที่ รายการประเมิน
3 2 1
1. จำนวนข้อมูลที่นำ สรุปและบันทึก สรุปและบันทึก สรุปและบันทึก
เสนอ ข้อมูลที่เป็นองค์ ข้อมูลที่เป็นองค์ ข้อมูลที่เป็นองค์
ประกอบของเรื่อง ประกอบของเรื่อง ประกอบของเรื่อง
ที่สรุปได้ครบถ้วน ที่สรุปได้ถูกต้อง ที่สรุปได้เป็นส่วน
สมบูรณ์ เป็นส่วนใหญ่ น้อย
2. ความถูกต้องของ นำเสนอข้อมูลได้ นำเสนอข้อมูลได้ นำเสนอข้อมูลได้
ข้อมูล ถูกต้องตามทฤษฎี ถูกต้องตามทฤษฎี ถูกต้องตามทฤษฎี
ทุกรายการ เกือบทุกรายการ ได้บางรายการ
3. ความเชื่อมโยงของ แสดงความเชื่อม แสดงความเชื่อม แสดงความเชื่อม
ข้อมูล โยงระหว่าง โยงระหว่าง โยงระหว่าง
ประเด็นหลักกับ ประเด็นหลักกับ ประเด็นหลักกับ
ประเด็นรองได้ถูก ประเด็นรองได้ถูก ประเด็นรองได้ถูก
ต้องทุกรายการ ต้องเป็นส่วนใหญ่ ต้องเป็นส่วนน้อย
4. ความคิดริเริ่ม นำเสนอแนวคิด นำเสนอแนวคิด ไม่มีการนำเสนอ
สร้างสรรค์ แปลกใหม่ใน แปลกใหม่ใน แนวคิดแปลกใหม่
แผนที่ความคิด แผนที่ความคิดเป็น ในแผนที่ความคิด
บางส่วน

11. เฉลยกิจกรรมและแบบทดสอบ
แผนการจัดการเรียนรู้เคมีพื้นฐาน ม.4 ภาคเรียนที่ 1 140

กิจกรรมที่ 5.1 ศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

1. การศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจากสมการ
CaCO3 (s) + 2HCl (aq) CaCl2 (aq) + CO2 (g) + H2O (l)
จากสมการเคมีพบว่า เกิดผลิตภัณฑ์เป็นแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ จึงควรเลือกวัดปริมาณแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดขึ้นในหน่วยลูกบาศก์เดซิเมตรต่อหนึ่งหน่วยเวลา
2. จากการเกิดปฏิกิริยาเคมีดังสมการ X (aq) Y (aq) มีข้อมูลดังตารางต่อไปนี้

เวลา (second) 5 10 15 20
ความเข้มข้นของ Y
3 6 8 9
(mol/dm3)

2.1 อัตราการเกิดปฏิกิริยา
= ความเข้มข้นของ Y (mol/dm3)
เวลา(s)
= 9 (mol/dm3)
20 (s)
= 0.45 mol/dm3s
2.2 อัตราการเกิดปฏิกิริยาในช่วงของการเกิดสาร Y 6-9 โมลต่อลูกบาศก์เซนติเมตร
= 9-6 (mol/dm3)
20-10 (s)
= 3
10
= 0.3 mol/dm3s
3. การศึกษากัตราการสลายตัวของปฏิกิริยาของสารชนิดหนึ่งดังสมการ A B+C
ได้ผลดังตาราง
เวลา (second) 0 10 20 30
ความเข้มข้นของ Y 0.17 0.14 0.12 0.11
(mol/dm ) 3

3.1 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย ต้องคิดจากสารตั้งต้น (A) ที่ลดลง


= ปริมาณสารที่ลดลง (mol)
เวลา(s)
= 0.17 - 0.11 (mol)
30 (s)
= 0.002 mol/s
แผนการจัดการเรียนรู้เคมีพื้นฐาน ม.4 ภาคเรียนที่ 1 141

1. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยในวินาทีที่ 20 - 30
= 0.12 – 0.11 (mol)
10 (s)
= 0.01 (mol)
10 (s)
= 0.001 mol/s
4. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีของสารเมื่อเริ่มต้นปฏิกิริยากับเมื่อใกล้สิ้นสุดปฏิกิริยามีความแตกต่าง
กัน เมื่อเริ่มต้นปฏิกิริยาเคมีจะมีอัตราการเกิดปฏิกิริยารวดเร็ว และเมื่อใกล้สิ้นสุดปฏิกิริยาอัตราการเกิด
ปฏิกิริยาจะช้าลง
5. กำหนดปฏิกิริยาเคมีให้ 2 ปฏิกิริยา ดังนี้
1) X (s) + Y (aq) Z (aq) ใช้เวลาในการเกิดปฏิกิริยาเป็นเวลา 5 นาที เกิดสาร
Z = 0.75 โมล
2) P (g) + G (g) R (g) ใช้เวลาในการเกิดปฏิกิริยาเป็นเวลา 2 นาที เกิดสาร
R = 0.63 โมล
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีของ Z = 0.75 (mol)
5 (min)
= 0.15 mol/min
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีของ R = 0.63 (mol)
2 (min)
= 0.31 mol/min
ดังนั้นอัตราการเกิดปฏิกิริยาของสมการที่ 1 ช้ากว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยาของสมการที่ 2

กิจกรรมที่ 5.2 ทดสอบความรู้เกี่ยวกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา

1. จากปฏิกิริยา H2 (g) + I2 (g) 2HI (g) เขียนแผนภาพแสดงทิศทางที่เหมาะ


สมในการชนกันของอนุภาคที่ทำให้เกิดปฏิกิริยาเคมีได้ดังนี้
กำหนดให้ แทนโมเลกุล H2 แทนโมเลกุล I2

แทนโมเลกุล HI

H2 I2 2HI
แผนการจัดการเรียนรู้เคมีพื้นฐาน ม.4 ภาคเรียนที่ 1 142

2. ปฏิกิริยา X Y เป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน เขียนภาพแสดงความสัมพันธ์


ระหว่างพลังงานของสารกับกรดำเนินไปของปฏิกิริยาได้ดังนี้

3. กราฟแสดงพลังงานของสารกับการดำเนินไปของปฏิกิริยาต่อไปนี้นำมาใช้ตอบคำถามดังนี้

3.1 พลังงานก่อกัมมันต์มีค่าเท่ากับ AB กิโลจูล


3.2 ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาคายความร้อน เพราะสารผลิตภัณฑ์มีพลังงานต่ำกว่าสารตั้งต้น
4. จากกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา A, B และ C ที่
กำหนดให้

- อัตราการเกิดปฏิกิริยาเรียงลำดับจากเร็วไปช้าได้ดังนี้ C > A > B เนื่องจากพลังงาน


ก่อกัมมันต์ของ C น้อยกว่า A และ A น้อยกว่า B
- ปฏิกิริยา A และ C เป็นปฏิกิริยาคายพลังงาน ส่วนปฏิกิริยา B เป็นปฏิกิริยาดูดพลังงาน
แผนการจัดการเรียนรู้เคมีพื้นฐาน ม.4 ภาคเรียนที่ 1 143

กิจกรรมที่ 5.3 พื้นที่ผิวสัมผัสมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาอย่างไร

จุดประสงค์การทดลอง
เมื่อทำกิจกรรมนี้แล้วนักเรียนควรสามารถ
1. ทำการทดลองเพื่อศึกษาว่าพื้นที่ผิวสัมผัสของสารมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาได้
2. บอกได้ว่าสารตั้งต้นที่มีพื้นที่ผิวมากเกิดปฏิกิริยาได้เร็วกว่าสารตั้งต้นที่มีพื้นที่ผิวสัมผัสน้อย

อุปกรณ์และสารเคมี
รายการ จำนวนต่อกลุ่ม
1. ขวดรูปกรวยขนาด 250 cm3 1 ใบ
2. บีกเกอร์ขนาด 50 cm3 1 ใบ
3. หลอดฉีดยาขนาด 20 cm3 1 หลอด
4. จุกยาง 1 อัน
5. หลอดนำแก๊ส 1 อัน
6. สายยางขนาดเล็ก 1 อัน

รายการ จำนวนต่อกลุ่ม
7. หินปูนขนาดเล็ก 5g
8. หินปูนขนาดใหญ่ 5g
9. กรดไฮโดรคลอริก 0.5 โมล/ลิตร 20 cm3

อภิปรายก่อนการทดลอง
ครูควรแนะนำนักเรียนให้ปฏิบัติดังนี้
1. นำหลอดฉีดยาต่อเข้ากับสายยางและหลอดนำแก๊สที่เสียบไว้กับจุกยางที่เตรียมไว้ให้แน่นและ
ร ะ มั ด ร ะ วั ง แ ก๊ ส รั่ ว
2. เมื่อใส่กรดไฮโดรคลอริกลงในขวดรูปกรวยที่มีหินปูน ควรจับเวลาและปิ ดจุกยางทันทีเพื่อ
ป้ องกันไม่ให้แก๊สที่เกิดขึ้นออกไปนอกระบบ

ผลการทดลอง
การทดลอง ผลการสังเกต
1. หินปูนขนาดเล็ก 5 กรัม + สารละลาย HCl 0.5 mol/dm3 1 นาที
20 cm3 2 นาที
2. หินปูนขนาดใหญ่ 5 กรัม + สารละลาย HCl 0.5 mol/dm3
20 cm3
แผนการจัดการเรียนรู้เคมีพื้นฐาน ม.4 ภาคเรียนที่ 1 144

คำถามเพื่อวิเคราะห์ผลการทดลอง
1. การทดลองนี้มีการควบคุมตัวแปรคือ ความเข้มข้นของกรด มวลของหินปูน และปริมาณของแก๊สที่
เ กิ ด ขึ้ น 20 ลู ก บ า ศ ก์ เ ซ น ติ เ ม ต ร
2. ตัวแปรที่ศึกษาในการทดลองนี้คือ ขนาดของก้อนหินปูน ส่วนตัวแปรตามคือ อัตราการเกิดแก๊ส
3. ก า ร ใ ช้ หิ น ปู น ข น า ด เ ล็ ก จ ะ เ กิ ด เ กิ ด แ ก๊ ส ไ ด้ เ ร็ ว ก ว่ า หิ น ปู น ข น า ด ใ ห ญ่
4. หิ น ปู น ก้ อ น เ ล็ ก มี พื้ น ที่ ผิ ว ม า ก ก ว่ า หิ น ปู น ก้ อ น ใ ห ญ่
5. ในการทดลองนี้ปัจจัยที่มีผลทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาคือ ขนาดของหินปูนหรือพื้นที่ผิวสัมผัส
หินปูนก้อนเล็กมีพื้นที่ผิวสัมผัสกับสารละลายไฮโดรคลอริกมากกว่าหินปูนก้อนใหญ่จึงเกิดปฏิกิริยาได้เร็ว
ก ว่ า
6. ก า ร ท ด ล อ ง นี้ ส า ม า ร ถ ส รุ ป ผ ล ก า ร ท ด ล อ ง ไ ด้ ดั ง นี้
พื้นที่ผิวสัมผัสมีผลต่อการเกิดอัตราการเกิดปฏิกิริยาของสาร ถ้าสารตั้งต้นมีพื้นที่ผิวสัมผัสมากจะเกิด
ป ฏิ กิ ริ ย า ไ ด้ เ ร็ ว ก ว่ า ส า ร ตั้ ง ต้ น ที่ มี พื้ น ที่ ผิ ว สั ม ผั ส น้ อ ย ก ว่ า

กิจกรรมที่ 5.4 การเพิ่มอุณหภูมิมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาอย่างไร

จุดประสงค์การทดลอง
เมื่อทำกิจกรรมนี้แล้วนักเรียนควรสามารถ
1. ทำการทดลองเพื่อศึกษาผลของอุณหภูมิต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาได้
2. บอกผลของอุณหภูมิที่มีต่ออัตราการเกอดปฏิกิริยาของสารละลายโซเดียมไทโอซัลเฟตกับสาร
ละลายกรดไฮโดรคลอริกได้

อุปกรณ์และสารเคมี

รายการ จำนวนต่อกลุ่ม
1. บีกเกอร์ขนาด 50 cm3 4 ใบ
2. เทอร์มอมิเตอร์ 1 อัน
3. กระดาษสีขาวที่มีเครื่องหมายกากบาท 1 อัน
4. ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์ 1 ชุด
5. ไม้ขีดไฟ 1 กล่อง
6. สารละลายโซเดียมไทโอซัลเฟต (Na2S2O3) เข้ม 40 cm3
ข้น 0.1 โมล/ลิตร
7. สารละลายกรดไฮโดรคลอริก 0.1 โมล/ลิตร 40 cm3

อภิปรายก่อนการทดลอง
ครูอาจแนะนำนักเรียนให้ปฏิบัติดังนี้
แผนการจัดการเรียนรู้เคมีพื้นฐาน ม.4 ภาคเรียนที่ 1 145

ขณะที่เติมสารละลายกรดไฮโดรคลอริกลงในสารละลายโซเดียมไทโอซัลเฟตให้สังเกตและจับเวลา
ทันที

ผลการทดลอง
อุณหภูมิของสารละลายโซเดียมไทโอซัลเฟต เวลาที่มองไม่เห็นเครื่องหมายกากบาท (นาที)
อุณหภูมิห้อง (30C) 110
อุณหภูมิ (60C) 40

คำถามเพื่อวิเคราะห์ผลการทดลอง
1. เมื่อผสมสารละลายไฮโดรคลอริกกับสารละลายโซเดียมไทโอซัลเฟตจะเกิดตะกอนสีขาวขุ่น
และค่อยๆเปลี่ยนเป็นสีเหลืองอ่อน
2. การทดลองนี้มีการควบคุมตัวแปรคือ ความเข้มข้นและปริมาณของสารละลาย
3. ตัวแปรที่ต้องการศึกษาคือ อุณหภูมิของสารละลายโซเดียมไทโอซัลเฟต
4. การทดลองที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส เกิดปฏิกิริยาได้เร็วกว่าที่อุณหภูมิห้อง สังเกตจากการ
เกิดตะกอนและเวลาที่มองไม่เห็นเครื่องหมายใช้เวลาน้อยกว่าที่อุณหภูมิห้อง
5. สรุปการทดลองอุณหภูมิมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีได้ดังนี้
สารละลายโซเดียมไทโอซัลเฟตที่มีอุณหภูมิสูงเกิดปฏิกิริยากับสารละลายไฮโดรคลอริกได้เร็ว
กว่าสารละลายโซเดียมไทโอซัลเฟตที่มีอุณหภูมิต่ำกว่า แสดงว่าอุณหภูมิมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาของ
สาร
แผนการจัดการเรียนรู้เคมีพื้นฐาน ม.4 ภาคเรียนที่ 1 146

กิจกรรมที่ 5.5
ทดสอบความรู้ เกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
0

ผังความคิดสรุปปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
พื้นที่ผิวมาก เพิ่มโอกาสในการชนกันของสาร

เกิดปฏิกิริยาเร็ว

เกิดปฏิกิริยาเร็วขึ้น

พื้นที่ผิวน้อยอนุภาคชนกันได้น้อยลง
พื้นที่ ผิวสัมผัส
เกิดปฏิกิริยาช้า

ตัวเร่งปฏิกิริยา
เกิดปฏิกิริยาช้า

ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ลดจำนวนอนุภาคที่ชนกัน
สารเคมีบางชนิด ความเข้มข้นของสารตั้งต้น
ลดความเข้มข้น

ตัวหน่วงปฏิกิริยา เพิ่มปริมาณสารตั้งต้น
อุณหภูมิ
อนุภาคชนกันมาก

เกิดปฏิกิริยาช้าลง เกิดปฏิกิริยาเร็ว
ลดอุณหภูมิ
เพิ่มอุณหภูมิ

เพิ่มพลังงานจลน์ ลดพลังงานจลน์
อนุภาคชนกันแรงและเร็ว

เกิดปฏิกิริยาช้า
เกิดปฏิกิริยาเร็ว อนุภาคชนกันเบากว่าเดิม
เฉลยแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนประจำหน่วย
1. พิจารณาข้อมูลแสดงปริมาณสารกับเวลาในการเกิดปฏิกิริยา X(s) Y(g) เพื่อใช้ตอบ
คำถาม

เวลา (s) มวลของสาร (g) ปริมาณของแก๊ส Y (cm3)


0 2 0
10 1.6 2
20 1.3 3
30 1.1 3.5
40 (a) 4.0
50 0.95 4.2

1.1 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย
= ปริมาณของแก๊ส Y (cm3)
เวลา (s)
= 4.2 (cm3)
50 (s)
= 0.084 cm3/s
1.2 มวล a มีค่าประมาณ 1.0 g
2. ผังมโนทัศน์เกี่ยวกับทฤษฎีการชนกันของอนุภาค

ทฤษฎีการชนกันของอนุภาค

ปฏิกิริยาจะเกิดขึ้น

อนุภาคชนกัน อนุภาคมีทิศทาง อนุภาคมีพลังงานจลน์


การชนที่เหมาะสม สูงเพียงพอ

3. ถ้าปฏิกิริยา A B เป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน สาร B มีพลังงานสูงกว่าสาร A


4. สังเกตแผนภาพต่อไปนี้
แผนการจัดการเรียนรู้เคมีพื้นฐาน ม.4 ภาคเรียนที่ 1 148

อุณหภูมิ XC อุณหภูมิ YC

อุณหภูมิ Y องศาเซลเซียส มีค่าสูงกว่า X องศาเซลเซียส เพราะอัตราการเกิดปฏิกิริยาที่


Y องศาเซลเซียส เกิดได้มากกว่า X องศาเซลเซียส
A
5. X (s) + Y (aq) ตัวเร่งปฏิกิริยา Z(aq)

ตัวเร่งปฏิกิริยา A ช่วยให้เกิดผลิตภัณฑ์ Z ได้เร็วขึ้น โดยที่สาร A ยังมีสมบัติเหมือนเดิม


6. จงยกตัวอย่างการนำความรู้เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาไปใช้ในชีวิตประจำวัน 3
ตัวอย่าง (แล้วแต่นักเรียนจะตอบ)

แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท้ายแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดจากคำถามแต่ละข้อ
คำชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ประกอบการตอบคำถามข้อ 1-2
ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ สลายตัวได้น้ำและแก๊สออกซิเจน ดังสมการ
2H2O2 (aq) 2H2O (l) + O2 (g)
แผนการจัดการเรียนรู้เคมีพื้นฐาน ม.4 ภาคเรียนที่ 1 149

ผู้ทำการทดลองเติมแก๊สออกซิเจนที่เกิดขึ้น ณ เวลาต่างๆ ตั้งแต่เริ่มต้นจนได้แก๊สปริมาตร 5 cm3 แล้วบันทึก


ข้อมูลไว้ดังนี้
ปริมาตร O2 เวลา
(cm )
3
(วินาที = s)
1 5
2 13
3 23
4 35
5 50

1. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยมีค่าเท่าใด
1. 0.4 cm3/s 2. 0.3 cm3/s
3. 0.2 cm3/s 4. 0.1 cm3/s
2. อัตราการเกิดปฏิกิริยาช่วง 2-4 cm3 มีค่าเท่าใด
1. 1/6 cm3/s 2. 1/11 cm3/s
3. 1/22 cm3/s 4. 2/35 cm3/s
3. จากกราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานของสาร ขณะเกิดปฏิกิริยา X Y ข้อใดที่แสดงว่า
ปฏิกิริยาเกิดเร็วที่สุด
1. 2.

พลังงา

พลังงาน

X
X
Y Y

การดำเนินไปของปฏิกิริยา
การดำเนินไปของปฏิกิริยา
3. 4.

Y
พลังงาน

Y
พลังงาน

X
X

4. จากกราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานของสาร
การดำเนินไปของปฏิกิริยา ขณะเกิดปฏิกิริยา A
การดำเนินไปของปฏิกิริยา B จงพิจารณาว่าข้อใด
เป็นปฏิกิริยาคายความร้อน
1. 2.
B
พลังงาน

พลังงาน

A B
A
แผนการจัดการเรียนรู้เคมีพื้นฐาน ม.4 ภาคเรียนที่ 1 150

3. 4.

พลังงาน
พลังงาน

A A B
B

การดำเนินไปของปฏิกิริยา การดำเนินไปของปฏิกิริยา
5. จงพิจารณากราฟที่กำหนดให้ แล้วตอบคำถาม

300 X
พลังงาน (kJ)

C+D
200

100 Z

พลังงานก่อกัมมันต์มีค่าเท่าใด การดำเนินไปของปฏิกิริยา
1. 300 kJ 2. 200 kJ
3. 150 kJ 4. 100 kJ
6. จากปฏิกิริยา H2 (g) + I2 (g) 2HI (g)
ถ้ากำหนดให้ แทนอะตอม H และ แทนอะตอม I แทน HI การชนกันของอนุภาค
ข้อใดมีโอกาสเกิดปฏิกิริยาได้ดีที่สุด
1. + .......................
2. + .......................

3. + .......................

4. .......................
7. จงใช้ข้อมูลแสดงอุณหภูมิของสารตั้งต้นและอุณหภูมิที่วัดได้ เมื่อนำสารตั้งต้นผสมกันประกอบการตอบ
คำถาม
อุณหภูมิของสารตั้งต้น
อุณหภูมิหลังการผสม
การทดลอง (องศาเซลเซียส)
(องศาเซลเซียส)
25 25
1 A B 28
2 C D 40
แผนการจัดการเรียนรู้เคมีพื้นฐาน ม.4 ภาคเรียนที่ 1 151

3 X Y 22
4 P Q 48
การทดลองใดเป็นปฏิกิริยาดูดพลังงาน
1. A + B 2. C + D
3. X + Y 4. P + Q
8. ปฏิกิริยาข้อใดเกิดเร็วที่สุด
1. ผสมสังกะสีบดละเอียดมวล 1 g กับสารละลายกรดเกลือเข้มข้นร้อยละ 10 โดยมวล 10 cm3
2. ผสมสังกะสีขนาด 1 ¿ 1 cm มวล 1 g กับสารละลายกรดเกลือเข้มข้นร้อยละ 20 โดยมวล 10 cm3
3. ผสมสังกะสีขนาด 1 ¿ 2 cm มวล 1 g กับสารละลายกรดเกลือเข้มข้นร้อยละ 20 โดยมวล 10 cm3
4. ผสมสังกะสีบดละเอียดมวล 1 g กับสารละลายกรดเกลือเข้มข้นร้อยละ 20 โดยมวล 10 cm3

9. ขณะเกิดไฟไหม้ ตำรวจดับเพลิงจะฉีดน้ำไปตรงตำแหน่งที่เพลิงลุกไหม้ เพราะเหตุใด


1. น้ำจัดเป็นคะตะไลต์
2. น้ำเป็นตัวหน่วงปฏิกิริยา
3. น้ำช่วยลดอุณหภูมิทำให้การลุกไหม้ลดลง
4. น้ำช่วยป้ องกันไม่ให้แก๊สออกซิเจนเข้าทำปฏิกิริยา
10. การบ่มผลไม้ให้สุกเร็วขึ้นจะใส่ถ่านแก๊สหรือแคลเซียมคาร์ไบด์ (CaC2) ในภาชนะที่บ่มผลไม้ แคลเซียม
คาร์ไบด์ (CaC2) ทำหน้าที่อย่างไร
1. ช่วยเพิ่มอุณหภูมิ
2. ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์
3. ทำปฏิกิริยากับความชื้นให้สารที่เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา
4. ทำให้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ภายในภาชนะลดลง
แผนการจัดการเรียนรู้เคมีพื้นฐาน ม.4 ภาคเรียนที่ 1 152

เฉลยแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท้ายแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5

1. 4 2. 2 3. 3 4. 3 5. 3
6. 4 7. 3 8. 4 9. 3 10. 3
แผนการจัดการเรียนรู้เคมีพื้นฐาน ม.4 ภาคเรียนที่ 1 153

การประเมินและสะท้อนตนเองหลังเสร็จสิ้นการเรียนในหน่วยการเรียนรู้ที่ 5
(Self Reflection)

1. การประเมินตนเองของผู้เรียน ให้ดำเนินการดังนี้
1.1 ครูทบทวนผลการเรียนรู้ประจำหน่วยทุกข้อ ให้นักเรียนได้ทราบโดยอาจเขียนไว้บนกระดาน
พร้อมทั้งทบทวนถึงหัวข้อกิจกรรมการเรียนว่าได้เรียนอะไรบ้าง
1.2 ให้นักเรียนเขียนบันทึกการประเมินตนเองไว้ในสมุดงานด้านหลังตามหัวข้อดังนี้

บันทึกการประเมินและสะท้อนตนเองประจำหน่วยที่ .........................................
วัน/เดือน/ปี ที่บันทึก .................... / .................... / ....................
รายการบันทึก
1. จากการเรียนที่ผ่านมาได้มีความรู้อะไรบ้าง
....................................................................................................................................................................
2. ปัจจุบันนี้มีความสามารถปฏิบัติสิ่งใดได้แล้วบ้าง
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
3. สิ่งที่ยังไม่รู้ ไม่กระจ่าง ไม่เข้าใจ มีอะไรบ้าง
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
4. ผลงานหรือชิ้นงานที่เน้นความภาคภูมิใจจากการเรียนในหน่วยนี้คืออะไร ทำไมจึงภาคภูมิใจ
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

2. การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการวิจัยในชั้นเรียนของครู

ชื่อเรื่องที่วิจัย ......................................................................................

1. ความเป็นมาของปัญหา
สิ่งที่คาดหวัง ................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

สิ่งที่เป็นจริง..................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
ปัญหาที่พบคือ.....................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
สาเหตุของปัญหา......................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
แผนการจัดการเรียนรู้เคมีพื้นฐาน ม.4 ภาคเรียนที่ 1 154

แนวทางการแก้ไขปัญหาคือ...........................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

2. วัตถุประสงค์ในการแก้ปัญหา
1) เพื่อแก้ปัญหาเรื่อง.....................................................................................................................................
ของนักเรียนชั้น........................................ ห้อง............................จำนวน.............. คน โดยใช้.................
..................................................................................................................................................................
2) เพื่อศึกษาผลการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับ.......................................................................................................
หลังจากที่ได้ทดลองใช้วิธีแก้ปัญหาโดย...................................................................................................

3. ขอบเขตของการแก้ปัญหา
3.1 กลุ่มเป้ าหมายในการแก้ปัญหาคือ นักเรียนชั้น.................................. ห้อง............... จำนวน.......... คน
ในภาคเรียนที่................ ปี การศึกษา...........................ที่มีปัญหาเกี่ยวกับ ..............................................
3.2 เนื้อหาที่ใช้ในการศึกษาคือ เรื่อง .หน่วยการเรียนรู้
. วิชา .
3.3 ระยะเวลาในการศึกษา ประมาณ ...........สัปดาห์/เดือน ตั้งแต่วัน
ที่...........เดือน.....................................พ.ศ…………………. ถึงวัน
ที่.............เดือน...........................................พ.ศ…………………

4. วิธีดำเนินการในการแก้ไขปัญหา
4.1 เครื่องมือที่ใช้ในการแก้ปัญหาคือ............................................................................................................
................................................................................................................................................................
.
ซึ่งมีขั้นตอนในการสร้างและพัฒนาดังนี้
................................................................................................................................................................
.
................................................................................................................................................................
.
................................................................................................................................................................
.

4.2 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
คือ..............................................................................................
................................................................................................................................................................
.
ซึ่งมีขั้นตอนในการสร้างและตรวจสอบคุณภาพดังนี้
แผนการจัดการเรียนรู้เคมีพื้นฐาน ม.4 ภาคเรียนที่ 1 155

................................................................................................................................................................
.
................................................................................................................................................................
.
................................................................................................................................................................
.
4.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล ได้ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลตามวิธีการดังนี้
1) นำเครื่องมือที่ใช้ในการแก้ปัญหาไปทดลองใช้กับนักเรียนในเวลา....................................................
โดย.....................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
2) นำเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลไปเก็บข้อมูลเกี่ยวกับ.........................................................................
โดย.....................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
4.4 การวิเคราะห์ข้อมูลและการสรุปผล ได้ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผลดังนี้................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
5. ผลการแก้ปัญหา
ผลการแก้ปัญหาเกี่ยวกับ...............................................................................................................................
ของนักเรียนกลุ่มเป้ าหมาย ปรากฏผลดังนี้.....................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

You might also like