Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 215

คำนำ

จากการปฏิบั ติ งานในปั จ จุ บั นโดยอ้ างอิ ง มาตรฐานแบบระบบควบคุ มและป้ องกัน สถานี ไฟฟ้ า


(มีนาคม 2550) พบว่ารายละเอียดของมาตรฐานฯ ยังไม่สอดคล้องกับการใช้งานทั้งในด้านวิศวกรรม การติดตั้ง
การปฏิบัติงาน และการบารุงรักษา ผู้ช่วยผู้ว่าการวิศวกรรมระบบส่งจึงมีคาสั่งที่ ค.11/2556 ลงวันที่ 25 ธันวาคม
2556 เรื่องแต่ งตั้งคณะท างานปรับปรุงมาตรฐานแบบระบบควบคุมและป้องกันสถานีไฟฟ้ าแรงสูง เพื่ อจัดท า
มาตรฐานให้สอดคล้องกับการปฏิบัติในปัจจุบัน และพิจารณาเทคโนโลยีที่ทันสมัยของระบบควบคุมและป้องกัน
เพื่อนามาประยุกต์ใช้ รวมทั้งพิจารณาปรับปรุงการออกแบบเพื่อแก้ไขปัญหาในระบบควบคุมและป้องกัน โดยมี
ผู้แทนจาก 9 หน่วยงานคือ อวส. อรค. อษส. อกส. อปล. อปก. อปน. อปอ. และ อปต. เป็นคณะทางาน

บัดนี้คณะทางานปรับปรุงมาตรฐานแบบระบบควบคุมและป้องกันสถานีไฟฟ้าแรงสูง ได้ดาเนินการ
แล้วเสร็จตามวัตถุประสงค์แล้ว คณะทางานฯ หวังเป็นอย่างยิ่งว่ามาตรฐานนี้จะเป็นประโยชน์ต่อระบบควบคุม
และป้องกันสถานีไฟฟ้าแรงสูงของ กฟผ. และเห็นควรยึดเป็นแนวทางปฏิบัติต่อไป

คณะทางานปรับปรุงมาตรฐานแบบระบบควบคุมและป้องกันสถานีไฟฟ้าแรงสูง
มิถุนายน 2558
สำรบัญ
หน้า
Control and Protection Design Criteria 1
Bus Bar Protection 3
Transformer Protection 4
Line Protection 6
Capacitor Bank Protection 15
Shunt Reactor Protection 16
Breaker Failure Protection 16
ระบบคอมพิวเตอร์ควบคุม Supervisory Control and Data Acquisition 16
Fault Recording System 18
Revenue Energy Meter 18
GPS System 18
Instrument Transformer 19
Protective Device Number 20
Drawing List (E-0) 36
Metering and Relaying Diagram (E-1) 37
69kV และ 115 kV 37
230 kV 45
500 kV 52
การเลือก CT Ratio 58
การเลือก core ของ CT และ winding ของ PT 58
เรื่องอื่นๆ 59
Panel Equipment Layout (E-2) 61
ข้อกาหนดเกี่ยวกับ Control & Relay Panel 61
Bus Protection Panel 62
Metering Panel 66
Breaker Failure Protection Panel 67
500 kV Trip Supervision Panel 69
Synchronizing Panel 70
Line Protection and Transformer Protection Panel สถานีไฟฟ้าแรงดัน 115 kV 71
Line Protection and Transformer Protection Panel สถานีไฟฟ้าแรงดัน 230 kV 75
Line Protection and Transformer Protection Panel สถานีไฟฟ้าแรงดัน 500 kV 79
Capacitor and Reactor Bank Control and Protection Panel 83
Nameplate 88
สำรบัญ (ต่อ)

หน้า
Protective Device Function (E-3) 89
การใช้งาน Breaker Failure Protection 89
AC and DC Distribution Panel (E-4) 101
การแสดงรายละเอียดในแบบ E-4 103
การเลือกใช้วงจร AC Supply 103
การเลือกใช้วงจร DC Supply 103
AC Schematic Diagram (E-5) 107
การแสดงรายละเอียดในแบบ E-5 107
การเลือกใช้ PT and CT Junction Box 107
การต่ออุปกรณ์ใน AC Schematic Diagram 108
Marshalling Panel for Fault Recording System 111
Metering and Transducer Circuit 112
Line Protection 115
Transformer Protection 118
Bus Protection 119
Reactor Protection 121
Capacitor Bank Protection 121
Cubicle Illumination and Outlet 123
เรื่องอื่นๆ 123
DC Schematic Diagram (E-6) 124
การแสดงรายละเอียดในแบบ E-6 124
Auxiliary Tripping and Lockout Relay 124
Line Protection 126
Transformer Protection 133
Bus Protection 137
Stub Protection 138
Breaker Failure Protection 139
Direct Transfer Trip 142
Capacitor Bank Protection 144
วงจรควบคุมสาหรับ Circuit Breaker และ Motorized-operate Disconnecting Switch 151
การ interface กับ Remote Terminal Unit (RTU) 173
Marshalling Panel for Control System (MPC) 177
สำรบัญ (ต่อ)

หน้า
เรื่องอื่นๆ 179
Cable List (E-7) 181
Cable ที่ใช้กับระบบควบคุมและป้องกัน 181
Wiring Diagram (E-8) 185
การแสดงรายละเอียดในแบบ E-8 185
Internal Wiring Diagram 185
External Wiring Diagram 187
เรื่องอื่นๆ 188
กำรนำสัญญำณเข้ำ Fault Recording System 190
รูปแบบของ Drawing สำหรับกำรออกแบบระบบควบคุมและป้องกันสถำนีไฟฟ้ำ 201
กำรควบคุมหม้อแปลง 203
กำรกำหนด Wiremark 204
ภำคผนวก 207
คาสั่ง 209
1

Control and Protection Design Criteria


ข้อกำหนดกำรออกแบบระบบควบคุมและป้องกันระบบสถำนีไฟฟ้ำ สำมำรถแบ่งเป็นหัวข้อดังต่อไปนี้
1. Bus Bar Protection
2. Transformer Protection
2.1. Loading Transformer Protection
2.2. Tie Transformer Protection
3. Line Protection
3.1. ระบบป้องกัน กฟผ. – กฟผ.
3.1.1. ระดับแรงดัน 115 kV
3.1.1.1. Line Protection ระยะใกล้ (SIR≥4)
3.1.1.2. Line Protection ทั่วไป (SIR<4)
3.1.2. ระดับแรงดัน 230 kV
3.1.2.1. Line Protection ระยะใกล้ (SIR≥4)
3.1.2.2. Line Protection ทั่วไป (SIR<4)
3.1.3. ระดับแรงดัน 500 kV
3.1.3.1. Line Protection ระยะใกล้ (SIR≥4)
3.1.3.2. Line Protection ทั่วไป (SIR<4)
3.1.3.3. Line Protection ทั่วไปติด Shunt reactor
3.2. ระบบป้องกัน กฟผ. – กฟภ./กฟน.
3.2.1. Line Protection กฟผ. – กฟภ./กฟน. ระดับแรงดัน 69 kV และ 115 kV
3.2.1.1. Line Protection ระยะใกล้ (SIR≥4)
3.2.1.2. Line Protection กฟผ. – กฟน. กรณี ที่ มี รั้ว ติ ด กัน และสำมำรถดึ ง Control
Cable ได้
3.2.1.3. Line Protection ทั่วไป (SIR<4)
3.2.2. Line Protection กฟผ. – กฟน. ระดับแรงดัน 230 kV
3.3. ระบบป้องกัน กฟผ. – SPP/IPP
3.3.1. สฟ. EGAT 2 (Radial) ต่อตรงกับ SPP โดยไม่ผ่ำน PEA
3.3.2. สฟ. EGAT 2 (Loop) จ่ำยไฟให้กับ สฟ. PEA และมี SPP จ่ำยเข้ำกับ สฟ. PEA
3.3.3. สฟ. EGAT 2 (Radial) ต่อตรงกับ SPP โดยผ่ำนสำยส่งของ PEA
3.3.4. สฟ. EGAT 2 (Radial จำก source ใหญ่ ) ต่อตรงกับ SPP และมี Generator ขนำดเล็ ก
ของ EGAT ต่อด้วย (กรณีพิเศษ)
3.4. Stub Protection
(ห ม ำ ย เห ตุ : SIR = System Impedance Ratio of Transmission Line = ZS / ZL เมื่ อ ZS = Source
Impedance และ ZL = Line Impedance)
2

4. Capacitor Bank
4.1. C-Bank ระดับแรงดัน 22 kV หรือ 33 kV
4.2. C-Bank ระดับแรงดัน 69 kV หรือ 115 kV
4.3. C-Bank ระดับแรงดัน 230 kV
5. Shunt Reactor
5.1. Shunt Reactor ระดับแรงดัน 22 kV หรือ 33 kV
5.2. Shunt Reactor ระดับแรงดัน 500 kV
6. Breaker Failure Protection
7. ระบบคอมพิวเตอร์ควบคุม Supervisory Control And Data Acquisition
7.1. EGAT CCS
7.1.1. Computer CCS operator console
7.2. EGAT RTU
7.2.1. Control Output
7.2.2. Analog Input
7.2.3. Digital Input
8. Fault Recording System
9. Revenue Energy Meter
10. GPS System
11. Instrument Transformer
11.1. Current Transformer (CT)
11.2. Voltage Transformer (VT)
11.3. Capacitance-Coupled Voltage Transformer (CCVT)
3

1. Bus Bar Protection


Bus Bar ของ กฟผ. มี ก ำรจั ด เรีย งบั ส แบบ Main and Transfer, Double Main and Transfer, Ring
Bus, Breaker and a Half, Double Bus Single Breaker และ Double Bus Single Breaker with Transfer
Bus
กำรเลือกใช้ประเภทของ Bus Differential Relay ให้เป็นไปตำมข้อกำหนดดังนี้
 กรณี Bus Differential Relay 2 ชุด ให้เลือกใช้ 87BP เป็นแบบ low impedance type และ 87BS
เป็ น แบ บ high impedance type (ยกเว้ น สถำนี ไฟ ฟ้ ำที่ มี กำร switching CT ให้ ใช้ low
impedance type ทั้ง 2 ชุด)
 กรณี Bus Differential Relay 1 ชุด ให้เลือกใช้แบบ low impedance type
สถำนีไฟฟ้ำ 500 kV ทั้งหมดใช้ Bus Differential Relay 2 ชุด ส่วนสถำนีไฟฟ้ำระดับแรงดัน 115 kV และ
230 kV ใช้ Bus Differential Relay 1 ชุด ยกเว้นกรณีสถำนีไฟฟ้ำระดับแรงดัน 230 kV ตำมเงื่อนไขดังต่อไปนี้ที่ให้
ใช้ Bus Differential Relay 2 ชุด คือ
- สถำนีไฟฟ้ำระดับแรงดัน 230 kV ที่เชื่อมกับสถำนีไฟฟ้ำระดับแรงดัน 500 kV
- สถำนีไฟฟ้ำที่เชื่อมกับสถำนีไฟฟ้ำ Power Plant
- สถำนีไฟฟ้ำที่เชื่อมกับ Tie Line ระหว่ำงเขต
- สถำนีไฟฟ้ำในเขตนครหลวงและปริมณฑล
- สถำนีไฟฟ้ำในเขตอุตสำหกรรมและแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ
4

2. Transformer Protection
2.1. Loading Transformer Protection
กำรป้ อ งกัน หม้ อแปลง Loading ประกอบด้ ว ย Transformer Differential Relay (87K)
จ ำนวน 1 ชุ ด และ Over Current Relay (51) จ ำนวน 2 ชุ ด คื อ Transformer High-side
Overcurrent Relay (51T/51TG – three phase type), Transformer Low-side
Overcurrent Relay (51/51G – three phase type)
2.2. Tie Transformer Protection
2.2.1. หม้อแปลง 230/115 kV
กำรป้ อ งกั น หม้ อ แปลง Tie ประกอบด้ ว ย Transformer Differential Relay
(87K) จ ำนวน 1 ชุ ด , Over Current Relay (51) จ ำนวน 4 ชุ ด คื อ Transformer
High-side Overcurrent Relay (51T/51TG), Transformer Low-side
Overcurrent Relay (51/51G), Overcurrent ground back-up Relay (51GB1 –
set Long Time Inverse) และ Overcurrent ground back-up Relay (51GB2 –
set Very Inverse) จำนวน 1 ชุด
2.2.2. หม้อแปลง 500/230 kV
กำรป้ อ งกั น หม้ อ แปลง Tie ประกอบด้ ว ย Transformer Differential Relay
(87K) จำนวน 2 ชุด, Over Current Relay (51) จำนวน 4 ชุด Transformer High-
side Overcurrent Relay (51T/51TG), Transformer Low-side Overcurrent
Relay (51/51G), Overcurrent ground back-up Relay (51GB1 – set Long
Time Inverse) และ Overcurrent ground back-up Relay (51GB2 – set Very
Inverse) จำนวน 1 ชุด
หมำยเหตุ : 1. กรณี ที่ Tie Transformer ไม่ ไ ด้ จ่ ำ ยไฟ ให้ กั บ Station Service (ผ่ ำ นท ำง
tertiary winding) ไม่ต้องดึง CT ของ tertiary winding เข้ำ 87K แต่ให้เตรียม restraint winding
ของ 87K ให้เพียงพอต่อกำรใช้งำนในอนำคต
2. กรณี ที่ Tie Transformer จ่ ำ ยไฟให้ กั บ Station Service ผ่ ำ นทำง tertiary
winding ระบบป้องกันมีหลำยกรณีดังนี้
- จ่ ำ ย 1 feeder ระบบป้ อ งกั น ประกอบด้ ว ย Transformer Tertiary
Overcurrent Relay (51/51G) จ ำ น ว น 1 ชุ ด แ ล ะ Residual
Overvoltage relay (59N) จำนวน 1 ชุด
5

- จ่ ำ ยหลำย feeder โดยมี ทั้ ง 1 source และ 2 source ระบบป้ อ งกั น


ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย Transformer Tertiary Overcurrent Relay (51/51G)
จำนวน 1 ชุดต่อ 1 หม้อแปลง, Overcurrent Relay (51/51G) จำนวน 1 ชุด
ต่ อ 1 feeder และ Overcurrent Relay (51G) จ ำนวน 1 ชุ ด ส ำหรั บ
Grounding Transformer
6

3. Line Protection
(หมำยเหตุ : กรณีปรับปรุงระบบป้องกันของสำยส่งเดิม ระบบป้องกันสำยส่งจะใช้หลักกำรเดิม ยกเว้ นระดับ
แรงดัน 115 kV จะเพิ่ม Backup Protection ด้วย)
3.1. ระบบป้องกัน กฟผ. - กฟผ.
3.1.1. ระดับแรงดัน 115 kV
3.1.1.1. Line Protection ระยะใกล้ (SIR≥4)
กำรป้องกันสำยส่งระยะใกล้ประกอบด้วย Line Differential Relay
(87L) จ ำนวน 2 ชุ ด และ Auto Reclose Relay (25/79) จ ำนวน 1 ชุ ด
ต่อ 1 สำยส่ง

3.1.1.2. Line Protection ทั่วไป (SIR<4)


กำรป้ อ งกั น สำยส่ ง ทั่ ว ไปประกอบด้ ว ย Line Differential Relay
(87L) จ ำนวน 1 ชุ ด , Distance Relay (21BU) จ ำนวน 1 ชุ ด และ Auto
Reclose Relay (25/79) จำนวน 1 ชุด ต่อ 1 สำยส่ง
7

3.1.2. ระดับแรงดัน 230 kV


3.1.2.1. Line Protection ระยะใกล้ (SIR≥4)
กำรป้ อ งกั น สำยส่ ง ระยะใกล้ ป ระกอบด้ ว ย Line Differential Relay
(87L) จำนวน 2 ชุด, Auto Reclose Relay (25/79) จำนวน 1 ชุดและมีกำร
ส่งสัญญำณสื่อสำร Direct Transfer Trip (DTT) จำนวน 1 ชุด ต่อ 1 สำยส่ง

3.1.2.2. Line Protection ทั่วไป (SIR<4)


กำรป้ อ งกัน สำยส่ งทั่ วไปประกอบด้ ว ย Line Differential Relay (87L)
จ ำนวน 1 ชุ ด , Distance Relay-with POTT & DEF (21P) จ ำนวน 1 ชุ ด ,
Auto Reclose Relay (25/79) จ ำนวน 1 ชุ ด และมี กำรส่ งสั ญ ญำณสื่ อ สำร
Direct Transfer Trip (DTT) จำนวน 1 ชุด ต่อ 1 สำยส่ง
8

3.1.3. ระดับแรงดัน 500 kV


3.1.3.1. Line Protection ระยะใกล้ (SIR≥4)
กำรป้องกันสำยส่งระยะใกล้ประกอบด้วย Line Differential Relay
(87L) จำนวน 2 ชุด, Auto Reclose Relay (25/79) จำนวน 1 ชุดและมี
กำรส่งสัญญำณสื่อสำร Direct Transfer Trip (DTT) จำนวน 2 ชุด ต่อ 1
สำยส่ง

3.1.3.2. Line Protection ทั่วไป (SIR<4)


กำรป้ อ งกั น สำยส่ ง ทั่ ว ไปประกอบด้ ว ย Line Differential Relay
(87L) จำนวน 1 ชุด, Distance Relay-with POTT & DEF (21P) จำนวน
1 ชุด, Auto Reclose Relay (25/79) จำนวน 1 ชุดและมีกำรส่งสัญญำณ
สื่อสำร Direct Transfer Trip (DTT) จำนวน 2 ชุด ต่อ 1 สำยส่ง
9

3.1.3.3. Line Protection ทั่วไปติด Shunt Reactor


กำรป้องกันสำยส่งทั่ วไปที่ติด Shunt Reactor ประกอบด้วย Distance
Relay-with POTT & DEF (21P) จำนวน 2 ชุ ด , Auto Reclose Relay
(25/79) จำนวน 1 ชุ ดและมี กำรส่งสัญ ญำณสื่อสำร Direct Transfer Trip
(DTT) จำนวน 2 ชุด ต่อ 1 สำยส่ง

3.2. ระบบป้องกัน กฟผ. – กฟภ./กฟน.


3.2.1. Line Protection กฟผ. – กฟภ./กฟน. ระดับแรงดัน 69 kV และ 115 kV
3.2.1.1. Line Protection สำยส่งระยะใกล้ (SIR≥4)
- กำรป้องกันสำยส่งประกอบด้วย Line Differential Relay (87L) จำนวน 1
ชุ ด , Directional Overcurrent Relay (67/67N) จ ำนวน 1 ชุ ด , Auto
Reclose Relay (25/79) จ ำนวน 1 ชุ ด และมี ก ำรส่ ง สั ญ ญำณสื่ อ สำร
Direct Transfer Trip (DTT) จำนวน 1 ชุด ต่อ 1 สำยส่ง
- กำรส่งสัญ ญำณ DTT ระหว่ำง กฟผ. – กฟภ./กฟน. ให้ใช้ contact จำก
Breaker failure tripping and lockout relay (86BF) ส่ ง ผ่ ำ น ท ำ ง
Remote I/O ไปยัง 86DTT
10

3.2.1.2. Line Protection กฟผ. – กฟน. กรณีที่มีรั้วติดกันและสำมำรถดึง Control Cable ได้


- กำรป้องกันสำยส่งประกอบด้วย Bus Low Impedance Differential
Relay (87LB) จ ำ น ว น 1 ชุ ด , Directional Overcurrent Relay
(67/67N) จำนวน 1 ชุด และมีกำรส่งสัญ ญำณ Direct Transfer Trip
(DTT) จำนวน 1 ชุด ต่อ 1 สำยส่ง
- กำรส่ ง สั ญ ญำณ DTT ระหว่ ำ ง กฟผ. – กฟน. ให้ ใช้ contact จำก
Breaker failure tripping and lockout relay (86BF) ส่ ง ผ่ ำ น ท ำง
Control Cable ไปยั ง 86DTT โดยจุ ด Interface อยู่ ใน ตู้ Outdoor
Marshalling Cubicle

3.2.1.3. Line Protection ทั่วไป (SIR<4)


- กำรป้ อ งกั น สำยส่ ง ประกอบด้ ว ย Distance Relay-with POTT & DEF
(21P) จำนวน 1 ชุด, Directional Overcurrent Relay (67/67N) จำนวน
1 ชุ ด, Auto Reclose Relay (25/79) จำนวน 1 ชุด และเตรียมอุ ปกรณ์
สำหรับ ส่งสั ญ ญำณ Direct Transfer Trip (DTT) (กรณี เมื่ อมี ผู้ผลิต ไฟฟ้ ำ
รำยเล็ก SPP ขอเข้ำขนำนระบบ)
11

- ให้ออกแบบเตรียมไว้สำหรับกำรติดตั้งอุปกรณ์ Tele-protection ซึ่งจะถูก


ติดตั้งเมื่อ
o ผู้ผลิตไฟฟ้ำรำยเล็ก (SPP) ขอเข้ำขนำนระบบที่ กฟภ. SPPจะเป็น
ฝ่ำยรับผิดชอบค่ำใช้จ่ำยทั้งหมดเกี่ยวกับอุปกรณ์ Tele-protection
o ก ฟ ภ ./ก ฟ น . ท ำก ำร close loop ระ ห ว่ ำ งส ถ ำนี ไฟ ฟ้ ำข อ ง
กฟภ./กฟน. ซึ่ งรับ ไฟจำกต้ นทำง กฟผ. เดีย วกัน ทำง กฟภ./กฟน.
จะแจ้ ง ให้ กฟ ผ. ท รำบ เพื่ อ จั ด ซื้ อ และติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ์ Tele-
protection โดยต่ำงฝ่ำยต่ำงรับผิดชอบค่ำใช้จ่ำย

3.2.2. Line Protection กฟผ. – กฟน. ระดับแรงดัน 230 kV


กำรป้ องกัน สำยส่งทั่ วไปประกอบด้ วย Line Differential Relay (87L) จำนวน 1
ชุ ด , Distance Relay-with POTT & DEF (21P) จ ำนวน 1 ชุ ด , Auto Reclose Relay
(25/79) จำนวน 1 ชุดและมีกำรส่งสัญญำณสื่อสำร Direct Transfer Trip (DTT) จำนวน
1 ชุด ต่อ 1 สำยส่ง
12

3.3. ระบบป้องกัน กฟผ. – SPP/IPP


ระบบป้ องกัน กฟผ. – IPP ให้ มีการออกแบบตาม Power Purchase Agreement (PPA)
ส่วนระบบป้องกัน กฟผ. – SPP มีรำยละเอียดดังนี้
3.3.1. สฟ. EGAT 2 (Radial) ต่อตรงกับ SPP โดยไม่ผ่ำน PEA

รำยละเอียดด้ำนอุปกรณ์และระบบป้องกันประกอบด้วย
- ไม่ต้องเพิ่ม BKR. และระบบป้องกันให้กับสำยส่งด้ำน incoming ของ สฟ. EGAT 2
- ระบบป้องกันเชื่อมโยงระหว่ำง สฟ. EGAT 2 กับ SPP มี 2 แบบ ให้เลือกใช้งำนคือ
o Line Current Differential Relay (primary) แ ล ะ Distance Relay
(backup)
o Distance Relay พ ร้ อ ม กั บ ระ บ บ Tele-protection (primary) แ ล ะ
Distance Relay (backup)
- มี ร ะบบกำรส่ ง สั ญ ญำณ Direct Transfer Trip (DTT) และระบบสื่ อ สำร
ระหว่ำง สฟ. EGAT 1 – SPP

- มี ร ะ บ บ ก ำ ร ส่ ง สั ญ ญ ำ ณ Direct Transfer Trip (DTT), ร ะ บ บ Tele-


protection และระบบสื่อสำรระหว่ำง สฟ. EGAT 2 – SPP
13

3.3.2. สฟ. EGAT 2 (Loop) จ่ำยไฟให้กับ สฟ. PEA และมี SPP จ่ำยเข้ำกับ สฟ. PEA

รำยละเอียดด้ำนอุปกรณ์และระบบป้องกันประกอบด้วย
- ระ บ บ ป้ อ งกั น ระ ห ว่ ำง ส ฟ . EGAT 2 กั บ ส ฟ . PEA เป็ น Line Current
Differential Relay (primary) และ Distance Relay (backup) ทั้ ง นี้ ระหว่ ำ ง
สฟ. PEA กั บ SPP จะต้ อ งมี Tele-protection ให้ ส อดคล้ อ งกั บ ข้ อ ก ำหนด
ออกแบบใหม่
- ระบบกำรส่งสัญญำณ Direct Transfer Trip (DTT) และระบบสื่อสำรระหว่ำง สฟ.
EGAT 2 – SPP

3.3.3. สฟ. EGAT 2 (Radial) ต่อตรงกับ SPP โดยผ่ำนสำยส่งของ PEA

รำยละเอียดด้ำนอุปกรณ์และระบบป้องกันประกอบด้วย
- ไม่ต้องเพิ่ม BKR. และระบบป้องกันให้กับสำยส่งด้ำน incoming ของ สฟ. EGAT 2
- ระบบป้ อ งกั น เชื่ อ มโยงระหว่ ำ ง สฟ. EGAT 2 กั บ SPP เป็ น Distance Relay
พร้ อ มกั บ ระบบ Tele-protection (primary) และ Directional Overcurrent
Relay -67/67N (backup) โดย Distance Relay ต้ องรองรับ กำรเปลี่ ยน group
setting ด้วย cut-off switch ได้ เพื่อใช้ในกรณีที่ by-pass switch ระหว่ำง สฟ.
EGAT 2 และ สฟ. PEA เปิดหรือปิด
14

- มี ร ะบบกำรส่ ง สั ญ ญำณ Direct Transfer Trip (DTT) และระบบสื่ อ สำร


ระหว่ำง สฟ. EGAT 1 – SPP

- มี ร ะ บ บ ก ำ ร ส่ ง สั ญ ญ ำ ณ Direct Transfer Trip (DTT), ร ะ บ บ Tele-


protection และระบบสื่อสำรระหว่ำง สฟ. EGAT 2 – SPP

3.3.4. สฟ. EGAT 2 (Radial จำก source ใหญ่ ) ต่ อตรงกับ SPP และมี Generator ขนำด
เล็กของ EGAT ต่อด้วย

รำยละเอียดด้ำนอุปกรณ์และระบบป้องกันประกอบด้วย
- ไม่ ต้ อ งเพิ่ ม BKR. และระบบป้ อ งกั น ให้ กั บ สำยส่ ง ด้ ำ น incoming ของ สฟ.
EGAT 2
- ระบบป้ องกัน เชื่ อมโยงระหว่ำ ง สฟ. EGAT 2 กับ SPP เป็ น Distance Relay
พร้อมกับระบบ Tele-protection (primary) และ Directional Overcurrent
Relay -67/67N (backup)
- มี Direct Transfer Trip (DTT) และระบบสื่อสำรระหว่ำง สฟ. EGAT 1 – SPP
15

- มี ระบบกำรส่ งสั ญ ญำณ Direct Transfer Trip (DTT), ระบบ Tele-protection


และระบบสื่อสำรระหว่ำง สฟ. EGAT 2 – SPP

3.4. Stub Protection


Stub Protection (51S/51SG) มีเฉพาะกรณีสายส่ง ที่ใช้ Distance Relay (21P) ป้องกัน จะ
ติดตั้งเมื่อมีใบมีดหน้าสายส่ง

4. Capacitor Bank
Capacitor Bank (C-Bank) ทำหน้ำที่จ่ำย VAR เข้ำระบบ เพื่อลดกำลังงำนสูญเสียที่เกิดขึ้นในระบบ
4.1. C-Bank ระดับแรงดัน 22 kV หรือ 33 kV
กำรป้องกัน C-Bank ประกอบด้วย Overvoltage Relay (59C) จำนวน 1 ชุด, System Bus
Voltage Unbalance Sensing Relay (60CH) จำนวน 1 ชุด และ C-Bank Voltage Unbalance
Sensing Relay (60CL) จำนวน 1 ชุด
4.2. C-Bank ระดับแรงดัน 69 kV หรือ 115 kV
กำรป้ องกัน C-Bank ประกอบด้ ว ย Overvoltage Relay (59C) จ ำนวน 1 ชุ ด , Unbalance
Sensing Relay (alarm&trip)(60C) จ ำน ว น 2 ชุ ด , C-Bank Overcurrent Relay (51C/51CG)
จำนวน 1 ชุด และ AC Undervoltage Relay (27C) จำนวน 1 ชุด
4.3. C-Bank ระดับแรงดัน 230 kV
กำรป้ องกัน C-Bank ประกอบด้ ว ย Overvoltage Relay (59C) จ ำนวน 1 ชุ ด , Unbalance
Sensing Relay (alarm&trip)(60C) จำนวน 2 ชุด และ C-Bank Overcurrent Relay (51C/51CG)
จำนวน 1 ชุด
16

5. Shunt Reactor
Shunt Reacor ทำหน้ำที่รับ VAR ในระบบ เมื่อภำวะกำรใช้กำลังไฟฟ้ำต่ำ ทำให้แรงดันไฟฟ้ำ
ปลำยทำงไม่สูงจนเกินไป
5.1. Shunt Reactor ระดับแรงดัน 22 kV หรือ 33 kV
กำรป้ องกัน Shunt Reactor ประกอบด้ว ย Reactor Overcurrent Relay (51R/51RG)
จ ำนวน 1 ชุ ด , Reactor Differential Relay (87R) จ ำนวน 1 ชุ ด และ Neutral Reactor
Overvoltage Relay (59N) จำนวน 1 ชุด
5.2. Shunt Reactor ระดับแรงดัน 500 kV
กำรป้ อ งกั น Shunt Reactor ประกอบด้ ว ย Reactor Overcurrent Relay (51R/51RG)
จ ำ น ว น 1 ชุ ด , Reactor Differential Relay (87R) จ ำ ว น ว น 1 ชุ ด , Neutral Reactor
Differential Relay (87RN) จำนวน 1 ชุด และ AC Undervoltager Relay (27R) จำนวน 1 ชุด

6. Breaker Failure Protection


Breaker Failure Protection (50BF) ทาหน้าที่ตรวจจับการทางานและป้องกันกำรทำงำนผิดพลำด
ของ Power Circuit Breaker โดยเมื่อเกิด Breaker Failure จะมีกำรส่งสัญญำณให้ Breaker ข้ำงเคียงทำกำร
ตัดวงจรแทน และให้ติด Breaker Failure Protection (50BF) ทุก Breaker

7. ระบบคอมพิวเตอร์ควบคุม SCADA (Supervisory Control And Data Acquisition)


ระบบคอมพิวเตอร์ควบคุมสถำนีไฟฟ้ำแรงสูง ให้ใช้ EGAT SCADA ที่พัฒนำโดยโดย กฟผ. ซึ่งในกำร
ควบคุม, แลกเปลี่ยนข้อมูลกับศูนย์ควบคุม , เฝ้ำดูแล, เตือนและรำยงำนเหตุกำรณ์ต่ำงๆที่เกิดขึ้น ให้แก่ผู้ควบคุม
ภำยในระบบ ประกอบด้ ว ย EGAT CCS (Computerized Control System) และ EGAT RTU (Remote
Terminal Unit)
7.1. EGAT CCS ประกอบด้วย
7.1.1. Computer CCS operator console
ทำหน้ำที่รับกำรควบคุม, HMI และแลกเปลี่ยนข้อมูลกับศูนย์ควบคุม
7.2. EGAT RTU แบ่ ง ตำมโครงสร้ำ งมี ส่ ว นประกอบดั ง นี้ Control Output, Analog Input และ
Digital Input
7.2.1. Control Output
17

ท ำหน้ ำ ที่ แ ปลงสั ญ ญำณค ำสั่ ง ควบคุ ม อุ ป กรณ์ ไ ด้ แ ก่ ปรั บ Tap หม้ อ แปลง,
close/open Breaker, close/open Disconnect Switch, on/off Auto Reclose และ
Transfer Trip จำกComputer CCS โดยผ่ ำ น Interposing Relay (IP Panel) เพื่ อ
ควบคุมอุปกรณ์
7.2.2. Analog Input
ท ำหน้ ำ ที่ รั บ สั ญ ญำณ ทำงไฟฟ้ ำ (Volt, Ampere, Watt-Var) โดยแปลงค่ ำ ให้
เหมำะสมจำกอุปกรณ์ Transducer (TDR Panel) ส่งให้ Computer CCS ได้แก่ Current
Transformer, Potential Transformer, Transformer Tap Position, Transformer
Winding Temperature, Control and Relay Building
7.2.3. Digital Input
ท ำหน้ ำ ที่ รับ สั ญ ญำณ, ข้ อ มู ล , เหตุ ก ำรณ์ จำกอุ ป กรณ์ ต่ ำ งๆ เพื่ อ รวบรวมและ
แยกแยะ ส่ ง ให้ Computer CCS ได้ แ ก่ status Breaker, status Disconnect Switch,
CUT-OFF Switch ต่ า ง ๆ , Reclosing, Protective Relay operate, Line
Undervoltage Alarm Relay, Relay Information and Remote Setting,
Substation Equipment Troubles และอื่นๆ
กำร Interface ของระบบ EGAT RTU เป็นไปตำมรูปแบบดังนี้
18

8. Fault Recording System


ระบบตรวจจับและเก็บข้อมูลควำมเร็วสูงขณะเกิดข้อผิดพลำดในระบบ เพื่อนำมำวิเครำะห์หำสำเหตุ
กำรเกิ ด ควำมผิ ด พลำดของระบบ ก ำหนดให้ ใช้ แ บบ Microprocessor-based มี จ านวน Analog Input
(Current Transformer, Voltage Transformer) และ Digital Input (Contact T r i p B r e a k e r )
เพี ย งพอกับ การใช้ งานตามมำตรฐำนการนำสั ญ ญาณเข้า FRS ของ กฟผ. โดย FRS จะต้ องท ำงำน trigger
อัตโนมัติ, บันทึกข้อมูล, ส่งข้อมูลให้ศูนย์ควบคุมและต้องมี function Phase Measurement Unit (PMU) ทำ
หน้ ำที่ วิเครำะห์ ระบบ ซึ่งรับ ทุกสัญ ญำณ analog และสำมำรถติ ดต่ อกับ Phasor Data Connection (PDC)
ของ กฟผ. เดิมที่มีอยู่ในระบบได้ โดยทุกสถำนีไฟฟ้ำ ทุกระดับแรงดันให้มี FRS ทั้งหมด
(หมำยเหตุ : สถานีไฟฟ้าเก่าให้ติดตั้งเพิ่มกรณีที่มีการปรับปรุงสถำนี)
กำร Interface ของระบบ EGAT FRS เป็นไปตำมรูปแบบดังนี้

9. Revenue Energy Meter


อุป กรณ์ วัดค่ำ kWatt – hours และค่า kVar – hours โดยมีค่าความแม่ นย า class 0.2s สาหรับ
kWatt – hours และ class 0.5s สำหรับ kVar – hours ทั้งสองค่ำจะต้องมีควำมละเอียดของข้อมูลอย่ำงน้อย 7
หลัก Revenue Energy Meter จะต้องมีกำรตั้งค่ำตัวแปรต่ำงๆสำหรับใส่ค่ำข้อมูลเรียบร้อยแล้ว
กำหนดให้ออกแบบมี Revenue Energy Meter 2 ชุด ต่อ 1 สำยส่งที่เชื่อมต่อกับสำยส่งลูกค้ำ (Main
Meter และ Check Meter) ติดตั้งในตู้ Meter Panel โดยแยกลูกค้ำ 1 รำยต่อ 1 ตู้

10. GPS System


GPS System ประกอบด้วย GPS Receiver, GPS Antenna, Cable และ Accessories โดยอุปกรณ์
GPS Receiver จะถูกเชื่อมต่อกับ Master FRS, Protection equipment, Metering equipment and RTUs
19

11. Instrument Transformer


11.1. Current Transformer (CT) ใช้ Class ดังต่อไปนี้
Relaying Class Metering Class
ระดับแรงดัน (kV)
ANSI/IEEE IEC ANSI/IEEE IEC
22 C400 , C1000 - 0.3 -
33 C400 , C800 - 0.3 -
69 C400 - 0.3 -
115 C400 , C800 - 0.3 0.2S
230 C400 , C800 - 0.3 0.2S
500 - 5P20 / TPY - 0.2S

11.2. Voltage Transformer (VT) ใช้ Class ดังต่อไปนี้


Relaying Class Metering Class
ระดับแรงดัน (kV)
ANSI/IEEE IEC ANSI/IEEE IEC
22 - - 0.3 0.2
33 - - 0.3 0.2

11.3. Capacitance-Coupled Voltage Transformer (CCVT) ใช้ Class ดังต่อไปนี้


Relaying Class Metering Class
ระดับแรงดัน (kV)
ANSI/IEEE IEC ANSI/IEEE IEC
69 1.2R 3P 0.3 -
115 1.2R 3P 0.3 0.2
230 1.2R 3P 0.3 0.2
500 1.2R 3P - 0.2
20

Protective Device Number


เพื่อกำหนดกำรใช้งำนหมำยเลขของอุปกรณ์ป้องกันต่ำง ๆ ใน drawing ของระบบควบคุมและป้องกัน
ซึ่ ง ได้ แ ก่ Metering and Relaying Diagram (E-1), Panel Equipment Layout (E-2), Protective Device
Function (E-3), AC Schematic Diagram (E-5), DC Schematic Diagram (E-6), แ ล ะ Wiring Diagram
(E-8) ให้สอดคล้องและเป็นมำตรฐำนเดียวกัน ให้ใช้ Protective Device Number ตำมประเภทและหน้ำที่กำร
ป้องกันดังนี้

1. Loading Transformer Protection แสดงตำมตำรำงที่ 1


2. Tie Transformer Protection แสดงตำมตำรำงที่ 2
3. Bus Zone Protection แสดงตำมตำรำงที่ 3
4. Breaker Protection แสดงตำมตำรำงที่ 4
5. Line Protection แสดงตำมตำรำงที่ 5
6. Shunt Reactor Protection แสดงตำมตำรำงที่ 6
7. Capacitor Bank Protection แสดงตำมตำรำงที่ 7
21

ตารางที่ 1 Protective Device Number สำหรับ Loading Transformer Protection

Relay or Drawing Function


Equip. E-1 E-2 E-3 E-5,6&8
87K 87Ka 87Ka-A 87Ka 87Ka-A Transformer Differential Relay
87Ka-B 87Ka-B (single phase type)
87Ka-C 87Ka-C
87K 87Ka 87Ka 87Ka 87Ka Transformer Differential Relay
(three phase type)
86K - 86Ka 86Ka 86Ka Transformer Auxiliary Tripping
and Lockout Relay
86A - - 86Aa 86Aa Transformer Tripping and
Lockout Relay
(self protection)
51T/51TG 51Ta 51Ta-A 51Ta/51TGa 51Ta-A Transformer Overcurrent Relay
51TGa 51Ta-B 51Ta-B (single phase type)
51Ta-C 51Ta-C
51Ta-G 51Ta-G
51T/51TG 51Ta 51Ta/51TGa 51Ta/51TGa 51Ta/51TGa Transformer Overcurrent Relay
51TGa (three phase type)
51/51G 51-a 51-a-A 51-a /51Ga 51-a-A Feeder Overcurrent Relay
51Ga 51-a-B 51-a-B (single feeder, single phase
51-a-C 51-a-C type)
51-a-G 51-a-G
51-ab 51-ab-A 51-ab 51-ab-A Feeder Overcurrent Relay
51Gab 51-ab-B /51Gab 51-ab-B (multiple feeder, single phase
51-ab-C 51-ab-C type)
51-ab-G 51-ab-G
51/51G 51-a 51-a/51Ga 51-a/51Ga 51-a/51Ga Feeder Overcurrent Relay
51Ga (single feeder, three phase
type)
51-ab 51-ab/51Gab 51-ab/51Gab 51-ab/51Gab Feeder Overcurrent Relay
51Gab ab/51Gab (multiple feeder, three phase
ab/51Gab type)
22

ตารางที่ 1 (ต่อ)

Relay or Drawing Function


Equip. E-1 E-2 E-3 E-5,6&8
51X - - 51Xa 51Xa Feeder Overcurrent Auxiliary
- - 51Xab 51Xab Tripping Relay
87K-CO - 87Ka-CO - 87Ka-CO Transformer Differential
Cut-off Switch
86A-CO - - - 86Aa-CO Transformer Self Protection
Cut-off Switch
51OL 51OLa 51OLa 51OLa 51OLa Overload Relay
(สำหรับหม้อแปลงที่ใช้งำน
overload, ต่อกับ phase B)
51OL-CO - 51OL-CO 51OL-CO 51OL-CO Overload Relay Cut-off Switch
81 81-a 81-a 81-a 81-a Frequency Relay
(ใช้ตำมควำมจำเป็นของระบบ)
81CO - 81-a-CO - 81-a-CO Frequency Relay Cut-off Switch
27UF 27UFa 27UFa - 27UFa AC Under Voltage Alarm Relay
(single phase type, ใช้ร่วมกับ 81)
27SD 27SD 27SD 27SD 27SD AC
81 Under Voltage Relay for
Load Shedding (single phase
type, ใช้ตำมควำมจำเป็นของระบบ)
27SD-CO - 27SD-CO 27SD-CO 27SD-CO Load Shedding Cut-off Switch

คำอธิบำย
1. a คือ หมำยเลขของหม้อแปลง
 สำหรับ Loading Transformer ขนำดตั้งแต่ 12.5 MVA ขึ้นไปขนำนกัน จะมีรูปแบบ
87K1&2, 86K1&2 หมำยถึง overall relay ของหม้อแปลง KT1A และ KT2A
2. ab ใช้สำหรับ Feeder Overcurrent Relay ของหม้อแปลงที่มีหลำย feeder โดย a เป็นหมำยเลข
หม้อแปลง และ b เป็นหมำยเลข feeder นับ 1, 2, 3, ... จำก device No. ของอุปกรณ์
3. กำรใช้งำน protective device number ของ Loading Transformer ให้ใช้ตำมรูปที่ 1
23

ตารางที่ 2 Protective Device Number สำหรับ Tie Transformer Protection


Relay or Drawing Function
Equip. E-1 E-2 E-3 E-5,6&8
87K 87KaP 87KaP-A 87KaP 87KaP-A Transformer Differential Relay
87KaP-B 87KaP-B (single phase type)
87KaP-C 87KaP-C
87KaS 87KaS-A 87KaS 87KaS-A
87KaS-B 87KaS-B
87KaS-C 87KaS-C
87K 87KaP 87KaP 87KaP 87KaP Transformer Differential Relay
87KaS 87KaS 87KaS 87KaS (three phase type)
86K - 86KaP 86KaP 86KaP Transformer Auxiliary Tripping and
- 86KaS 86KaS 86KaS Lockout Relay
86A - - 86Aa 86Aa Transformer Tripping and Lockout
Relay (self protection)
51T/51TG 51Ta 51Ta-A 51Ta/51TGa 51Ta-A Transformer High-side Overcurrent
51TGa 51Ta-B 51Ta-B Relay (single phase type)
51Ta-C 51Ta-C
51Ta-G 51Ta-G
51T/51TG 51Ta 51Ta/51TGa 51Ta/51TGa 51Ta/51TGa Transformer High-side Overcurrent
51TGa Relay (three phase type)
51/51G 51-a 51-a-A 51-a/51Ga 51-a-A Transformer Low-side Overcurrent
51Ga 51-a-B 51-a-B Relay (single phase type)
51-a-C 51-a-C
51-a-G 51-a-G
51-ab 51-ab-A 51-ab/51Gab 51-ab-A Transformer Tertiary Overcurrent
51Gab 51-ab-B 51-ab-B Relay (single phase type)
51-ab-C 51-ab-C

51/51G 51-a/51Ga 51-a/51Ga 51-a/51Ga 51-a/51Ga


Transformer Low-side Overcurrent
relay (Three phase type)
51-ab/51Gab 51-ab/51Gab 51-ab/51Gab 51-ab/51Gab Transformer Tertiary Overcurrent
relay (Three phase type)
59N 59N-a 59N-a - 59N-a Residual Overvoltage relay
87K-CO - 87KaP-CO - 87KaP-CO Transformer differential Cut-off
- 87KaS-CO - 87KaS-CO switch
86A-CO - - - 86Aa-CO Transformer Self Protection Cut-off
51GB 51GB1-a 51GB1-a 51GB1-a 51GB1-a Overcurrent
switch ground back-up relay
51GB2-a 51GB2-a 51GB2-a 51GB2-a 1- Long Time Inverse, 2- Very Inverse
24K 24Ka 24Ka 24Ka 24Ka Transf. overfluxing (V/Hz) relay
Time characteristic
24

คำอธิบำย
1. a คือ หมำยเลขของหม้อแปลง
2. ab ใช้สำหรับ Feeder Overcurrent Relay ของหม้อแปลงที่มีหลำย feeder โดย a เป็นหมำยเลข
หม้อแปลง และ b เป็นหมำยเลข feeder นับ 1, 2, 3, ... จำก device No. ของอุปกรณ์
3. ข้อกำหนดสำหรับ Transformer Differential Relay
 กรณี หม้อแปลง 500/230 kV ใช้ชุดป้องกัน 2 ชุด ดังนี้
- P คือ ชุดป้องกันชุดที่ 1 (Primary Protection)
- S คือ ชุดป้องกันชุดที่ 2 (Secondary Protection)
 กรณี หม้อแปลง 230/115 kV ใช้ชุดป้องกัน 1 ชุด ไม่ต้องมีตัวต่อท้ำย P, S
25

รูปที่ 1 กำรใช้ Protective Device Number สำหรับ Loading Transformer


26

ตารางที่ 3 Protective Device Number สำหรับ Bus Zone Protection

Relay or Drawing Function


Equip. E-1 E-2 E-3 E-5,6&8
87B 87BaP 87BaP-A 87BaP 87BaP-A Bus Differential Relay
87BaP-B 87BaP-B (single phase type)
87BaP-C 87BaP-C
87BaS 87BaS-A 87BaS 87BaS-A
87BaS-B 87BaS-B
87BaS-C 87BaS-C
87B 87BaP 87BaP 87BaP 87BaP Bus Differential Relay
87BaS 87BaS 87BaS 87BaS (three phase type)
86B - 86BaP-b 86BaP-b 86BaP-b Bus Differential Auxiliary Tripping
- 86BaS-b 86BaS-b 86BaS-b and Lockout Relay
87B-CO - 87BaP-CO - 87BaP-CO Bus Differential Cut-off Switch
- 87BaS-CO - 87BaS-CO
95B 95BaP 95BaP - 95BaP Bus Wire Supervision Relay
95BaS 95BaS - 95BaS

คำอธิบำย
1. a คือ หมำยเลขของบัส
2. ข้อกำหนดสำหรับ Bus Differential Relay
 กรณีเงื่อนไขดังต่อไปนี้ที่ให้ใช้ Bus Differential Relay 2 ชุด / 1 บัส คือ
- สถำนีไฟฟ้ำระดับแรงดัน 500 kV
- สถำนีไฟฟ้ำระดับแรงดัน 230 kV ที่เชื่อมกับสถำนีไฟฟ้ำระดับแรงดัน 500 kV
- สถำนีไฟฟ้ำระดับแรงดัน 230 kV ที่เชื่อมกับสถำนีไฟฟ้ำ Power Plant
- สถำนีไฟฟ้ำระดับแรงดัน 230 kV ที่เชื่อมกับ Tie Line ระหว่ำงเขต
- สถำนีไฟฟ้ำระดับแรงดัน 230 kV ในเขตนครหลวงและปริมณฑล
- สถำนีไฟฟ้ำระดับแรงดัน 230 kV ในเขตอุตสำหกรรมและแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ
โดย P คือ ชุดป้องกันชุดที่ 1 (Primary Protection) และ S คือ ชุดป้องกันชุดที่ 2 (Secondary
Protection)
 กรณีสำหรับสถำนีไฟฟ้ำระดับแรงดัน 115 kV และ 230 kV ทั่วไปให้ใช้ Bus Differential
Relay 1 ชุด / 1 บัส
27

- ไม่ต้องมีตัวต่อท้ำย P, S สำหรับสถำนีไฟฟ้ำแรงดัน 115 kV Breaker and a Half


- ไม่ต้องมีตัวต่อท้ำย P, S และ a สำหรับสถำนีไฟฟ้ำแรงดัน 115 kV Main and Transfer
 กรณีสำหรับสถำนีไฟฟ้ำระดับแรงดัน 115 kV Double Main and Transfer Bus ให้ใช้ Bus
Differential Relay แบบ low impedance type1 ชุด / 1 บัส (ป้องกันแยกบัส)

3. กำรเลือกใช้ประเภทของ Bus Differential Relay ให้เป็นไปตำมข้อกำหนดดังนี้


 กรณี Bus Differential Relay 2 ชุด ให้เลือกใช้ 87BP เป็นแบบ low impedance type และ
87BS เป็นแบบ high impedance type (ยกเว้นสถำนีไฟฟ้ำที่มีกำร switching CT ให้ใช้ low
impedance type ทั้ง 2 ชุด)
 กรณี Bus Differential Relay 1 ชุด ให้เลือกใช้แบบ low impedance type
4. สำหรับ 86B ปกติจะไม่มี suffix(b) ต่อท้ำย ยกเว้นกรณี contact ไม่พอ จำเป็นต้องเพิ่ม 86B มำอีกหนึ่ง
ตัว โดยใช้ชื่อว่ำ 86B-1
5. กำรพิจำรณำปรับปรุง Bus Differential Relay เดิมที่ใช้ แบบ high impedance type ให้พิจำรณำบน
เงื่อนไขดังนี้
 สถำนีไฟฟ้ำที่มีกำรเพิ่ม Bay ที่มี Rated สูงกว่ำ Bay เดิมให้ทำกำรเปลี่ยน Bus Differential
Relay เป็น แบบ low impedance type (แทนกำรจัดหำ CT พิเศษที่มี 2 Full Ratio มำใช้งำน)
28

ตารางที่ 4 Protective Device Number สำหรับ Breaker Protection

Relay or Drawing Function


Equip. E-1 E-2 E-3 E-5,6&8
50BF 50BF-BKR 50BF-BKR 50BF-BKR 50BF-BKR Current Detector Relay
62BF - 62BF-BKR 62BF-BKR 62BF-BKR Breaker Failure Timer
50BF 50BF-BKR 50BF-BKR 50BF-BKR 50BF-BKR Breaker Failure Relay
62BF (กรณี 62BF รวมกับ 50BF)
86BF - 86BF-BKR 86BF-BKR 86BF-BKR Breaker Failure Auxiliary
Tripping and Lockout Relay
62EF - - 62EF-BKR 62EF-BKR End-fault Protection Timer
86EF - 86EF-BKR 86EF-BKR 86EF-BKR End-fault Protection
Tripping and Lockout Relay
50BFCO - 50BFCO - 50BFCO-BKR Breaker Failure Cut-off
Switch
62PD - 62PD-BKR 62PD-BKR 62PD-BKR Pole Disagreement Relay
95TCS - 95TCS1-BKR-A 95TCS1-BKR 95TCS1-BKR-A Trip Circuit Supervision
95TCS1-BKR-B 95TCS1-BKR-B Relay (coil no. 1)
95TCS1-BKR-C 95TCS1-BKR-C
95TCS2-BKR-A 95TCS2-BKR 95TCS2-BKR-A Trip Circuit Supervision
95TCS2-BKR-B 95TCS2-BKR-B Relay (coil no. 2)
95TCS2-BKR-C 95TCS2-BKR-C

คำอธิบำย
1. BKR คือ หมำยเลขของ Breaker แสดงด้วยตัวเลข 3 หลัก โดยเลขหลักที่หนึ่งหมำยถึงระดับแรงดัน
(6 = 69 kV, 7 = 115 kV, 8 = 230 kV และ 9 = 500 kV) หลักที่ 2 และ 3 หมำยถึงตำแหน่งของ
Breaker ตัวอย่ำงกำรตั้งชื่อ breaker failure protection relay แยกตำมประเภทของ bus
arrangement ดังนี้
 Main and Transfer Bus, Ring Bus, Double Bus Single Breaker: BKR. 6922, 70082,
80012, 90082 จะตั้งชื่อ breaker failure protection relay เป็น 50BF-602, 50BF-708,
50BF-801, 50BF-908 ตำมลำดับ
 Breaker and a Half, Double Bus Double Breaker, Double Bus Double Breaker
with Transfer Bus, Double Main and Transfer Bus: BKR. 70112, 80122, 90132 จะ
ตั้งชื่อ breaker failure protection relay เป็น 50BF-711, 50BF-812, 50BF-913
ตำมลำดับ
29

 กรณี สฟ. มีมำกกว่ำ 10 bay กำรตั้งชื่อ breaker Failure protection relay ของ BKR. ของ
bay ที่ 10 เป็นต้นไปจะมี 4 หลัก เช่น BKR. 701112 จะตั้งชื่อ breaker failure protection
relay เป็น 50BF-7111
2. End-fault Protection มีเฉพำะในระดับแรงดัน 500kV โดย End-fault Protection Tripping and
Lockout Relay (86EF) มีเฉพำะในวงจรของ Breaker ตัวกลำงในกำรจัดเรียงบัสแบบ Breaker and a
Half เท่ำนั้น
30

ตารางที่ 5 Protective Device Number สำหรับ Line Protection

Relay or Drawing Function


Equip. E-1 E-2 E-3 E-5,6&8
21 21Pa 21Pa 21Pa 21Pa Distance Relay, Primary
Protection (500 kV)
21P 21P 21P 21P Distance Relay, Primary
Protection
21BU 21BU 21BU 21BU Distance Relay, Backup Protection
21-SG - 21P-SG - 21P-SG Distance (21P)–Setting Group
- 21P2-SG - Selector Switch
21P2-SG Distance (21P2)–Setting Group
- 21BU-SG - 21BU-SG Distance
Selector Switch
(21BU)–Setting Group
24L 24L 24L 24L 24L Selector
Line Overfluxing
Switch (V/Hz) Relay
87L 87La 87La-A 87La 87La-A Line Differential Relay
87La-B 87La-B (single phase type)
87La-C 87La-C
87L 87La 87La 87La 87La Line Differential Relay (three
phase type)
86L - 86L 86L 86L Line Differential Auxiliary
Tripping and Lockout Relay
87L-CO - 87L-CO - 87L-CO Line Differential Cut-off Switch
79 79 79 - 79 Auto Reclosing Relay
79-CO - 79-CO - 79-CO Auto Reclosing Cut-off Switch
25 25 25 - 25 Synchronism Check Relay
79+25 79 79+25 - 79+25 Auto Reclosing and Synchronism
25 Check Relay, กรณีรวมกัน
94P - 94P1-A 94P1-A,B,C 94P1-A High Speed Auxiliary Tripping
94P1-B 94P1-B สRelay,
ำหรับ Line Primary 1 Protection
94P1-C 94P1-C กรณี single phase trip (87L1, 21P1,
87L)
- 94P2-A 94P2-A,B,C 94P2-A High Speed Auxiliary Tripping
94P2-B 94P2-B สrelay,
ำหรับ Line Primary 2 Protection
94P2-C 94P2-C กรณี single phase trip (87L2, 21P2,
21P)
31

ตารางที่ 5 (ต่อ)

Relay or Drawing Function


Equip. E-1 E-2 E-3
E-5,6&8
94P - 94P1 94P1 94P1 High Speed Auxiliary Tripping Relay,
สำหรับ Line Primary 1 Protection กรณี
three phase trip (87L1, 21P1, 87L)
- 94P2 94P2 94P2 High Speed Auxiliary Tripping relay,
สำหรับ Line Primary 2 Protection กรณี
three phase trip (87L2, 21P2, 21P)
94P - 94P 94P 94P High Speed Auxiliary Tripping Relay,
สำหรับ 115 kV Primary และ Backup
94BU - 94BU 94BU 94BU Protection กรณี three phase trip
(87L, 21BU)
51S/51SG 51S/51SG 51S-A 51S/51SG 51S-A Stub Protection
51S-B 51S-B (single phase type)
51S-C 51S-C
51SG 51SG
51S/51SG 51S/51SG 51S/51SG 51S/51SG 51S/51SG Stub Protection
(three phase type)
51S-CO - 51S-CO - 51S-CO Stub Protection Cut-off Switch
86S - 86S 86S 86S Stub Auxiliary Tripping
and Lockout Relay
67/67N 67/67N 67/67N 67/67N 67/67N Directional Overcurrent Relay
for 115 kV Line to PEA
(ดูคำอธิบำย 3)
67X - 67X 67X 67X Directional Overcurrent Auxiliary
Tripping Relay
86DTT - 86DTT 86DTT 86DTT Direct Transfer Trip Auxiliary
Tripping and Lockout Relay
86DTT-CO - 86DTT-CO - 86DTT-CO Direct Transfer Trip Cut-off Switch
85-CO - 85-CO - 85-CO Carrier Cut-off Switch
51OL 51OL 51OL 51OL 51OL Overload Relay (ดูคำอธิบำย 4)
51OL-CO - 51OL-CO - 51OL-CO Overload Relay Cut-off Switch
32

ตารางที่ 5 (ต่อ)

Relay or Drawing Function


Equip. E-1 E-2 E-3 E-5,6&8
94TT - 94TTa - 94TTa High Speed Auxiliary Transfer Trip
62TT - 62TTa - 62TTa Relay Trip Time Delay Relay
Transfer
86TT - 86TTa - 86TTa Transfer Trip Auxiliary Tripping
Lockout Relay
and
51BU 51BU 51BU-A 51BU 51BU-A Overcurrent Backup Relay,
51BU-B 51BU-B single phase type
51BU-C 51BU-C (ดูคำอธิบำย 5)
51BU 51BU 51BU 51BU 51BU Overcurrent Backup Relay,
three phase type (ดูคำอธิบำย 5)
51BU-CO - 51BU-CO - 51BU-CO Overcurrent Backup Cut-off
Switch
PTT-CO - PTTa-CO - PTTa-CO Permissive Transfer Trip
Cut-off Switch (500 kV)
DTT-CO - DTTa-CO - Sw Transfer Trip
DTTa-CO Direct
Cut-off Switch (500 kV)
Sw
คำอธิบำย
1. a คือ หมำยเลขของชุดป้องกันของระบบ 500 kV โดย
a = 1 เป็นชุดป้องกันที่ 1 (Primary 1)
a = 2 เป็นชุดป้องกันที่ 2 (Primary 2)
2. ในกรณีมีชุดป้องกัน 1 ชุด ไม่ต้องมี a
3. 67/67N เป็น Backup protection สำหรับ 115 kV Line to PEA
4. Overload Relay ใช้สำหรับสำยส่งบำงวงจรเพื่อป้องกัน Overload ในสำยส่ง โดยใช้ single phase
คือ เฟส B
5. 51BU ใช้ในกรณี de-energize main bus ที่ remote substation (ตำมควำมจำเป็นของระบบ)
33

ตารางที่ 6 Protective Device Number สำหรับ Shunt Reactor Protection

Relay or Drawing Function


Equip. E-1 E-2 E-3
E-5,6&8
87R 87R 87R-A 87R 87R-A Reactor Differential Relay
87R-B 87R-B
87R-C 87R-C
87R 87R 87R 87R 87R Reactor Differential Relay
(three phase type)
51R/51RG 51R/51RG 51R-A 51R/51RG 51R-A Reactor Overcurrent Relay
51R-B 51R-B (single phase type)
51R-C 51R-C
51RG 51RG
51R/51RG 51R/51RG 51R/51RG 51R/51RG 51R/51RG Reactor Overcurrent Relay
(three phase type)
87RN 87RN 87RN 87RN 87RN Neutral Reactor Differential Relay
86R - 86R 86R 86R Reactor Auxiliary Tripping and
Lockout Relay
86RN - 86RN 86RN 86RN Neutral Reactor Auxiliary Tripping
and Lockout Relay
86RA - - 86RA 86RA Reactor Auxiliary Tripping and
86RNA - - 86RNA 86RNA Lockout Relay (self protection)
86RA-CO - 86RA-CO - 86RA-CO Reactor Auxiliary Trip Cut-off
Switch
86RNA-CO - 86RNA-CO - 86RNA-CO Neutral Reactor Auxiliary Trip
Cut-off Switch
87R-CO - 87R-CO - 87R-CO Reactor Differential Cut-off Switch
87RN-CO - 87RN-CO - 87RN-CO Neutral Reactor Differential
Cut-off Switch
59N 59N 59N 59N 59N Neutral Reactor Overvoltage Relay
34

ตารางที่ 7 Protective Device Number สำหรับ Capacitor Bank Protection

Relay Drawing Function


Equip.
or E-1 E-2 E-3 E-5,6&8
51C/ 51C/51CG 51C-A 51C/51CG 51C-A C-bank Overcurrent Relay
51CG 51C-B 51C-B (single phase type)
51C-C 51C-C
51CG 51CG
51C/ 51C/51CG 51C/51CG 51C/51CG 51C/51CG C-bank Overcurrent Relay
51CG (three phase type)
60C 60C1 60C1 60C1 60C1 Unbalance Sensing Relay 1 (alarm &
trip)
60C2 60C2 60C2 60C2 Unbalance Sensing Relay 2 (alarm &
trip)
60CH 60CH 60CH 60CH System Bus Voltage Unbalance
Sensing Relay
60CL 60CL 60CL 60CL C-bank Voltage Unbalance sensing
Relay
59C 59Ca 59Ca 59Ca 59Ca Overvoltage Relay
94C - 94C 94C 94C Auxiliary Tripping Relay
62C - 62C - 62C Breaker Close Time Delay Relay
52bX - 52bX 52bX 52bX Breaker Open Auxiliary Relay
POW - POW - POW Point on Wave Closing Equipment
27C - 27C - 27C AC Undervoltage Relay
27C-CO - 27C-CO - 27C-CO AC Undervoltage Cut-off Switch

คำอธิบำย
1. a คือ หมำยเลขบัสที่ C-bank ต่ออยู่ ในระดับแรงดัน 22 kV และ 33 kV ไม่มี a
2. กำรใช้งำน 60CH และ 60CL ของ 22 kV และ 33 kV ให้ใช้ตำมรูปที่ 2
3. 60CL ต้องสำมำรถทำงำนได้ในกรณีที่ Fuse Link ขำด 1 เส้น โดยให้ใช้ PT ratio และ range ของ
รีเลย์ที่เหมำะสม
35

รูปที่ 2 กำรใช้งำน 60CH และ 60CL สำหรับระบบป้องกันของ C-bank 22 kV และ 33 kV


36

Drawing List (E-0)


สำหรับกำรออกแบบเพื่อติดตั้งหรืองำนอนุมัติแบบจะต้องมี Drawing List แสดงรำยละเอียดของ
Drawing ต่ำงๆ สำหรับสถำนีไฟฟ้ำที่ออกแบบหรืออนุมัติแบบ ดังแสดงในรูปที่ 3

รูปที่ 3 ตัวอย่ำง Drawing List สำหรับงำนออกแบบหรืออนุมัติแบบ


37

Metering and Relaying Diagram (E-1)


Metering and Relaying Diagram หรือ E-1 แสดง Single Line Diagram ของระบบ Metering and
Relaying ในสถำนีไฟฟ้ำ แบ่งตำมระดับแรงดัน คือ 69 kV, 115 kV, 230 kV และ 500 kV

69 kV และ 115 kV
ในกำรออกแบบระบบป้องกันของสถำนีไฟฟ้ำแรงดัน 115 kV ลงมำจะต้องสอดคล้องกับรูปแบบกำรจัด
bus และตำแหน่งจริงของอุปกรณ์ โดยตัวอย่ำงกำรออกแบบ E-1 แสดงรำยละเอียด ดังนี้
 Main and Transfer Bus
รูปที่ 4 (ก) แสดง E-1 สำหรับ Line Bay (EGAT) และ Tie Bay
รูปที่ 4 (ข) แสดง E-1 สำหรับ Line Bay (PEA) ระยะใกล้ (SIR > 4 ) และ ระยะไกล (SIR <= 4 )
รู ป ที่ 4 (ค ) แ ส ด ง E-1 ส ำ ห รั บ Loading Transformer 115/22 kV (ห รื อ 33 kV) แ ล ะ Loading
Transformer ที่มีขนำดตั้งแต่ 12.5 MVA ขนำนกัน โดยใช้ Breaker ด้ำน high side และ low side ร่วมกัน
 Breaker and a Half
รูปที่ 5 แสดง E-1 สำหรับ สถำนีไฟฟ้ำที่มีกำรจัดเรียง Bus แบบ Breaker and a Half
 GIS Double Bus Single Breaker
รูปที่ 6 แสดง E-1 สำหรับ สถำนีไฟฟ้ำ GIS ที่มีกำรจัดเรียง Bus แบบ Double Bus Single Breaker
 Capacitor Bank (C-Bank)
รูปที่ 7 (ก) แสดง E-1 สำหรับ C-bank 22 kV หรือ 33 kV
รูปที่ 7 (ข) แสดง E-1 สำหรับ C-bank 115 kV หรือ 69 kV
 Reactor Bank
รูปที่ 8 แสดง E-1 สำหรับ Reactor Bank 22 kV หรือ 33 kV
38

รูปที่ 4 (ก) Metering and Relaying Diagram 115 kV Line Bay


39

ระยะใกล้ SIR > 4 ระยะไกล SIR <= 4

รูปที่ 4 (ข) Metering and Relaying Diagram Line to PEA


40

รูปที่ 4 (ค) Metering and Relaying Diagram สำหรับ Loading Transformer 115/22 kV (หรือ 33 kV) –
(รูปซ้ำย) และ Loading Transformer ที่มีขนำดตั้งแต่ 12.5 MVA ขนำนกัน โดยใช้ Breaker ด้ำน high side
และ low side ร่วมกัน – (รูปขวำ)
41

รูปที่ 5 Metering and Relaying Diagram ของ 115 kV แบบ Breaker and a Half
42

รูปที่ 6 Metering and Relaying Diagram ของ 115 kV แบบ GIS Double Bus Single Breaker
43

รูปที่ 7 (ก) Metering and Relaying Diagram ของ C-Bank 22 kV หรือ 33 kV

รูปที่ 7 (ข) Metering and Relaying Diagram ของ C-Bank 69 kV หรือ 115 kV
44

รูปที่ 8 Metering and Relaying Diagram ของ Reactor Bank 22 kV หรือ 33 kV


45

230 kV
ในกำรออกแบบระบบป้องกัน ของสถำนีไฟฟ้ำ แรงดัน 230 kV จะต้องสอดคล้องกับ รูปแบบกำรจัด bus
และตำแหน่งจริงของอุปกรณ์ โดยตัวอย่ำงกำรออกแบบ E-1 แสดงรำยละเอียด ดังนี้
 Breaker and a Half
รูปที่ 9 (ก) แสดง E-1 สำหรับสถำนีไฟฟ้ำที่มีกำรจัดเรียง Bus แบบ Breaker and a Half (ใช้ CT 4 core)
รูปที่ 9 (ข) แสดง E-1 สำหรับสถำนีไฟฟ้ำที่มีกำรจัดเรียง Bus แบบ Breaker and a Half (ใช้ CT 5 core)
รูปที่ 9 (ค) แสดง E-1 สำหรับสถำนีไฟฟ้ำที่มีกำรจัดเรียง Bus แบบ Breaker and a Half (ใช้ CT 4 core)
กรณี Auto Reclosing Relay สั่ง Reclose Breaker ตัวกลำง เนื่องจำกเป็นสถำนีไฟฟ้ำที่มี 2 line มำจำกที่
เดียวกัน (โดยกรณีทั่วไป-กำหนดให้ Reclose Breaker ตัวที่ติดบัส)
 GIS Double Bus Single Breaker
รูปที่ 10 แสดง E-1 สำหรับ สถำนีไฟฟ้ำ GIS ที่มีกำรจัดเรียง Bus แบบ Double Bus Single Breaker
 GIS Breaker and a Half
รูปที่ 11 แสดง E-1 สำหรับ สถำนีไฟฟ้ำ GIS ที่มีกำรจัดเรียง Bus แบบ Breaker and a Half
 Capacitor Bank (C-Bank)
รูปที่ 12 แสดง E-1 สำหรับ C-bank 230 kV
46

รูปที่ 9 (ก) Metering and Relaying Diagram ของ 230 kV แบบ Breaker and a Half (CT 4 core)
47

รูปที่ 9 (ข) Metering and Relaying Diagram ของ 230 kV แบบ Breaker and a Half (CT 5 core)
48

รูปที่ 9 (ค) Metering and Relaying Diagram ของ 230 kV แบบ Breaker and a Half (CT 4 core)
กรณี Auto Reclosing Relay สั่ง Reclose Breaker ตัวกลำง
49

รูปที่ 10 Metering and Relaying Diagram ของ 230 kV GIS แบบ Double Bus Single Breaker
50

รูปที่ 11 Metering and Relaying Diagram ของ 230 kV GIS แบบ Breaker and a Half
51

รูปที่ 12 Metering and Relaying Diagram ของ C-Bank 230 kV


52

500 kV
ในกำรออกแบบระบบป้องกันของสถำนีไฟฟ้ำแรงดัน 500 kV จะต้องสอดคล้องกับรูปแบบกำรจัด bus
และตำแหน่งจริงของอุปกรณ์ โดยตัวอย่ำงกำรออกแบบ E-1 แสดงรำยละเอียด ดังนี้
 Breaker and a Half
รูปที่ 13 แสดง E-1 สำหรับสถำนีไฟฟ้ำที่มีกำรจัดเรียง Bus แบบ Breaker and a Half
 GIS Double Bus Single Breaker
รูปที่ 14 (ก) แสดง E-1 สำหรับ สถำนีไฟฟ้ำ GIS ที่มีกำรจัดเรียง Bus แบบ Double Bus Single Breaker
(bay line)
รูปที่ 14 (ข) แสดง E-1 สำหรับ สถำนีไฟฟ้ำ GIS ที่มีกำรจัดเรียง Bus แบบ Double Bus Single Breaker
(bay หม้อแปลง)
 GIS Breaker and a Half
รูปที่ 15 (ก) แสดง E-1 สำหรับ สถำนีไฟฟ้ำ GIS ที่มีกำรจัดเรียง Bus แบบ Breaker and a Half (1)
รูปที่ 15 (ข) แสดง E-1 สำหรับ สถำนีไฟฟ้ำ GIS ที่มีกำรจัดเรียง Bus แบบ Breaker and a Half (2)
53

รูปที่ 13 Metering and Relaying Diagram ของ 500 kV แบบ Breaker and a Half
54

รูปที่ 14 (ก) Metering and Relaying Diagram ของ 500 kV GIS แบบ Double Bus Single Breaker
(bay line)
55

รูปที่ 14 (ข) Metering and Relaying Diagram ของ 500 kV GIS แบบ Double Bus Single Breaker
(bay หม้อแปลง)
56

รูปที่ 15 (ก) Metering and Relaying Diagram ของ 500 kV GIS แบบ Breaker and a Half (1)
57

รูปที่ 15 (ข) Metering and Relaying Diagram ของ 500 kV GIS แบบ Breaker and a Half (2)
58

กำรเลือก CT Ratio
1. Distance Relay, Current Differential Relay, Line Overcurrent Relay (PEA) เลื อ ก CT ratio ตำม
thermal limit และ fault level ของ Bus
2. Bus Differential Relay เลือก CT ratio ที่สูงสุด (full tap)
3. Transformer Differential Relay, Transformer Overcurrent Relay, Loading Overcurrent Relay
และ C-bank Overcurrent Relay เลือก CT ratio ตำมค่ำ Bus fault level (20 เท่ำของ IN เช่น เลือก
CT 600 A จะได้ 20.IN = 12000 A ซึง่ ต้องมำกกว่ำค่ำ bus fault level )
4. Breaker Failure Relay เลือก ratio ตำม Main Protection ของอุปกรณ์

กำรเลือก Core ของ CT และ Winding ของ PT


1. กำรเลื อกใช้ core ของ CT ส ำหรับ Primary Protection ให้ ใช้ core ที่ ส ำมำรถคุม zone ได้ ม ำกที่ สุ ด
และไม่ใช้ร่วมกับอุปกรณ์อื่นๆ ส่วน Backup Protection ให้ใช้ core ถัดเข้ำมำ
2. กำรเลื อ กใช้ core ของ CT ส ำหรั บ Breaker Failure Relay ให้ ใช้ core ที่ ว่ ำ ง ถ้ ำ ไม่ มี ให้ ใช้ ร่ ว มกั บ
Backup Protection (230 kV และ 500 kV) หรือ High-side Overcurrent Relay (51T/51TG)
(ยกเว้น Breaker Failure Relay ของ C-Bank Protection ให้ใช้ core ร่วมกับ Overcurrent Relay)
3. ถ้ ำ Breaker Failure Relay ต่ อ อิ ส ระใน CT core ใดๆ ให้ ต่ อ Star Point ของ CT core นั้ น ด้ ำ น
Breaker
4. กำรเลือก winding ของ PT สำหรับ Protective Relay ในกรณี Line ทั่วไป
- winding ชุด X ให้ใช้สำหรับวงจร Primary Protection
- winding ชุด Y ให้ใช้สำหรับวงจร Backup Protection
5. กำรเลือก winding ของ PT สำหรับ Protective Relay ในกรณี Line ซื้อขำยไฟฟ้ำ
- winding ชุด X ให้ใช้สำหรับวงจร Primary Protection และ Backup Protection
- winding ชุด Y ให้ใช้สำหรับวงจร Revenue Meter
6. winding ของ PT ส ำหรั บ Synchronism Check Relay (25) ของ Auto Reclosing Relay (79) ใช้
winding ชุด X ส่วน manual control, FRS และ CCS ใช้ winding ชุด Y
59

เรื่องอื่นๆ
1. กรณี ที่ Tie Transformer ไม่ได้ จ่ำยไฟให้กับ Station Service (ผ่ำนทำง tertiary winding) ไม่ ต้องดึง CT
ของ tertiary winding เข้ ำ 87K แต่ ให้ เตรีย ม restraint winding ของ 87K ให้ เพี ย งพอต่ อ กำรใช้ ง ำนใน
อนำคต
2. กรณี ที่ Tie Transformer จ่ำยไฟให้กับ Station Service ผ่ำนทำง tertiary winding ระบบป้องกัน มีหลำย
กรณีดังนี้
 จ่ำย 1 feeder (ตัวอย่ำงกำรออกแบบตำม รูปที่ 9 (ก), 9 (ค), 10 และ 15 (ข))
 จ่ำยหลำย feeder โดยมีทั้ง 1 source และ 2 source
a. กรณีออกแบบใหม่หรือปรับปรุงระบบเดิมที่สำมำรถติดตั้ง Grounding Transformer ได้ (ตัวอย่ำง
กำรออกแบบตำมรูปที่ 16 (ก))
b. กรณี ปรับปรุงระบบเดิม ที่ไม่สำมำรถติดตั้ง Grounding Transformer ได้ (ตัวอย่ำงกำรออกแบบ
ตำมรูปที่ 16 (ข))

รูป ที่ 16 (ก) ระบบป้ องกัน ด้ ำน Tertiary winding ของ Tie transformer กรณี จ่ำยไฟให้กับ Station service
หรือ feeder จำนวนหลำย feeder (สำหรับกำรออกแบบใหม่หรือปรับปรุงระบบเดิมที่ สำมำรถติดตั้ง Grounding
Transformer ได้)
60

รูปที่ 16 (ข) ระบบป้องกันด้ำน Tertiary winding ของ Tie transformer กรณีจ่ำยไฟให้กับ Station service
หรื อ feeder จ ำนวนหลำย feeder (ส ำหรั บ กำรปรั บ ปรุ ง ระบบเดิ ม ที่ ไ ม่ ส ำมำรถติ ด ตั้ ง Grounding
Transformer ได้)
61

Panel Equipment Layout (E-2)


Panel Equipment Layout หรือ E-2 แสดงการวางอุปกรณ์ของระบบควบคุมและป้องกันใน Control
and Protection Panel

ข้อกาหนดเกี่ยวกับ Control and Protection Panel


1. ให้มีการติดตั้ง Hinge Panel ในกรณีจาเป็นที่ต้องติดตั้งอุปกรณ์เท่านั้น และให้มีไม่เกิน 1 บาน
2. ให้ยกเลิกการใช้ Heater ใน Control and Protection Panel เนื่องจากอาจทาให้ cable ไหม้ได้
3. ให้ใช้หลอดไฟฟ้าแสงสว่างชนิด LED Light Bulb
4. ให้ ใช้ Switch Board Wire ตามที่ระบุใน Specification โดยมี Insulation Thickness 0.76 mm. ฉนวน
สายไฟให้เลือกใช้ชนิด PVC (Polyvinyl Chloride Insulated)
5. ให้เจาะรูพร้อมใส่ Nut ตลอดความยาวของ Ground Bus เพื่อให้พร้อมใช้งานได้สะดวก
6. ให้ Swing-rack Panel มีความกว้าง 800 mm. และสามารถ swing ได้ไม่น้อยกว่า 120O พร้อมกับให้มีที่ยึด
Swing Rack ให้อยู่กับที่ได้
7. ให้ Front Cover ของ C-bank 22 kV control cabinet สามารถ swing ได้ไม่น้อยกว่า 120O พร้อมกับให้มี
ที่ยึด Swing-rack ให้อยู่กับที่ได้
8. ให้ใช้ Indicating Lamp เป็นชนิด LED แทนการใช้หลอดไส้ เนื่องจากหลอดไส้จะขาดง่าย
9. ให้ใช้ Miniature Circuit Breaker (MCB) แทน Fuse เพื่อสะดวกในการบารุงรักษา สามารถสังเกตการ trip
ได้ง่าย และไม่ต้องมีการเก็บสารอง Fuse ซึ่งจัดหาได้ยากกว่า
10. แผ่นเหล็กที่รองพื้นภายใน Board ต้องมีความแข็งแรงเพียงพอสาหรับรองรับน้าหนักตัวผู้ปฏิบัติงานที่จะเข้า
ทางานภายใน Board
11. 79CO ให้ เป็ น แบบ Spring Return และมี ห ลอดไฟ (LED) สี แ ดง เพื่ อ แสดงสถานะของ 79 “ON” (รั บ
contact มาจาก 79COCX)
12. การจัด วางอุ ป กรณ์ ภ ายในตู้ Transformer Protection ที่ จ านวนอุป กรณ์ แน่ น เกิน ไป ให้ ออกแบบเพิ่ ม ตู้
สาหรับแยกชุด Breaker Failure Protection ออกมาติดตั้งในตู้ใหม่
13. การติดตั้งอุปกรณ์ ใน Panel ถ้ากีดขวางอุป กรณ์อื่น ให้ติดตั้งที่ Hinge Panel ยกเว้น Auxiliary tripping
relay
14. Test Block สาหรับอุปกรณ์ Relay กรณีติดคู่กับ Relay ให้ติดตั้งด้านซ้ายสุด เมื่อมองทางด้านหน้าตู้
62

Bus Protection Panel


การออกแบบ E-2 ของ Bus Protection Panel ให้ออกแบบสอดคล้องกับประเภทของ Panel, ระดับ
แรงดัน และการจัดบัส
รูปที่ 17 แสดง E-2 สาหรับตู้ Bus Protection ระดับแรงดัน 115kV ที่จัดเรียงบัสแบบ Breaker and
a Half
- มี Bus Protection 1 ชุด/ Bus โดยใช้ Low Impedance Bus Protection
- มี Bus Protection 1 ชุด/ Bus โดยใช้ High Impedance Bus Protection
รู ป ที่ 18 แสดง E-2 ส าหรั บ ตู้ Bus Protection ระดั บ แรงดั น 230kV, 500kV ที่ จั ด เรี ย งบั ส แบบ
Breaker and a Half
- มี Bus Protection 2 ชุ ด / Bus โด ยใช้ Low Impedance Bus Protection เป็ น Primary
Protection และ ใช้ High Impedance Bus Protection เป็น Secondary Protection
รูปที่ 19 แสดง E-2 สาหรับตู้ Bus Protection ระดับแรงดัน 230kV, 500kV ที่จัดเรียงบัสแบบ GIS
Double Bus Single Breaker
- มี Bus Protection 2 ชุ ด / Bus โด ย ใช้ Low Impedance Bus Protection ทั้ ง Primary
Protection และ Secondary Protection
63

รูปที่ 17 แสดง E-2 สาหรับตู้ Bus Protection ระดับแรงดัน 115kV


64

รูป ที่ 18 แสดง E-2 ส าหรับ ตู้ Bus Protection ระดั บ แรงดั น 230kV, 500kV ที่ จั ด เรี ย งบั ส แบบ
Breaker and a Half
65

รูปที่ 19 แสดง E-2 สาหรับตู้ Bus Protection ระดับแรงดัน 230kV, 500kV ที่จัดเรียงบัสแบบ GIS Double Bus
Single Breaker
66

Metering Panel
รูปที่ 20 แสดง E-2 สาหรับตู้ Metering Panel ทุกระดับแรงดัน โดยให้แยกตู้สาหรับแต่ลูกค้าแต่ละราย

รูปที่ 20 แสดง E-2 สาหรับตู้ Metering Panel


67

Breaker Failure Protection Panel


โดยทั่วไป Breaker Failure Protection จะติดตั้งใน Line, Bus หรือ Transformer Protection Panel
แต่ในกรณีที่ไม่มีพื้นที่เพียงพอสาหรับ 50BF และ auxiliary relay ของ 50BF ให้เพิ่ม Breaker Failure Protection
Panel ใหม่
 สาหรับ Breaker ของ Line to Power Plant จะต้องมีอุปกรณ์ 62PD และ 52X เพิ่ม
 ส าหรั บ Breaker ที่ มี End-fault Protection จะต้ อ งมี อุ ป กรณ์ 86EF ของ Breaker ตั ว กลาง
(สาหรับการจัดเรียงบัสแบบ 500kV Breaker and a Half )
 จานวนชุดของ Breaker Failure Protection ภายใน 1 Panel กาหนดได้ดังนี้
- ไม่เกิน 6 ชุด : 1 Panel สาหรับ 115kV, 230kV Breaker Failure Protection Panel
- ไม่เกิน 4 ชุด : 1 Panel สาหรับ 500kV Breaker Failure Protection Panel
68

รูปที่ 21 แสดง E-2 สาหรับตู้ Breaker Failure Protection Panel


69

500 kV Trip Circuit Supervision Panel


วงจร Trip Circuit Supervision ของ 500 kV Power Circuit Breaker จะต้ อ งติ ด ตั้ ง รวมอยู่ ในตู้ Trip
Circuit Supervision Panel โดยกาหนดให้จานวนวงจร Trip Circuit Supervision ใน 1 ตู้ ไม่ควรเกิน 6 Breaker

รูปที่ 22 แสดง E-2 สาหรับตู้ 500kV Trip Circuit Supervision Panel


70

Synchronizing Panel
ให้ อ อกแบบ Synchronizing Panel ส าหรับ ท าการ Black Out Restoration โดยประสานงานกั บ
อคฟ. ก่อนการออกแบบสาหรับสถานีไฟฟ้าดังต่อไปนี้
- สถานีไฟฟ้าแรงดัน 500 kV
- สถานีไฟฟ้าที่มี Tie Line
- สถานีไฟฟ้าที่เชื่อมต่อกับสถานีไฟฟ้า Junction (สถานีไฟฟ้า Junction หมายถึง สถานีไฟฟ้าที่มี
หลายระดับแรงดัน)

รูปที่ 23 แสดง E-2 สาหรับ Synchronizing Panel


71

Line Protection and Transformer Protection Panel


สถานีไฟฟ้าแรงดัน 115 kV
ในการออกแบบระบบป้องกันของสถานีไฟฟ้าแรงดัน 115 kV ลงมาจะต้องสอดคล้องกับ ระบบ Metering
and Relaying และตาแหน่งการวางอุปกรณ์จริงจะต้องสะดวกในการทางาน โดยตัวอย่างการออกแบบ E-2 แสดง
รายละเอียด ดังนี้
 Main and Transfer Bus
การออกแบบสถานีไฟฟ้าใหม่ ให้ใช้ Panel แบบ Swing Rack Panel
สาหรับการขยายสถานีไฟฟ้ารูปแบบเดิมที่มีการจัดบัสแบบ Main and Transfer และใช้ Panel แบบ
Duplex Panel (การออกแบบตู้ แ บบ Duplex Panel ให้ ใช้ ด้ า นหน้ า เป็ น ตู้ ค วบคุ ม (ตู้ Front) ส่ ว น
ด้านหลังเป็นตู้รีเลย์ (ตู้ Rear) ด้านข้างของตู้ Duplex ทั้งทาง Panel สุดท้ายทางด้านขวาและซ้ายจะมี
End Trim ซึ่งเป็นประตูเปิด-ปิด เพื่อเข้าไปทางานภายในได้
รูปที่ 24 (ก) แสดง E-2 สาหรับ
- ตู้ Tie Bay & Bus Protection (1F/1R)
- ตู้ Control & Protection Line to EGAT - line ที่มีค่า SIR < 4 (2F/2R)
- ตู้ Control & Protection Line to EGAT - line ที่มีค่า SIR >= 4 (3F/3R)
รูปที่ 24 (ข) แสดง E-2 สาหรับ
- ตู้ 115/22kV Transformer Protection (2F/2R)
- ตู้ Control & Protection Line to PEA - line ที่มีค่า SIR < 4 (3F/3R)
- ตู้ Control & Line to PEA - line ที่มีค่า SIR >= 4 (4F/4R)
 Breaker and a Half
สาหรับ การออกแบบสถานี ไฟฟ้ าใหม่ที่ มีการจัด บัสแบบ Breaker and a Half ให้ใช้ Panel แบบ
Swing Rack Panel
รูปที่ 25 แสดง E-2 สาหรับ
- ตู้ Swing Rack 115/22kV Transformer Protection to PEA (105R)
- ตู้ Swing Rack Line to EGAT Protection - line ที่มีค่า SIR < 4 (106R)
- ตู้ Swing Rack Line to PEA Protection - line ที่มีค่า SIR < 4 (107R)
- ตู้ Swing Rack Line to EGAT Protection - line ที่มีค่า SIR >= 4 (108R)
72

รู ป ที่ 24 (ก) แสดง E-2 ส าหรั บ ตู้ Tie Bay & Bus Protection (1F/1R), ตู้ Control & Protection
Line to EGAT-line ที่มีค่า SIR < 4 (2F/2R) และ ตู้ Control & Protection Line to EGAT-line ที่มีค่า
SIR >= 4 (3F/3R)
73

รูป ที่ 24 (ข) แสดง E-2 ส าหรับ ตู้ 115/22kV Transformer Protection (2F/2R), ตู้ Control & Protection
Line to PEA-line ที่ มี ค่า SIR < 4 (3F/3R) และ ตู้ Control & Protection Line to PEA-line ที่ มี ค่า SIR >= 4
(4F/4R)
74

รูปที่ 25 แสดง E-2 สาหรับ ตู้ Swing Rack 115/22kV Transformer Protection to PEA (105R), ตู้ Swing
Rack Line to EGAT Protection-line ที่ มี ค่ า SIR < 4 (106R), ตู้ Swing Rack Line to PEA Protection-
line ที่มีค่า SIR < 4 (107R) และ ตู้ Swing Rack Line to EGAT Protection-line ที่มีค่า SIR >= 4 (108R)
75

Line Protection and Transformer Protection Panel


สถานีไฟฟ้าแรงดัน 230 kV
ในการออกแบบระบบป้องกันของสถานีไฟฟ้า แรงดัน 230 kV จะต้องสอดคล้องกับระบบ Metering and
Relaying และตาแหน่งการวางอุปกรณ์จริงจะต้องสะดวกในการทางาน
การออกแบบตู้ Protection Panel สาหรับสถานีไฟฟ้าแรงดัน 230 kV ให้ใช้ Panel แบบ Swing Rack
Panel
ตัวอย่างการออกแบบ E-2 แสดงรายละเอียด มีดังนี้
รูปที่ 26 แสดง E-2 สาหรับ
- ตู้ Swing Rack 230 kV Line to EGAT Line Protection–(3 Pole Trip) ที่ มี ค่ า SIR< 4 (207R &
208R)
- ตู้ Swing Rack 230 kV Line to EGAT Line Protection–(3 Pole Trip) ที่มีค่า SIR>= 4 (210R &
211R)
รูปที่ 27 แสดง E-2 สาหรับ
- ตู้ Swing Rack 230 kV Line to EGAT Line Protection – (1&3 Pole Trip , มี Line DS) ที่ มี ค่ า
SIR < 4 (207R & 208R)
- ตู้ Swing Rack 230 kV Line to EGAT Line Protection – (1&3 Pole Trip, มี Line DS) ที่ มี ค่ า
SIR >= 4 (210R & 211R)
รูปที่ 28 แสดง E-2 สาหรับ
- ตู้ Swing Rack 230/115 kV Transformer Protection (215R)
- ตู้ Swing Rack 230/115 kV Transformer Protection (ที่ มี ก า ร ต่ อ ใช้ ง า น 22kV Tertiary
Winding) (218R)
76

รูปที่ 26 แสดง E-2 สาหรับตู้ Swing Rack 230 kV Line to EGAT Line Protection – (3 Pole Trip) ที่มีค่า
SIR < 4 (207R & 208R) และ ตู้ Swing Rack 230 kV Line to EGAT Line Protection – (3 Pole Trip) ที่มี
ค่า SIR >= 4 (210R & 211R)
77

รู ป ที่ 27 แสดง E-2 ส าหรั บ ตู้ Swing Rack 230 kV Line to EGAT Line Protection – (1&3 Pole Trip, มี
Line DS) ที่ มี ค่ า SIR < 4 (207R & 208R) และ ตู้ Swing Rack 230 kV Line to EGAT Line Protection –
(1&3 Pole Trip, มี Line DS) ที่มีค่า SIR >= 4 (210R & 211R)
78

รูปที่ 28 แสดง E-2 สาหรับ ตู้ Swing Rack 230/115 kV Transformer Protection (215R) และ ตู้ Swing
Rack 230/115 kV Transformer Protection (ที่มีการต่อใช้งาน 22kV Tertiary Winding) (218R)
79

Line Protection and Transformer Protection Panel


สถานีไฟฟ้าแรงดัน 500 kV
ในการออกแบบระบบป้องกันของสถานีไฟฟ้า แรงดัน 500 kV จะต้องสอดคล้องกับ ระบบ Metering and
Relaying และตาแหน่งการวางอุปกรณ์จริงจะต้องสะดวกในการทางาน
การออกแบบตู้ Protection Panel สาหรับสถานีไฟฟ้าแรงดัน 500 kV ให้ใช้ Panel แบบ Swing Rack
Panel
ตัวอย่างการออกแบบ E-2 แสดงรายละเอียด มีดังนี้
รูปที่ 29 แสดง E-2 สาหรับ
- ตู้ Swing Rack 500 kV Line to EGAT Protection (with Shunt Reactor) (107R & 108R)
- ตู้ Swing Rack 500 kV Shunt Reactor Protection Panel (109R)
รูปที่ 30 แสดง E-2 สาหรับ
- ตู้ Swing Rack 500 kV Line to EGAT Protection (without Shunt Reactor) (113R & 114R)
รูปที่ 31 แสดง E-2 สาหรับ
- ตู้ Swing Rack 500/230 kV Transformer Protection (ที่ มี ก า ร ต่ อ ใช้ ง า น 22kV Tertiary
Winding) (111R & 112R)
80

รูปที่ 29 แสดง E-2 สาหรับตู้ Swing Rack 500 kV Line to EGAT Protection (with Shunt Reactor) (107R
& 108R) และ ตู้ Swing Rack 500 kV Shunt Reactor Protection Panel (109R)
81

รู ป ที่ 30 แสดง E-2 ส าหรั บ ตู้ Swing Rack 500 kV Line to EGAT Protection (without Shunt Reactor)
(113R & 114R)
82

รูปที่ 31 แสดง E-2 สาหรับตู้ Swing Rack 500/230 kV Transformer Protection (ที่มีการต่อใช้งาน 22kV
Tertiary Winding) (111R & 112R)
83

Capacitor and Reactor Bank Control & Protection Panel


ในการออกแบบระบบป้องกันของ Capacitor และ Reactor Bank จะต้องสอดคล้องกับ ระบบ Metering
and Relaying และตาแหน่งการวางอุปกรณ์จริงจะต้องสะดวกในการทางาน
ตัวอย่างการออกแบบ E-2 แสดงรายละเอียด มีดังนี้
รูปที่ 32 แสดง E-2 สาหรับตู้ Control & Protection ของ 22kV และ 33kV C-Bank
รูปที่ 33 แสดง E-2 สาหรับตู้ Control & Protection ของ 22kV และ 33kV Reactor Bank
รูปที่ 34 แสดง E-2 สาหรับตู้ Control & Protection ของ 69kV และ 115kV C-Bank
รูปที่ 35 แสดง E-2 สาหรับตู้ Control & Protection ของ 230kV C-Bank
84

รูปที่ 32 แสดง E-2 สาหรับตู้ Control & Protection ของ 22kV และ 33kV C-Bank
85

รูปที่ 33 แสดง E-2 สาหรับตู้ Control & Protection ของ 22kV และ 33kV Reactor Bank
86

รูปที่ 34 แสดง E-2 สาหรับตู้ Control & Protection ของ 69kV และ 115kV C-Bank
87

รูปที่ 35 แสดง E-2 สาหรับตู้ Control & Protection ของ 230kV C-Bank
88

Nameplate
กาหนดให้ ติ ด Nameplate ให้ กับ อุ ป กรณ์ ระบบควบคุม และป้ องกัน ทุ กประเภท โดย Nameplate
จะต้องให้รายละเอียดที่ถูกต้องและเห็นได้ชัดเจน
การตั้ ง ชื่ อ Nameplate ต้ อ งสามารถสรุ ป และท าความเข้ า ใจได้ ง่ า ย ข้ อ ก าหนดให้ เป็ น ไปตาม
รายละเอียดในแบบ EGAT’s Typical Drawing (TP-E-11)
89

Protective Device Function (E-3)


Protective Device Function เป็น drawing แสดงความสัมพันธ์ของอุปกรณ์ป้องกันต่างๆ ที่ปรากฏใน
แบบ E-1 และ E-2 กับ BKR. แต่ละตัว เพื่อนาไปออกแบบ DC Schematic Diagram (E-6)

การใช้งาน Breaker Failure Protection


Breaker Failure Protection เป็น Backup Protection มีหลักการใช้งานดังนี้
 BKR. ตัวที่ติด bus ต้องนา contact จาก 86BF ไป initiate 86B
 กรณี ที่ มีการจัด บั สแบบ Main and Transfer Bus ซึ่ งไม่ มีการใช้งาน 86BF ให้ ใช้ 50BF ไป initiate
86B ยกเว้น C-bank ที่เกาะ bus ให้นา contact จาก 86BF ของ C-bank ไป initiate 86B เนื่องจาก
C-bank มี 86BF อยู่แล้ว
 ต้องนา 86BF ไป trip and lockout BKR. และ initiate 50BF ตัวข้างเคียงด้วย
 BKR. ที่อยู่กับ Tie Transformer / Loading Transformer ให้นา 86BF ไป trip and lockout BKR.
ตั ว อื่ น ๆ ที่ อ ยู่ High-side และ Low-side ของ Tie Transformer โดยตรง ไม่ ให้ ฝ ากการ trip and
lockout ผ่าน 86K พร้อมทั้งทาการ initiate 50BF ด้วย
 Breaker Failure Relay ของ Line 230 kV ต้องทา Remote Trip โดยใช้ Scheme Direct Transfer
Trip (DTT)
 ไม่ให้ 86BF trip & lockout BKR. ตัวเอง
 Direct Transfer Trip ของ 115 kV จะมีเฉพาะ Line to Power Plant และ Line to PEA โดยต้องมี
86DTT ทั้งสองด้าน
โดยสามารถทาเป็น Tripping and Interlocking Diagram ของ Breaker Failure Protection อย่างง่าย
ดังรูปที่ 36
ส่วน contact ที่นามา initiate Breaker Failure Relay (50BF) มีดังนี้
 Auxiliary Tripping Relay (94P, 94BU) ของ Line Protective Relay (Distance Relay หรือ Line
Differential Relay)
 Transformer Differential Auxiliary Tripping and lockout Relay (86K) แ ล ะ Transformer
trouble Auxiliary Tripping and lockout Relay (86A)
 Low Side Overcurrent Relay อนุกรมกับ Bypass Switch ของ Loading Transformer
 Bus Differential Auxiliary Tripping and lockout Relay (86B) ย ก เว้ น 115 kV Main and
Transfer Bus ที่ไม่มี function Direct Transfer Trip (DTT)
 Direct transfer Trip Auxiliary Tripping and lockout Relay (86DTT)
 Breaker Failure Auxiliary Tripping and lockout Relay (86BF) ตัวข้างเคียง
 กรณี สถานีไฟฟ้าเป็น Main and Transfer Bus เฉพาะ Bay ที่เป็น Tie Transformer ให้นา 86B
ไป initiate 50BF ด้วย
90

ส่ วน contact ของรีเลย์ ที่ ไป initiate 86BF โดยตรง คือ Pole Disagreement Relay (62PD) ของ
BKR. ใน Power Plant bay เพื่อป้องกัน Generator เสียหายจาก Unbalance load ซึ่งกระแสไฟฟ้าอาจจะ
น้อยมากจนไม่สามารถทาให้ 50BF ทางานได้ จึงให้นา contact ของ 62PD ไป initiate 86BF โดยตรง
Protective Device Function หรือ E-3 ของ 230 kV และ 115 kV แสดงตัวอย่างดังรูปที่ 37

รูปที่ 36 แสดง Tripping and Interlocking ของ Breaker Failure Protection


91

รูปที่ 36 (ต่อ) แสดง Tripping and Interlocking ของ Breaker Failure Protection
92

รูปที่ 37 แสดงตัวอย่าง Protective Device Function ของ 230 kV และ 115 kV


93

รูปที่ 37 (ต่อ) แสดงตัวอย่าง Protective Device Function ของ 230 kV และ 115 kV
94

รูปที่ 37 (ต่อ) แสดงตัวอย่าง Protective Device Function ของ 230 kV และ 115 kV
95

กรณี ที่ การจั ด bus เป็ น แบบ Main and Transfer Bus มีตั วอย่า ง Protective Device Function
ตามรูปที่ 38 และ 39 โดยแสดง Line และ Line to PEA ตามลาดับ

รูปที่ 38 แสดง Protective Device Function ของ Line ชนิด Main and Transfer Bus
96

รูปที่ 39 แสดง Protective Device Function ของ Line to PEA ชนิด Main and Transfer Bus
97

Protective Device Function ของ 500 kV แสดงตัวอย่างดังรูปที่ 40

รูปที่ 40 แสดง Protective Device Function ของ 500 kV


98

รูปที่ 40 (ต่อ) แสดง Protective Device Function ของ 500 kV


99

รูปที่ 40 (ต่อ) แสดง Protective Device Function ของ 500 kV


100

การนา protective relay ไป trip and lockout BKR. ที่มีหลาย trip coil ต้องทาการแยก contact
ในการ trip ให้ชัดเจน โดยให้ทาการ trip and lockout ตามรูปที่ 41

รูปที่ 41 แสดง Tripping Function สาหรับ Power Circuit Breaker


101

AC and DC Distribution Panel (E-4)


AC and DC Distribution Panel เป็ น drawing ที่ แ ส ด งราย ล ะ เอี ย ด ก ารใช้ งาน AC แ ล ะ DC
Distribution Panel ทั้งหมดในสถานีไฟฟ้า
การใช้ AC and DC Distribution Panel สามารถแบ่งตามระดับแรงดัน ได้เป็น 3 ประเภทดังนี้
1. สฟ. 115 kV ให้ใช้ AC และ DC Distribution Panel ตามแบบ TP - E - 4.2 และแสดงการใช้งานใน
รูปที่ 42
2. ส ฟ . 230 kV ให้ ใช้ AC แ ล ะ DC Distribution Panel แ ล ะ DC Power Panel ต า ม แ บ บ
TP - E - 4.4 และแสดงการใช้งานกรณีมีหลาย building ในรูปที่ 43
3. สฟ. 500 kV ให้ ใช้ AC และ DC Distribution Panel เหมื อนกั บ 230 kV แต่ สฟ. 500 kV จะใช้
125 VDC Power Panel 2 ชุด ดังนี้
3.1 ชุ ด ที่ 1 จ่ า ยไฟให้ กั บ 125 VDC Distribution Panel ส าหรั บ Close & Trip Circuit 1,
Primary No.1 Protection, วงจรควบคุ ม DS, Transformer, Interposing relay panel,
CCS, FRS และ Meter (Main)
3.2 ชุดที่ 2 จ่ายไฟให้กับ 125 VDC Distribution Panel สาหรับ Trip Circuit 2, Primary No.2
Protection, Backup Protection, Meter (Check) และอื่นๆ
ตัวอย่างการใช้งานแสดงในรูปที่ 44

Ref. Dwg. No. TP-E-4.2

AC Dist.
Board

(Additional panel)
DC Dist. DC Dist.
Board (M1) Board (M2)

Control Building

รูปที่ 42 การใช้งาน AC และ DC Distribution Panel สาหรับสถานีไฟฟ้า 115 kV


102

Ref. Dwg. No. TP-E-4.4


Power Cable AC Dist. DC Dist.
Board Board

LCUS AC Dist.
Board
230 kV Relay Building No.1
Ref. Dwg. No. TP-E-4.4
Power Cable
Ref. Dwg. No. TP-E-4.4
Power DC Dist. AC Dist. DC Dist.
Panel Board Board Board

Power Cable

Control Building 230 kV Relay Building No.2

รูปที่ 43 การใช้งาน AC and DC Distribution Panel สาหรับสถานีไฟฟ้า 230 kV

Ref. Dwg. No. TP-E-4.4


AC Dist. DC Dist. DC Dist.
Board Board 1 Board 2
Power Cable

LCUS AC Dist.
Board
500 kV Relay Building No.1
Ref. Dwg. No. TP-E-4.4
Ref. Dwg. No. TP-E-4.4
Power DC Dist. AC Dist. DC Dist. DC Dist.
Panel 1 Board 1 Board Board 1 Board 2

Power DC Dist.
Panel 2 Board 2

Control Building 500 kV Relay Building No.2

รูปที่ 44 การใช้งาน AC and DC Distribution Panel สาหรับสถานีไฟฟ้า 500 kV


103

การแสดงรายละเอียดในแบบ E-4
AC และ DC Distribution Panel ต้ อ งแสดงรายละเอี ย ดการใช้ ง านให้ ค รบถ้ ว นใน AC and DC
Distribution Panel Wiring Diagram (E-4) ดังรูปที่ 45 และ 46

การเลือกใช้วงจร AC Supply
วงจร AC สาหรับระบบควบคุมและป้องกันและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ให้รับ AC Supply ที่ AC Distribution
Panel โดยให้แยก AC supply ดังนี้
1. Cubicle Illumination and Convenience Outlet ใช้ AC supply จานวน 1 วงจร ต่อ building
2. Heater and Convenience Outlet สาหรับอุปกรณ์ใน switchyard ใช้ดังนี้
- Breaker and a Half ใช้ AC supply จานวน 1 วงจร ต่อ 1 bay
- Main and Transfer Bus ใช้งาน DS ด้วย ใช้ AC supply จานวน 1 วงจร ต่อ 2 bay
- Main and Transfer Bus ไม่ใช้งาน DS ใช้ AC supply จานวน 1 วงจร ต่อ 2 bay
3. Transformer ใช้ AC supply จานวน 1 วงจร ต่อ 1 Transformer

การเลือกใช้วงจร DC Supply
วงจร DC สาหรับระบบควบคุมและป้องกันต้องทาการแยก DC supply ที่ DC Distribution Panel ด้วย
MCB โดยให้แยก DC supply ดังนี้
1. Breaker Control ระดับแรงดันตั้งแต่ 230 kV ลงมา ใช้ DC supply จานวน 1 วงจร ต่อ 1 BKR
2. Breaker Control ระดับแรงดัน 500 kV ใช้ DC supply จานวน 2 วงจร ต่อ 1 BKR
3. Loading Transformer Protection ใช้ DC supply จานวน 1 วงจร
4. Tie Transformer Protection ใช้ DC supply จานวน 1 วงจร ต่อ 1 protection
5. Breaker Failure Protection ใช้ DC supply จ านวน 1 วงจร ต่ อ Breaker Failure Protection
12 ชุด โดยให้แยกระดับแรงดัน
6. Bus Protection ใช้ DC supply จานวน 1 วงจร ต่อ Bus Protection 1 ชุด
7. Pole Disagreement (62PD) ใช้ DC supply ร่วมกับ Breaker Control Circuit
8. Line Protection ใช้ DC supply จานวน 1 วงจร ต่อ 1 protection
9. Transformer Control ใช้ DC supply จ านวน 1 วงจร ต่ อ 1 transformer และอี ก 1 วงจร
สาหรับ Parallel Tap Check
10. Capacitor bank Protection ใช้ DC supply จานวน 1 วงจร ต่อระดับแรงดัน
11. Capacitor bank 22 kV and 33 kV ให้ใช้ DC supply จานวน 1 วงจรต่อ 3 C-bank ดังแสดง
ในรูปที่ 47
12. เมื่อมีงานขยาย สฟ. ให้พิจารณา DC Distribution Panel ว่ามี DC supply เพียงพอต่อการใช้งาน
หรือไม่
104

รูปที่ 45 รายละเอียดการใช้งานของ AC Distribution Panel


105

รูปที่ 46 รายละเอียดการใช้งานของ DC Distribution Panel


106

รูปที่ 47 การใช้งาน 125 VDC Distribution Panel สาหรับ C-bank 22 kV Control Cabinet
107

AC Schematic Diagram (E-5)


AC Schematic Diagram หรือ E-5 คือ three line diagram ที่ได้จากการขยาย one line diagram ใน
Metering and Relaying Diagram (E-1) โดย AC Schematic Diagram แสดงการต่ อ วงจรกระแสสลั บ ของ
อุปกรณ์ควบคุมและป้องกันเชื่อมโยงกับอุปกรณ์ใน switchyard อื่นๆ เช่น CT, CVT, Transformer เป็นต้น

การแสดงรายละเอียดของอุปกรณ์ในแบบ E-5
รายละเอียดของอุป กรณ์ ระบบควบคุ มป้ องกัน ที่ ต้องแสดงในแบบ AC Schematic Diagram มีดั งนี้ (1)
Protective device number, (2) Manufacturer, (3) Type (version)

การเลือกใช้ PT และ CT Junction Box


PT และ CT Junction Box แสดงรายละเอียดการใช้งานในแบบ TP-E-18.1, TP-E-18.2 และ TP-E-18.5
ซึง่ สามารถสรุปการใช้งานได้ตามตารางที่ 8 และ 9

Type Phase Winding ระดับแรงดัน ใช้สาหรับ


PT1 3 2 115 kV Bus, Main and Transfer Bus
PT3 3 2 115 kV, 230 kV Bus, Breaker and a Half
PT4 1 2 115 kV, 230 kV Sync., VTDR สาหรับการจัดบัสทุกแบบ
PT5 3 1 22 kV Line
PT6 3 2 230 kV, 500 kV Transformer Tertiary Winding
PT7 3 3 500 kV Line
PT8 1 3 500 kV Bus, Transformer
PT9 3 2 115 kV, 230 kV Line to PEA, MEA
PT10 3 2 115 kV Line, Breaker and a Half
PT11 3 2 230 kV Line, Breaker and a Half
PT12 3 4 500 kV Line to IPP

ตารางที่ 8 การใช้งาน PT Junction Box


108

Type Core ระดับแรงดัน ใช้สาหรับ


CT1 4 115 kV, 230 kV CT 4 core
CT2 2 22kV, 115 kV CT 2 core
CT3 2 ทุกแรงดัน Revenue Metering
CT4 - ทุกแรงดัน Bus Differential Protection, High Impedance
CT6 6 500 kV CT 6 core
CT7 3 115 kV, 230 kV CT 3 core

ตารางที่ 9 การใช้งาน CT Junction Box

การต่ออุปกรณ์ใน AC Schematic Diagram


1. MCB ในวงจร PT หรือ CVT
1.1 ขนาดของ MCB ที่ Panel Board ต้ องมี rated 0.5 A และมี คุณ สมบั ติ ต ามมาตรฐาน IEC898
Curve C ซึ่งมี Instantaneous Overcurrent 5 เท่าของ rated current ของ MCB
1.2 แยก MCB ส าหรั บ รี เลย์ ที่ ใช้ PT หรื อ CVT ชุ ด เดี ย วกั น ตั ว อย่ า งเช่ น Synchronism-Check
Relay ในรูปที่ 48
1.3 FRS ให้ใช้ MCB ต่างหากจากอุปกรณ์อื่นที่ใช้ PT ชุดเดียวกัน
1.4 ให้แยกวงจรของ Energy Meter ออกจากวงจรอื่นที่ PT Junction Box
2. Distance Relay ให้มี MCB จุดเดียวที่ PT Junction Box ส่วนภายใน relay panel ให้ใช้ terminal
block แบบ Disconnect หรือ Blade type
3. การต่อ Ground ของวงจร PT ใน panel ให้ต่อจุดแรกที่น า cable ขึ้น โดย 1 voltage circuit ให้ มี
การ Ground 1 จุดเท่านั้น
4. Terminal ส าหรั บ current circuit ให้ ใ ช้ แ บบ slide แต่ ล ะด้ า นของ terminal มี Test Socket
จ านวน 9 terminal หรือเที ย บเท่ า ส าหรับ CT 3 เฟส ตามรูป ที่ 49 (ก) และใช้ 5 terminal หรือ
เที ย บเท่ า ส าหรั บ CT single phase หรื อ ส าหรั บ Ground Unit เช่ น 51GB1, 51GB2 ของ Tie
Transformer และ 60C1, 60C2 ส าหรั บ C-bank 230 kV เป็ น ต้ น ดั ง แสดงในรู ป ที่ 49 (ข) โดย
terminal ตัวสุดท้าย จะต้อง connect กับ Ground bus ของ panel ที่จุดแรกที่นา cable ขึ้น โดย 1
current circuit ให้มีการ Ground 1 จุดเท่านั้น
5. กรณี ที่ มี current จากหลายทางไหลผ่ านอุป กรณ์ อื่น ก่อน เช่ น Breaker Failure Relay เป็ น ต้ น ให้
connect กับ Ground Bus ของ panel ที่จุดแรกที่มีการรวมกันของ current เพื่อป้องกัน error จาก
การไหลวนของ Ground current ดังแสดงในรูปที่ 50
6. Terminal สาหรับ current circuit ถ้ามีหลาย circuit ให้แยก group
7. ให้ ใ ช้ Test Switch ใน AC Schematic Diagram ส าหรั บ Protective Relay ทุ ก ประเภท ส่ ว น
Metering and Transducer ให้ใช้ตามที่ระบุใน E-1
109

รูปที่ 48 การแยก MCB ของรีเลย์ที่ใช้ PT ชุดเดียวกัน

(ก) (ข)
รูปที่ 49 การใช้งาน Terminal สาหรับวงจร CT
110

รูปที่ 50 การต่อ Ground ของ Current Circuit กรณีที่มี Current จากหลายทาง


111

Marshalling Panel for Fault Recording System


แบบมาตรฐานของ Marshalling Panel for Fault Recording System แสดงใน TP-E-10.3 ส่ ว น
รายละเอียดของ AC Schematic Diagram แสดงในรูปที่ 51 โดยรูปที่ 51 (ก) แสดง current circuit ซึง่ ในแบบ
Typical จะจั ด กลุ่ ม ของ terminal โดยกาหนดให้ 28 terminal เป็ น 1 terminal group ส่ ว น 51 (ข) แสดง
voltage circuit

รูปที่ 51 (ก) การใช้งาน Terminal สาหรับวงจร CT

รูปที่ 51 (ข) Voltage Circuit ของ FRS และอุปกรณ์อื่นที่ใช้ PT ชุดเดียวกัน


112

Metering and Transducer Circuit


AC Schematic Diagram ของวงจร Metering แสดงในรูปที่ 52 ส่วนวงจร Transducer ต่างๆ แสดงใน
รูปที่ 53 (ก), (ข) และ (ค)

รูปที่ 52 AC Schematic Diagram ของ Metering Circuit


113

รูปที่ 53 (ก) AC Schematic Diagram ของ W&VAR Transducer

รูปที่ 53 (ข) AC Schematic Diagram ของ RTDR, TTDR และ DCTDR


114

รูปที่ 53 (ค) AC Schematic Diagram ของ Current Transducer (ATDR)


115

Line Protection
AC Schematic Diagram ในลักษณะเดียวกันสาหรับทุกระดับแรงดันไฟฟ้า โดยจะยกตัวอย่างเป็นบาง
อุปกรณ์ ดังต่อไปนี้
รูป ที่ 54 แสดงตั ว อย่ า ง AC Schematic Diagram ของ 115 kV Line Protection โดยใช้ Current
Differential Relay
รู ป ที่ 55 แ ส ด ง ตั ว อ ย่ า ง AC Schematic Diagram ข อ ง 115 kV Line Protection โด ย ใช้
Distance Relay
รู ป ที่ 56 แ ส ด งการใช้ งาน Distance Relay ทั้ ง Primary แ ล ะ Backup Protection ที่ ระดั บ
แรงดัน 230 kV
รูปที่ 57 แสดงตัวอย่าง AC Schematic Diagram ของ 115 kV Overcurrent Relay

รูปที่ 54 AC Schematic Diagram ของ 115 kV Line Protection โดยใช้ Current Differential Relay

รูปที่ 55 AC Schematic Diagram ของ 115 kV Line Protection โดยใช้ Distance Relay
116

รูปที่ 56 การใช้งาน Distance Relay ทั้ง Primary และ Backup Protection ที่ระดับแรงดัน 230 kV
117

รูปที่ 57 AC Schematic Diagram ของ 115 kV Overcurrent Relay


118

Transformer Protection
ตัวอย่างของ Transformer Differential Protection แสดงในรูปที่ 58

รูปที่ 58 AC Schematic Diagram ของ Transformer Differential Protection


119

Bus Protection
กรณี ที่ Bus Differential Relay เป็นแบบ High Impedance ให้ใช้วงจรที่ประกอบด้วย 87B, 95B และ
นา contact ของ 86B, 95B มา short CT ดังตัวอย่างรูปที่ 59 และ รูปที่ 60
ส่วน Bus Differential Relay ชนิด Low Impedance และอื่นๆ วงจรการใช้งานให้เป็นไปตามคาแนะนา
ของบริษัทผู้ผลิตรีเลย์

รูปที่ 59 AC Schematic Diagram ของ Bus Differential Protection, High Impedance


120

รูปที่ 60 AC Schematic Diagram ของ Bus Differential Protection, High Impedance อีกแบบหนึ่ง
121

Reactor Protection
Reactor Protection ใช้ Overcurrent Relay ร่ ว มกั บ Differential Relay แบ บ High Impedance
กรณี ข อง 22 kV Differential Relay ใช้ เฉพาะ 87R ส่ ว น 500 kV จะมี ทั้ ง 87R และ 95R เหมื อ นกั บ Bus
Protection แบบ High Impedance

Capacitor Bank Protection


จาก Metering and Relaying Diagram ของ Capacitor Bank สามารถเขียน AC Schematic Diagram
ส าหรับ C-bank 22 kV และ 33 kV ได้ ดั ง รูป ที่ 2 ส่ ว น C-bank 69 kV และ 115 kV แสดงไว้ ในรูป ที่ 61 และ
C-bank 230 kV แสดงไว้ในรูปที่ 62

รูปที่ 61 AC Schematic Diagram ของ 115 kV Capacitor Bank Protection


122

รูปที่ 62 AC Schematic Diagram ของ 230 kV Capacitor Bank Protection


123

Cubicle Illumination and Outlet


ตัวอย่างการใช้งานของ Cubicle Illumination and Outlet ได้แสดงไว้ในรูปที่ 63

รูปที่ 63 การต่อใช้งาน Cubicle Illumination and Outlet

เรื่องอื่นๆ
1. ในกรณีที่ต้องใช้ Auxiliary CT สาหรับ Transformer Differential Relay (87K) ให้ใช้ Auxiliary CT ต่อ
กับ CT ทุ กวงจร และให้ แสดง connection ของ tap Auxiliary CT ที่ ใช้ งานในแบบ E-5 และ wiring
diagram ด้วย
2. MCB สาหรับ 230 VAC supply ควรมีขนาด 6A และมีคุณสมบัติตรงตามมาตรฐาน IEC60974 Curve K
ซึง่ มี Instantaneous Overcurrent 10 เท่าของ rated current ของ MCB
124

DC Schematic Diagram (E-6)


DC Schematic Diagram หรือ E-6 แสดงการต่ อวงจรกระแสตรงของอุ ป กรณ์ ควบคุม และป้ องกั น
ตามที่ระบุไว้ใน Protective Device Function (E-3)

การแสดงรายละเอียดของอุปกรณ์ในแบบ E-6
รายละเอียดของอุปกรณ์ระบบควบคุมและป้องกันที่ต้องแสดงในแบบ DC Schematic Diagram มีดังนี้
(1) Protective device number, (2) Manufacturer, (3) Type (version) เช่นเดียวกับ E-5
กรณี ที่รีเลย์เป็น แบบ numerical ที่ สามารถโปรแกรม input, output ได้ จะต้องระบุ function ที่
โปรแกรมไว้ใน drawing ของรีเลย์นั้นๆ ด้วย
ใน DC Schematic Diagram ของวงจรควบคุม BKR. ต้ องแสดง legend และ description พร้อ ม
rating ของอุปกรณ์ภายใน BKR. ด้วย

Auxiliary Tripping and Lockout Relay


1. Auxiliary Tripping and Lockout Relay (86) ควรใช้ type ที่มีจานวน contact เพียงพอต่อการใช้
งาน ถ้าจานวน contact ไม่พอให้เพิ่ม Lockout Relay (86-1) ตัวใหม่ โดยให้ต่อขนานกับ 86 ตัว
เดิมดังรูปที่ 64 ซึ่ง contact สาหรับส่ง RTU ให้ส่ง channel ของ 86 แยกกันทุกตัว และ contact
สาหรับส่ง FRS ให้ส่ง channel ของ 86 แยกกันทุกตัว
ในการออกแบบใหม่ให้ใช้ 86 ชนิด Voltage Operate ส่วนการออกแบบปรับปรุง ถ้าหาก 86 เดิมเป็น
ชนิด Current Operate ให้เปลี่ยนชุดใหม่เป็น Voltage Operate
2. Protective Relay ชนิ ด Tripping ให้ สั่ ง initiate 50BF โดยผ่ า น Auxiliary Tripping Relay ชนิ ด
high speed (94) เพื่อไปทางานแทน ดังรูปที่ 65 โดย 94 ต้องมี pick up time ไม่เกิน 10 ms. และ
contact rating ต้องไม่ต่ากว่า 10A (continuous)
3. Contact ของ 94 ที่นามาติดตั้งเพิ่มในวงจร 86 เพื่อเพิ่ม speed การทางานของ Lockout Relay ไม่
ต้องนา contact 94 มาส่ง RTU
125

รูปที่ 64 การเพิ่ม Auxiliary Tripping and Lockout Relay โดยการต่อขนาน

รูปที่ 65 DC Schematic Diagram ของ Auxiliary Tripping Relay ชนิด High Speed (94)
126

Line Protection
ตัวอย่ าง DC Schematic Diagram ของ Distance Relay ชนิ ด single phase trip ที่ มีการเชื่อมต่ อ
กับระบบ Teleprotection แสดงไว้ในรูปที่ 66

รูปที่ 66 DC Schematic Diagram ของ Distance Relay ชนิด Single Phase Trip
127

ตั วอย่ าง DC Schematic Diagram ของ Distance Relay ชนิ ด three phase trip ที่ มี การเชื่ อมต่ อกั บ
ระบบ Teleprotection แสดงไว้ในรูปที่ 67

รูปที่ 67 DC Schematic Diagram ของ Distance Relay ชนิด Three Phase Trip
128

สาหรับวงจร Distance Relay ทุกวงจร, ทุกระดับแรงดัน ให้ออกแบบเพิ่มการเลือกกลุ่ม Setting ของ


Distance Relay แบบอัตโนมัติจากสถานีไฟฟ้า Group Selector Switch โดยมีข้อกาหนดดังนี้
- การเลือกออกแบบวงจร Group Selector Switch สาหรับวงจร Distance Relay
 กรณี ระบบป้ อ งกั น มี ส องชุ ด เป็ น Line Differential Relay และ Distance Relay
(87L,21P หรือ 87L,21BU) ให้ อ อกแบบวงจร Group Selector Switch ส าหรับ วงจร
21P หรือ 21BU
 กรณีระบบป้องกันมีสองชุด เป็น Distance Relay ทั้งคู่ (21P1,21P2) ให้ออกแบบวงจร
Group Selector Switch สาหรับวงจร 21P2 เท่านั้น
- ให้ออกแบบมีหลอดไฟสาหรับแสดง Status “Group 2 Active” ของ Group Selector Switch
- สาหรับสัญญาณส่ง RTU (Major Group) ให้ประกอบด้วยสัญญาณดังนี้
1. ”Group 2 Active” – จาก Relay
2. ”Group 2 Active” – จาก Group Selector Switch

รูปที่ 68 DC Schematic Diagram แสดงวงจรเพิม่ สาหรับ Distance Relay Group Selector Switch
129

วงจร Auto Reclosing Relay แสดงไว้ในรูปที่ 69

รูปที่ 69 DC Schematic Diagram ของ Auto Reclosing Relay, Three pole reclose
130

ตัวอย่างของ Current Differential Relay ชนิด Single Phase Trip ดังรูปที่ 70 (ก)

รูปที่ 70 (ก) DC Schematic Diagram ของ Current Differential Relay ชนิด Single Phase Trip
131

ตัวอย่างของ Current Differential Relay ชนิด Three Phase Trip ดังรูปที่ 70 (ข)

รูปที่ 70 (ข) DC Schematic Diagram ของ Current Differential Relay ชนิด Three Phase Trip
132

การใช้ DC supply ของ Line Protection ให้ ใช้ ต ามข้ อ ก าหนดการใช้ ง านของ DC Distribution
Panel (E-4) ดังรูปที่ 71

รูปที่ 71 วงจร DC Power Supply สาหรับ Line Protection


133

Transformer Protection
ตั ว อย่ า งการใช้ ง านของ Overcurrent Relay ส าหรั บ Transformer Protection แสดงไว้ ในรู ป ที่ 72
ส่วนตัวอย่างการใช้งานของ Transformer Differential Relay ได้แสดงไว้ในรูปที่ 73

รูปที่ 72 DC Schematic Diagram ของ Overcurrent Relay สาหรับ Transformer Protection


134

รูปที่ 73 DC Schematic Diagram ของ Transformer Differential Relay


135

การใช้ DC supply และ DC schematic diagram ของ Transformer Protection ตัวอย่างแสดงไว้ใน


รูปที่ 74

รูปที่ 74 (ก) วงจร DC Power Supply สาหรับ 115/230 kV Transformer Protection

รูปที่ 74 (ข) วงจร DC Power Supply สาหรับ 230/115 kV Transformer Protection


136

รูปที่ 74 (ค) วงจร DC Power Supply สาหรับ 500/230 kV Transformer Protection (Primary Protection)

รูปที่ 74 (ง) วงจร DC Power Supply สาหรับ 500/230 kV Transformer Protection (Secondary Protection)
137

Bus Protection
ตัวอย่างการใช้งานของ Bus Protection, high impedance type แสดงไว้ในรูปที่ 75 ส่วนรูปแบบการใช้
งานของ low impedance type ขึ้นอยู่กับประเภทการจัดเรียง bus ดังนั้นจึงจะพิจารณาเป็นกรณีไป

รูปที่ 75 DC Schematic Diagram ของ Bus Protection, High Impedance Type


138

Stub Protection
Stub Protection จะใช้งานเมื่อ open line ด้วย DS และ connect bus เข้าด้วยกัน ส่วนใหญ่ใช้ใน
การจัด bus แบบ Breaker and a Half และ Ring Bus ตัวอย่าง DC Schematic Diagram แสดงไว้ในรูปที่ 76

รูปที่ 76 DC Schematic Diagram ของ Stub Protection


139

Breaker Failure Protection


Circuit Breaker ที่ใช้ในระดับแรงดันตั้งแต่ 69 kV ขึ้นไปจะต้องมี Breaker Failure Protection และใช้
Pole Disagreement Protection สาหรับ BKR. ชนิด single pole
DC Schematic Diagram ข อ ง Breaker Failure Protection ให้ ใช้ ต าม ตั ว อ ย่ างใน รู ป ที่ 77 ซึ่ ง
ประกอบด้วย Breaker Failure Protection และ Pole Disagreement Relay ของ BKR. 80332 (Line BKR.)
Pole Disagreement Relay ให้ Trip BKR. และส่ง alarm ไปที่ RTU และ FRS เท่านั้น ในกรณีที่ BKR.
ติดกับโรงไฟฟ้า จะต้องนา contact ของ Pole Disagreement Relay ไป initiate 86BF ด้วย ในกรณีที่ BKR.
Fail เป็น Numerical type ให้ใช้ดังรูปที่ 78 (ก) ส่วนชนิดอื่นๆ ให้ใช้ดังรูปที่ 78 (ข)
กรณี Breaker Failure Relay ที่เป็นแบบ digital มีการรวม timer (62BF) เข้ากับ 50BF จะเรียกว่า 50BF
(ทั้ งใน AC and DC Schematic Diagram) ให้ น า output contact ที่ โปรแกรมเป็ น 50BF+62BF ไปอนุ กรมกับ
50BFCO แล้วจึง initiate 86BF (หรือ 86B สาหรับ Main and Transfer Bus) ตามรูปที่ 79

รูปที่ 77 DC Schematic Diagram ของ Breaker Failure Protection


140

(ก)

(ข)
รูปที่ 78 DC Schematic Diagram ของ Breaker Failure Protection สาหรับ BKR. ที่ติดโรงไฟฟ้า
141

รูปที่ 79 DC Schematic Diagram ของ Breaker Failure Protection, Digital Type


142

Direct Transfer Trip


Line Protection จะต้องทา remote trip โดยใช้ Scheme Direct Transfer Trip (DTT) มีดังนี้
 Line กฟผ. ระดับ 230 kV ขึ้นไป
 Line กฟผ. - กฟภ. / Line กฟผ. - กฟน.
 Line กฟผ. – SPP/IPP

ซึ่ง 230 kV DTT ได้แสดงไว้ในรูปที่ 80 ส่วน 500 kV จะใช้ DTT 2 ชุด โดย DTT1 แสดงในรูปที่ 81

รูปที่ 80 DC Schematic Diagram ของ 230 kV Direct Transfer Trip


143

รูปที่ 81 DC Schematic Diagram ของ 500 kV Direct Transfer Trip


144

Capacitor Bank Protection


DC Schematic Diagram ของ C-bank 22 kV และ 33kV แสดงตามรูป ที่ 82, C-bank 69kV และ
115 kV แสดงตามรูปที่ 83 และ C-bank 230 kV แสดงตามรูปที่ 84
กรณี C-bank 22 kV (33 kV) ให้ trip C-bank ทุก step ที่ต่อกับ 22 kV (33 kV) feeder เมื่อ main
BKR. ของ 22 kV (33 kV) feeder นั้น trip โดยการนา auxiliary contact 52b ของ Main BKR. ต่ออนุกรมกับ
89b ของ Bypass Disconnecting Switch (DS) มาขยายผ่ า น Auxiliary Relay 52bX เพื่ อ ปลด C-bank
Breaker ทุกตัวตามรูปที่ 82 โดย 52bX ต้องเป็นชนิด high speed มี pickup Time ไม่เกิน 10 ms
ส่วน DC Schematic Diagram สาหรับ วงจรควบคุม BKR. ของ C-bank จะต้องมี timer 1 ตัว เพื่ อ
หน่ ว งเวลาให้ C-bank discharge หมดเสี ย ก่ อ น จึ ง จะให้ BKR. ของ C-bank ‘Close’ ซ้ าได้ ดั ง DC
Schematic Diagram รูปที่ 85

รูปที่ 82 (ก) DC Schematic Diagram ของ 22 kV and 33 kV Capacitor Bank Protection


145

รูปที่ 82 (ข) การขยาย Auxiliary Contact ของ Feeder Breaker เพื่อปลด C-bank 22 kV และ 33 kV
146

รูปที่ 83 DC Schematic Diagram ของ C-bank 69kV and 115kV Capacitor Bank Protection
147

รูปที่ 84 DC Schematic Diagram ของ 230 kV Capacitor Bank Protection


148

(ก) C-bank Breaker 22 kV and 33 kV

(ข) C-bank Breaker 115 kV


รูปที่ 85 DC Schematic Diagram ของ C-bank Breaker
149

(ค) C-bank Breaker 230 kV


รูปที่ 85 (ต่อ)
150

Breaker Failure Protection ของ C-bank 115 kV (69 kV) และ 230 kV แสดงในรูปที่ 86

รูปที่ 86 DC Schematic Diagram ของ C-bank 115kV (69kV) และ 230kV Breaker Failure Protection
151

วงจรควบคุมสาหรับ Circuit Breaker และ Motorized-Operate Disconnecting Switch


สาหรับสถานีไฟฟ้าแบบ Conventional มีการใช้ Breaker DC Undervoltage Relay (27XB) 2 ชุดเพื่อ
ลด voltage drop ใน cable ดังวงจรควบคุม BKR. ในรูปที่ 87 (ก) โดย 27XB1 ตรวจสอบ voltage ที่หลัง fuse
หรือ MCB ของ BKR. ส่วน 27XB2 ตรวจสอบ voltage ที่หลัง MCB ของ control circuit ของ BKR.
การบารุงรักษา BKR. ทาได้โดยยก Knife Switch (KS) ที่ BKR. และบิด selector switch ไปที่ local ก็จะ
ไม่มีไฟเข้ามาใน control circuit ของ BKR. ส่วนสฟ.แบบ GIS ให้วงจรควบคุม BKR. ดังรูปที่ 87 (ข)

รูปที่ 87 (ก) การใช้งาน DC Undervoltage Relay สาหรับ Breaker, Conventional Type

รูปที่ 87 (ข) การใช้งาน DC Undervoltage Relay สาหรับ Breaker, GIS Type


152

Closing Circuit
1. วงจรควบคุม BKR. ชนิด conventional จะไม่น าเอา auxiliary contact ของ DS มา interlock ใน
วงจร Close BKR. ยกเว้นกรณีของ GIS ต้องใช้ interlock โดย auxiliary contact จาก DS เนื่องจาก
ไม่สามารถมองเห็นสถานะของ DS ได้
2. กรณี Motorized-Operate Disconnecting Switch (MDS) ให้ น า auxiliary contact 52b ข อง
BKR. มา interlock ในวงจรควบคุม MDS ด้านไฟลบ ตามรูปที่ 88
2.1 กรณี Breaker ชนิด three pole operate ให้ใช้ auxiliary contact 52b 1 ชุด ไป block การ
ทางานของ MDS (รูปที่ 88)
2.2 กรณี Breaker ชนิด single pole operate ให้ใช้ auxiliary contact 52b ของแต่ละ phase ต่อ
อนุกรมกันแล้วเพื่อ block การทางานของ MDS

รูปที่ 88 การนา 52b มา Block การ Close MDS


หมายเหตุ : จากรูปที่ 88
PBO = Push Button Open
PBC = Push Button Close
MOX = MDS Computer Command Open Auxiliary Relay
MCX = MDS Computer Command Close Auxiliary Relay
153

Tripping Circuit
1. Tripping contact ของ รีเลย์ที่ไปสั่ง trip BKR. ให้ใช้ free contact เพียงอย่างเดียว
2. การย้าย individual protection (ยกเว้น 86A ให้ใช้ตามข้อ 3) ไปยัง Bus Tie Breaker ของ Main and
Transfer Bus และ Double Bus Single Breaker ให้ ย้ า ยโดยการใช้ Trip Transfer Switch (43) หรือ
Automatic Transfer Switch หรือ Trip Transfer Auxiliary Relay (43X) โดยจะมี alarm บอกสถานะ
ถ้ า มี 43X หลายชุ ด ให้ น า contact a (Tie position) ของ 43X ทุ ก ตั ว ต่ อ อนุ ก รมก่ อ นส่ ง RTU ส่ ว น
common protection ได้ แ ก่ Bus Differential Tripping and Lockout Relay (86B) ให้ ต่ อ เข้ า วงจร
trip ของ BKR. โดยตรงโดยไม่ต้องผ่าน 43 ตามรูปที่ 89
3. ก ารใช้ งาน Transformer trouble auxiliary tripping and lockout relay (86A) เพื่ อ ล ด ปั ญ ห า
voltage drop ในการจัด bus แบบ Main and Transfer Bus และ Double Bus Single Breaker ให้ใช้
86A ไป trip Normal Breaker ส่วน Tie Breaker ดังรูปที่ 89 ส่วนในการจัด bus แบบ Breaker and a
Half หรื อ Ring Bus ให้ เอา 86A ดึ ง จากหม้ อ แปลงไป trip BKR. โดยตรงโดยไม่ ผ่ า นวงจร trip ใน
control room
4. กรณีของ สฟ.แบบ GIS การ Transfer Trip Function ให้ใช้ auxiliary contact ของ DS ผ่าน Latching
Relay ซึ่งติดตั้งไว้ที่ Relay Panel หรือ Interposing Panel
5. ในการออกแบบ สฟ.ระดั บ แรงดั น 500 kV ให้ ใช้ Breaker Trip Supervision Relay (95TCS) ตามรูป
ที่ 90 การตรวจจับสัญญาณของ relay ต้องสามารถทาได้ทุก Tripping coil ตาแหน่งการติดตั้ง relay ต้อง
อยู่จุดสุดท้ายของการ wiring
6. การย้าย Protection ของ 22 kV (33kV) (51&51G) ไป trip BKR. ด้าน high side ในกรณีที่ใช้ bypass
switch แทน low side BKR. ให้ ใ ช้ ว งจรตามรู ป ที่ 91 โดยรู ป 91 (ก) แสดง low side BKR. และ
รูป 91 (ข) แสดง high side BKR. รีเลย์ 51/51G ให้ trip อย่างเดียว ไม่ต้อง initiate Breaker Failure

รูปที่ 89 การ Trip Breaker ด้วย Transformer Trouble Auxiliary Tripping and Lockout Relay
154

รูปที่ 90 การใช้งาน Trip Supervision Relay สาหรับ 500 kV BKR. Pole ‘A’
155

(ก)

(ข)
รูปที่ 91 การ Trip Breaker ด้วย 51/51G (ผ่าน 51X)
156

ตัวอย่างวงจรการ Close และ Trip สาหรับ Breaker


จากหัวข้อ Metering and Relaying Diagram ได้ยกตัวอย่างการจัด bus ชนิดต่างๆ ทาให้รูปแบบการ
close และ trip BKR. แตกต่างกัน ตาม Protective Device Function เขียนเป็ น DC Schematic Diagram
สาหรับ BKR. บางตัวได้ดังนี้
BKR. 7092 เป็น Line Breaker (Main and Transfer) มี DC Schematic Diagram ตามรูปที่ 92
BKR. 70732 เป็น Line Breaker (Breaker and a Half) มี DC Schematic Diagram ตามรูปที่ 93

รูปที่ 92 DC Schematic Diagram ของ Line Breaker ที่มีการจัด bus แบบ Main and Transfer Bus
157

รูปที่ 93 DC Schematic Diagram ของ Line Breaker ที่มีการจัด bus แบบ Breaker and a Half

หมายเหตุ : ตาแหน่งต่างๆของ switch วงจรการ close และ trip สาหรับ DC Scheme ของ Breaker มีดังนี้
1. CS = Breaker Control Switch
PL = Pull to Lockout
T = Trip
AT = Return after Trip
AC = Return after Close
C = Close
2. 43 = Trip Transfer Switch
T = Tie Breaker Position
N = Normal Breaker Position
158

BKR. 70722 เป็ น BKR. ระหว่ า ง Line กั บ Loading Transformer (Breaker and a Half) มี DC
Schematic Diagram ดังรูปที่ 94

รูปที่ 94 DC Schematic Diagram ของ Breaker ระหว่าง Line กับ Loading Transformer ที่มีการจัด bus
แบบ Breaker and a Half
159

BKR. 70712 เป็น Loading Transformer Breaker (Breaker and a Half) มี DC Schematic Diagram
ดังรูปที่ 95

รู ป ที่ 95 DC Schematic Diagram ของ Loading Transformer Breaker ที่ มี ก ารจั ด bus แบ บ Breaker
and a Half
160

BKR. 3342 เป็น Feeder Breaker มี DC Schematic Diagram ดังรูปที่ 96

รูปที่ 96 DC Schematic Diagram ของ Breaker ด้าน Low Side ของ Loading Transformer
161

BKR. 70532 เป็ น BKR. ด้ า น low side ของ Tie Transformer ที่ มี ก ารจั ด bus แบบ Breaker and a
half มี DC Schematic Diagram ดังรูปที่ 97

รู ป ที่ 97 DC Schematic Diagram ของ Breaker ด้ า น Low Side ของ Tie Transformer 230/115-25 kV
ที่มีการจัด bus แบบ Breaker and a Half
162

BKR. 7022 เป็น Loading Transformer Breaker ที่มีการจัด bus แบบ Main and Transfer Bus มี
DC Schematic Diagram ตามรูปที่ 98

รูป ที่ 98 DC Schematic Diagram ของ Breaker ด้ าน High Side ของ Loading Transformer ที่ มี การจั ด
bus แบบ Main and Transfer Bus
163

BKR. 7032 เป็น PEA Line Breaker ที่มีการจัด bus แบบ Main and Transfer Bus มี DC Schematic
Diagram ตามรูปที่ 99

รูปที่ 99 DC Schematic Diagram ของ Breaker ของ Line to PEA ที่มีการจัด bus แบบ Main and Transfer Bus
164

BKR. 7002 เป็น Tie Breaker มี DC Schematic Diagram ตามรูปที่ 100

รูปที่ 100 DC Schematic Diagram ของ Tie Breaker


165

BKR. 7022 เป็ น Loading Transformer Breaker ที่ มี การขนานหม้ อ แปลง loading ในสฟ.ที่ มี การจั ด
bus แบบ Main and Transfer Bus มี DC Schematic Diagram ตามรูปที่ 101 โดย 86A ของหม้อแปลงแต่ละตัว
ให้ใช้วงจรตามรูปที่ 102 86K1&2 จะใช้เมื่อหม้อแปลงมีขนาดตั้งแต่ 12.5 MVA ขึ้นไป

รูปที่ 101 DC Schematic Diagram ของ Breaker ด้าน High Side ของ Loading Transformer ที่มีการจัด bus
แบบ Main and Transfer Bus กรณีมีการขนาน Loading Transformer
166

รูปที่ 102 การต่อวงจรของ 86A กรณีขนาน Loading Transformer


167

BKR. 80332 เป็น Line Breaker มี DC Schematic Diagram ตามรูปที่ 103

รูปที่ 103 (ก) DC Schematic Diagram ของ Breaker ระดับ 230 kV กรณี Single Pole Operated
168

รูปที่ 103 (ข) DC Schematic Diagram ของ Line Breaker ทั่วไป


169

BKR. 80322 เป็ น Breaker ตั ว กลาง ของการจั ด bus แบบ Breaker and a Half มี DC Schematic
Diagram ดังรูปที่ 104

รูปที่ 104 DC Schematic Diagram ของ Breaker ตัวกลางระหว่าง Line กับ Tie Transformer ระดับ 230 kV

500 kV BKR. รูปที่ 105 แสดง DC Schematic Diagram ของ BKR. 90112A เป็น BKR. ติด bus ของการ
จัด bus แบบ Breaker and a Half จ่ายไฟให้กับ 500/230 kV KT9A โดยรูปที่ 105 (ก) แสดง closing coil และ
tripping coil 1 phase A, รูปที่ 105 (ข) แสดง tripping coil 1 3 phase, และรูปที่ 105 (ค) แสดง tripping coil
2 phase A, B, C
170

รูปที่ 105 (ก) DC Schematic Diagram ของ Breaker ติด Bus ระดับ 500 kV
171

รูปที่ 105 (ข) DC Schematic Diagram ของ Breaker ติด Bus ระดับ 500 kV
172

รูปที่ 105 (ค) DC Schematic Diagram ของ Breaker ติด Bus ระดับ 500 kV
173

การ Interface กับ Remote Terminal Unit (RTU)


การ interface ระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ กับ RTU จะต้องทาผ่าน Marshalling Panel for RTU (MP-RTU)
ดั งแสดงในรูป ที่ 106 โดย MP-RTU มี 2 ด้ านภายในประกอบด้ วย terminal block ชนิ ด Blade Disconnect
ด้านหน้ามีจานวน 4 แถว แถว X1A-X1B มีจานวน 256 terminal และแถว X1C-X1D มีจานวน 288 terminal
ส่วนด้านหลังมีจานวน 4 แถวเช่นกันแต่มีแถวละ 288 terminal (X2A-X2D)
ตั ว อย่ า งการ Interface Analog Input, Control Output กั บ RTU แสดงไว้ ใ นรู ป ที่ 107 และ 108
ตามลาดับ

รูปที่ 106 Connection Diagram สาหรับการ Interface ระหว่างอุปกรณ์กับ RTU

การ Interface Digital Input กับ RTU


Trouble contact (หรือ alarm contact) ที่มาจากอุปกรณ์ใน Switchyard ให้ดึงเข้าตู้ MP-RTU โดยตรง
ไม่ต้องผ่าน Auxiliary relay
กรณี เป็ น 8890 RTU Digital Input Signals ไม่ ให้ มี ก ารใช้ common digital input ร่ ว มกั น (ให้ เป็ น
individual contact) เนื่ อ งจากข้ อ จ ากั ด ของ Digital Input Card ของ 8890-RTU ที่ ก ฟผ.เลื อ กใช้ เป็ น ชนิ ด
Bussed Input Type ดังนั้นที่ MP-RTU ต้องกาหนด terminal block จานวน 2 terminal ต่อ DI 1 channel
กรณี เป็น EGAT RTU หรือ RTU อื่นๆ ที่ common digital input ได้ ดังนั้นที่ MP-RTU จะจัดเตรียม 2
digital input ต่ อ 1 common ถ้ า เป็ น อุ ป กรณ์ เดี ย วกั น หรื อ มาจาก panel เดี ย วกั น สามารถ common จาก
อุปกรณ์หรือจาก panel มายัง MP-RUT panel ได้ แต่ cable ต้องไม่ข้าม group และใน RTU ต้องไม่ข้าม card
ตัวอย่างการ Interface Digital Input กับ RTU แสดงในรูปที่ 109
จานวน DI card สาหรับ RTU แต่ละชนิดควรเผื่อสาหรับอนาคตพอสมควร
174

รูปที่ 107 Analog Input สาหรับ RTU


175

รูปที่ 108 Control Output ของ RTU


176

รูปที่ 109 Digital Input สาหรับ RTU


177

Marshalling Panel for Control System (MPC)


ส าหรั บ สฟ .ที่ ไม่ มี Control Panel ให้ ติ ด ตั้ ง Marshalling Panel for Control System (MPC) ใน
control room เพิ่ม โดย Panel ดังกล่าวมีไว้เพื่อ:-
- เป็ น จุ ด เชื่ อ มต่ อ cable ส าหรั บ การ control ของ Circuit Breaker, Motorized Disconnecting
Switch (MDS), อุ ป กรณ์ GIS กั บ Panel ต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เช่ น Interposing relay panel,
Protection relay panel เป็นต้น
- สะดวกในการทางานก่อสร้างและบารุงรักษา
การใช้งาน MPC ได้แสดงไว้ในรูปที่ 110 ส่วนตัวอย่าง DC Schematic Diagram ของ BKR. เมื่อใช้ MPC
แสดงในรูปที่ 111

รูปที่ 110 การใช้งาน Marshalling Panel for Control System (MPC)


178

รูปที่ 111 DC Schematic Diagram ของ Breaker ที่ใช้ MPC


179

เรื่องอื่นๆ
1. DC circuit ของ Protective Relay จะต้ องต่ อ ผ่ า น Test Switch ของอุ ป กรณ์ นั้ น จุ ด ที่ ต้ องต่ อผ่ า น
Test Switch ได้ แ ก่ DC supply, trip contact, initiate input, output contact เป็ น ต้ น ยกเว้ น
alarm
2. การนา auxiliary contact ของ BKR. ชนิด single pole มาใช้งาน
2.1 Show status ให้ต่อแบบขนาน
2.2 ส าหรับ 79 กรณี ต้ อ งการสถานะของ BKR. โดยต้ องการใช้ 52a ให้ น า 52a ของแต่ ล ะ pole มา
อนุกรมกัน ถ้าต้องการ 52b ให้นา 52b ของแต่ละ pole มาขนานกัน
2.3 21P สาหรับ function SOTF ให้นา 52b มาอนุกรม
2.4 FRS ให้นา 52b ของแต่ละ pole มาขนานกัน
3. Contact ที่ initiate FRS, SER, LFL ให้ใช้ free contact เท่านั้น
4. MCB ที่ใช้ใน control circuit ให้ใช้ขนาด 6A curve K ตามมาตรฐาน IEC60974
5. หม้อแปลงที่มีขนาด 12.5 MVA ขึ้นไป ให้มี Lockout Relay (86A) สาหรับ Self Protection โดยเฉพาะ
(หม้อแปลงเก่าให้ติด 86A เมื่อมีการโยกย้าย)
6. Double Bus Single Breaker ให้ น า 89a ทุ ก เฟสของ Bypass Disconnecting Switch ต่ อ แบบขนาน
เพื่อโอน trip command ไป trip Tie Breaker
7. Contact ที่ ไป initiate 86B หรือ 86BF ต้ องดึ งไปที่ ตู้ ของ 86B หรือ 86BF โดยตรง ไม่ ให้ ต่ อพ่ ว งจากตู้
ข้างเคียง
8. Contact ที่ ไ ป trip หรื อ block close BKR. ต้ อ งดึ ง ไปที่ ตู้ Control, Interposing Relay Panel หรื อ
MPC ที่ควบคุม BKR. นั้นโดยตรง ไม่ให้ต่อพ่วงจากตู้ข้างเคียง
9. สาหรับระดับแรงดัน 500 kV ทุก สฟ. ทุก Feeder กาหนดให้ออกแบบวงจร End Fault Protection โดย
มี Function การทางาน ดังรูปที่ 112

รูปที่ 112 End Fault Protection

10. ให้ อ อกแบบการติ ด ต่ อ จากอุ ป กรณ์ ระบบป้ อ งกั น ผ่ า นระบบ LAN (Operating LAN) กฟผ. เพื่ อ การ
Remote ข้อมูลจากอุปกรณ์ระบบป้องกัน มายังสานักงานกลาง กฟผ. รวมทั้งออกแบบรับสัญญาณนาฬิกา
GPS เข้าอุปกรณ์ระบบป้องกัน โดยมีอุปกรณ์ระบบป้องกันหลัก (ต้องรองรับการใช้งานข้างต้น ) ดังรายการ
ต่อไปนี้
180

 Distance Relay, Current Differential Relay


 Transformer Differential Relay
 Bus Differential Relay
 Overcurrent Relay
 Breaker Failure Relay
- อุปกรณ์ Ethernet Switch ให้ออกแบบติดตั้งใน ตู้ Relay Protection
- อุปกรณ์ GPS Reciever ให้ออกแบบติดตั้งใน ตู้ MP-RTU
11. ให้ อ อกแบบวงจร Manual Transformer Tap Control + Volt Meter ในกรณี ที่ RTU Down ที่
ห้องควบคุม โดยติดตั้งในตู้ Interposing Panel
12. มาตรฐานของการออกแบบขาอุปกรณ์ Relay และ Test Switch ให้เป็นไปตามรายละเอียดในแบบ
EGAT’s Typical Drawing
181

Cable List (E-7)


Cable List หรื อ E-7 แสดงรายการ cable ที่ ใช้ ง าน อยู่ ใ น สถานี ไฟ ฟ้ าทั้ ง Power Cable และ
Control Cable

Cable ที่ใช้ในระบบควบคุมและป้องกัน
ขนาดของ Cable
Power cable ต้องมีขนาดไม่น้ อยกว่า 6 mm2 โดยกาหนดให้ใช้สาย 2/C 6 mm2 สาหรับ DC supply
และ AC supply 1 phase และใช้สาย 4/C 6 mm2 สาหรับ AC supply 3 phase
Control cable ต้องใช้ขนาดที่ไม่ต่ากว่าข้อกาหนดดังนี้
1. Current circuit สาหรับ CT rated 5A 6 mm2
2. Current circuit สาหรับ CT rated 1A 4 mm2
3. Voltage circuit 4 mm2
4. Control circuit ระหว่างลานไกและอาคารควบคุม 4 mm2
5. Control circuit ภายในอาคารควบคุม 2.5 mm2
6. Status หรือ Alarm 1.5 mm2
7. การต่ อ วงจรระหว่ า ง Control and Protection Panel ภายในอาคารควบคุ ม ให้ เป็ น ตาม
รายการ 1-5 ข้างบน
8. FRS (event) 1.5 mm2
9. RTU และ FRS (event) ระหว่าง Marshalling Panel กับ RTU และ FRS 17P/0.3 mm2
(17 pairs multi-conductor cable)

ในกรณีที่คานวณค่า voltage drop ใน cable ได้เกินกว่า 20% จะต้องเพิ่มขนาด cable หรือทบ cable
ก็ได้ โดยให้เลือกใช้งานตามความเหมาะสม
จานวน core ของ cable สาหรับวงจร CT 3 phase ให้ใช้ cable 4/C ส่วน single phase เช่น Tertiary
Transformer CT (ต่อขนาน), Unbalance CT ของ C-bank เป็นต้น ให้ใช้ cable 2/C
กรณี วงจร CT ของ Energy Meter ถ้าระยะทางจาก CT ถึงตาแหน่ งติ ดตั้ง Energy Meter มีระยะทาง
ตั้งแต่ 70 เมตรขึ้นไป ให้ทบ cable เป็น 2x4/C 6 mm2 เพื่อลด burden ของวงจรทาให้ Energy Meter วัดค่าได้
ถูกต้องยิ่งขึ้น และภายใน Panel จะต้องออกแบบ terminal เพื่อรองรับ cable ที่ทบด้วย
182

Spare Conductors
ใน cable แต่ ล ะเส้ น ต้ อ งมี spare conductor ส าหรั บ งานบ ารุ ง รั ก ษา จ านวนอย่ า งน้ อ ยที่ สุ ด
ตามตารางที่ 10
ตารางที่ 10 แสดงจานวน Spare Conductor ที่ต้องมีอย่างน้อยที่สุดในแต่ละ Cable
จานวน Conductor ใน Cable จานวน Spare Conductor
2 -
3 -
4 -
5 -
9 -
12 2
24 2

การตั้งชื่อ Cable
1. Cable number จะต้องมี 4 หลักหมายเลข โดยมีข้อกาหนดดังนี้
 ตัวเลขหลักแรกของ cable แบ่งตามระดับแรงดัน
- ระดับแรงดันระบบ 69&115 kV เป็นเลข 7
- ระดับแรงดันระบบ 230 kV เป็นเลข 8
- ระดับแรงดันระบบ 500 kV เป็นเลข 9
 ตัวเลขหลักที่สองของ cable เป็นหมายเลข bay
 ตัวเลขหลักที่เหลือเป็น running number 00 -99
(ตั วอ ย่ าง Cable number ส าห รั บ ระ ดั บ 230 kV Bay no.2 จ ะใช้ Cable No.8200 – 8299
ส่วนระดับ 500 kV Bay no.6 จะใช้ Cable No.9600 – 9699)
2. ในกรณีที่มีจานวน cable มากกว่า 100 cable ใน bay เดียวกัน ให้ใช้ running number เป็นเลข 3
หลั กได้ เช่ น ระดั บ 69&115 kV Bay no.4 Cable No.74100 – 74999 , ระดั บ 230 kV Bay no.2
Cable No.82100 – 82999 , ระดับ 500 kV Bay no.6 Cable No.96100 – 96999
3. Cable number สาหรับ control cable ที่ต่อระหว่าง Marshalling Panel for RTU และ RTU ให้
เพิ่มตัวอักษรด้านหน้า running number (XX) ตาม function ดังนี้
 DOXX RTU สาหรับ Control circuit
 AIXX RTU สาหรับ Analog circuit
 DIXX RTU สาหรับ Status, Individual และ Alarm circuit
183

4. Cable number สาหรับ C-bank จะต้องมี 4 หมายเลข ตัวเลขหลักแรกเป็นลาดับของ C-bank หลักที่สอง


เป็ น ตั ว C ส่ ว นสองหลั ก ที่ เ หลื อ เป็ น running number เช่ น C-bank ระดั บ 115 kV No.3 Cable
No.3C01 - 3C99
5. Subscript ที่ตามหมายเลขจะบอกหน้าที่ต่างๆ ดังแสดงในตารางที่ 11
ตารางที่ 11 แสดงความหมายของ Subscription ของ Cable
Subscription หน้าที่, การใช้งาน
Q Current Circuit
V Voltage Circuit
C Control Circuit
A Alarm Circuit
DC DC Supply
AC AC Supply
RTU Remote Terminal Unit
PLC Power Line Carrier
TEL Teleprotection System
FRS Event Input ของ Fault Recording
SER System of Event Recorder
Sequence
184

ตัวอย่าง drawing ของ cable list แสดงไว้ในรูปที่ 113

รูปที่ 113 Cable List


185

Wiring Diagram (E-8)


Wiring Diagram หรือ E-8 แสดงการต่อวงจรควบคุมและป้องกันระหว่างอุปกรณ์ (โดยแสดงทั้ง Internal
และ External Wiring)

การแสดงรายละเอียดของอุปกรณ์ในแบบ E-8
รายละเอี ย ดที่ ต้ อ งแสดงของอุ ป กรณ์ ที่ ติ ด ตั้ ง ในตู้ Control และ Relay ในแบบ Wiring Diagram
ประกอบด้วย (1) คาย่อของอุปกรณ์, Protective Device Number (2) Manufacturer และ (3) Type (version)
ให้ตรงกับที่แสดงไว้ในแบบ E-5 และ E-6

Internal Wiring Diagram


Internal Wiring Diagram ข อ ง Control Panel, Interposing Relay Panel, Measuring Panel,
Transducer Panel, Marshalling Panel และ Relay panel ให้ ใช้รูป แบบตามตัวอย่างในรูป ที่ 114 และให้จั ด
วาง Terminal Layout ของอุปกรณ์ตามที่เป็นจริง การต่อสายระหว่างอุปกรณ์ใช้รูปแบบดังนี้
ต าแหน่ ง Terminal ของอุ ป กรณ์ ต้ น ทาง --- Wiring number (อุ ป กรณ์ ป ลายทาง/terminal no. ของ
อุ ป กรณ์ ป ลายทาง) เช่ น terminal no.4 ของ 86K1 --- K617(X3/10) หมายถึ ง wiring no. K617 ต่ อ ไปยั ง
terminal X3 terminal no. 10 เป็นต้น
wiremark ภายในตู้ต้องอ่านได้ถูกต้อง ดังรูปที่ 115

รูปที่ 114 ตัวอย่าง Internal Wiring Diagram


186

(ก) สายเข้าด้านซ้ายและด้านขวาของอุปกรณ์

(ข) สายเข้าด้านบนและล่างอุปกรณ์
รูปที่ 115 ตัวอย่าง Wiremark ของ Internal Wiring
187

External Wiring Diagram


External Wiring Diagram ประกอบด้วย cable ที่มีหมายเลขสายและ subscript ภายในวงกลม แต่ละ
conductor ต้ องเขีย นหมายเลขให้ ชั ด เจน หาก conductor ใดไม่ ใช้ งาน (spare) จะต้ องบอกไว้ ที่ cable ด้ ว ย
แต่ละ cable ต้องบอกขนาดของสาย ปลายทางของสายและหมายเลขแบบปลายทาง ดังตัวอย่างในรูปที่ 116

รูปที่ 116 ตัวอย่าง External Wiring Diagram


188

เรื่องอื่นๆ
1. สายที่ link ระหว่าง board ถือว่าเป็น external link ด้วย control cable เพื่อสะดวกในการเพิ่มเติม
หรือย้าย board
2. การออกแบบ terminal กาหนดให้ในแต่ละด้านของ terminal มีสายเข้าไม่เกิน 2 เส้น
3. การจัด group terminal และจานวน terminal ใน group ให้จัดทาให้เหมาะสม โดยอาจจะพิจารณา
อุปกรณ์ปลายทางเป็นหลักก็ได้
4. การจั ด group terminal ให้ ตั้ ง group ของ FRS และ Teleprotection เป็ น ชุ ด ใหม่ เช่ น X3D
สาหรับ FRS และ X3F สาหรับ Teleprotection เป็นต้น
5. Wiring ของ MCB ที่ panel board สายต้องเข้าด้านบน และ ออกด้านล่าง
6. การ wiring สาหรับ test switch ของ Metering ต้องเข้าด้านล่างและออกด้านบนเสมอ
7. AC undervoltage alarm relay และ DC undervoltage alarm relay ให้ อ ยู่ จุ ด สุ ด ท้ า ยของการ
wiring
8. สายไฟในตู้ให้ใช้ Rated 600V, Tinned, Poly Vinyl Chloride (PVC), 105OC Current circuit (CT)
ใช้ขนาด 2.5 mm2, นอกนั้นเป็น 1.5 mm2
9. การเข้าสายกับอุปกรณ์ต่างๆต้องใช้หางปลา โดยจะต้องเป็นดังนี้
9.1 ชนิดของหางปลาต้องเป็นแบบที่ถูกต้องและเหมาะสมกับ terminal และอุปกรณ์
9.2 หางปลา 1 อันต้องใช้กับ wiring เพียง 1 เส้นเท่านั้น
9.3 หางปลาที่ใช้งานต้องไม่ใช่หางปลาที่มีการ modify
10. ให้ใส่ชื่อของ cable ทุก core ของ cable (รวม spare core) พร้อมกับจัดสายให้เรียบร้อย และ spare
core ให้มีความสูงไม่ต่ากว่า terminal บนสุด
11. ส าหรั บ Disconnecting Switch (DS) ซึ่ ง ไม่ มี ก ารใช้ ง าน auxiliary contact จะไม่ มี ก ารต่ อ AC
supply สาหรับ heater
12. Cable ต้องมีการ shield ลง ground หัวท้ายด้วยการบัดกรี
13. กาหนดด้านของการเข้าสาย Cable ในแบบ Marshalling switchyard Panel (ซ้าย-Control room),
Junction box (ซ้าย-อุปกรณ์)
14. การเรียงเบอร์ Cable สาย CT,PT ที่ link ระหว่างหัวเฟสมา Junction Box ใช้เลขหนึ่งหลักเริ่มต้นที่ 1
และจะเริ่มใหม่ของแต่ละอุปกรณ์ ตัวอย่างตามรูปที่ 117
189

รูปที่ 117 การเรียงเบอร์ Cable สาย CT, PT ที่ link ระหว่างหัวเฟสมา Junction Box
190

มาตรฐานการนาสัญญาณเข้า Fault Recording System


สัญญาณ Analog และ Digital ที่จะต้องนาเข้า Fault Recording System (FRS) มีดังนี้
1. ระดับแรงดัน 500 kV
1.1 Analog Input
 Bus
- PT ทุก Bus ทั้ง 3 เฟส ถ้ามีไม่ครบ 3 เฟส ให้นาเข้าเฉพาะเฟสที่ใช้ Sync
- CT Coupling Bus ทั้ง 3 เฟส
 Line
- PT ทุก Line ทั้ง 3 เฟส ถ้ามีไม่ครบ 3 เฟส ให้นาเข้าเฉพาะ เฟสที่ใช้ Sync
- CT ทุก Line ทั้ง 3 เฟส
 Transformer
- CT ด้าน High Side ของ ทั้ง 3 เฟส (Bushing CT)
- CT ด้าน Tertiary Winding ของ Transformer (Current Polarized)
 Generator
- Sync Phase PT Generator
- CT Line Generator ทั้ง 3 เฟส
 Shunt Reactor
- CT ของ Shunt Reactor ทั้ง 3 เฟส
- CT ของ Neutral Shunt Reactor
1.2 Event Input ของ 500 kV Line Protection
 Primary 1 (87L+21BU) Relay Trip (ดูรายละเอียดในข้อ 10)
 Primary 1 Relay Communication Fail
Remark : กรณี ที่ สายส่ ง (Line) มี ระยะทางยาวและมี Shunt Reactor ติ ดตั้ งทั้ งสอง สฟ.
จะใช้ Primary 1 เป็น Distance (21P+ (67N+85) )
 Primary 1 (21P+ (67N+85) ) Relay Trip (ดูรายละเอียดในข้อ 10)
 Primary 1 PTT Carrier Receive (ดูรายละเอียดในข้อ 13)
 Primary 1 PTT Carrier Transmit (ดูรายละเอียดในข้อ 13)
 Primary 1 DEF Trip (ดูรายละเอียดในข้อ 43)
 Primary 1 DEF Carrier Receive (ดูรายละเอียดในข้อ 13)
 Primary 1 DEF Carrier Transmit (ดูรายละเอียดในข้อ 13)
 Primary 2 (21P+ (67N+85) ) Relay Trip (Line ยาว SIR<4) (ดูรายละเอียดในข้อ 10)
 Primary 2 PTT Carrier Receive (ดูรายละเอียดในข้อ 13)
191

 Primary 2 PTT Carrier Transmit (ดูรายละเอียดในข้อ 13)


 Primary 2 DEF Trip (ดูรายละเอียดในข้อ 43)
 Primary 2 DEF Carrier Receive (ดูรายละเอียดในข้อ 13)
 Primary 2 DEF Carrier Transmit (ดูรายละเอียดในข้อ 13)
 Primary 2 (87L+21BU) Relay Trip กรณี Line สั้น (SIR>4) (ดูรายละเอียดในข้อ 10)
 Primary 2 Relay Communication Fail
 500 kV Line DTT OPGW Trip (94TT1)
 500 kV Line DTT OPGW 86 Trip (86TT1)
 500 kV Line DTT PLC Trip (94TT2)
 500 kV Line DTT PLC 86 Trip (86TT2)
 500 kV Line DTT PLC Signal Receive (ดูรายละเอียดในข้อ 13)
 500 kV Line DTT PLC Signal Transmit (ดูรายละเอียดในข้อ 13)
 500 kV Auto Recloser operate (79X) (ดูรายละเอียดในข้อ 6)
 500 kV Line stub Protection Trip (86S)
 500 kV Overfluxing Relay Trip (24X)
 500 kV Line DTT OPGW Signal Receive (ดูรายละเอียดในข้อ 13)
 500 kV Line DTT OPGW Signal Transmit (ดูรายละเอียดในข้อ 13)
1.3 Event Input 500 kV Transformer
 Transformer Primary Lockout Relay Trip (86K1)
 Transformer Secondary Lockout Relay Trip (86K2)
 Transformer Winding Temp High Trip (ทุกเฟส เฟสละ 1 Channel)
 Transformer Buchholtz Relay Trip (ทุกเฟส เฟสละ 1 Channel)
 Transformer Lockout Relay Operate (86A)
 Transformer Sudden Press. Trip (ทุกเฟส เฟสละ 1 Channel)
 Transformer LTC Press. Relay Trip (ทุกเฟส เฟสละ 1 Channel)
 Transformer Stub Protection Trip (86S)
 Transformer V/Hz Trip (24X)
1.4 Event Input ของ Shunt Reactor
 Shunt Reactor Phase winding temp high Trip (ทุกเฟส เฟสละ 1 Channel)
 Shunt Reactor Phase Buchholtz Relay Trip (ทุกเฟส เฟสละ 1 Channel)
 Shunt Reactor Phase lockout Relay Operate (86R)
192

 Shunt Reactor Ground winding temp high Trip (ทุกเฟส เฟสละ 1 Channel)
 Shunt Reactor Ground Buchholtz Relay Trip (ทุกเฟส เฟสละ 1 Channel)
 Shunt Reactor Ground lockout Relay Operate (86RG)
1.5 Event Input ของ Breaker
 86BF ทุก Breaker
 Breaker Contact (ดูรายละเอียดในข้อ 11)
 BKR Fail Short Zone Operate
 Pole Disagreement operate
1.6 Event Input ของ Bus Protection
 86B ทุกชุดของทุก Bus
1.7 Event Input ของ Generator
 สั ญ ญ าณ Protection ข อ ง Bay Generator ที่ ติ ด ตั้ งที่ ส ฟ . รว ม ทั้ ง Bay Reserve
Transformer ด้วย
 สัญญาณ Protection ของ Generator (86G ทุกตัว)
 สัญญาณ Protection ของ Generator Transformer และ Reserve Transformer (86K, 86X)
 สั ญ ญ า ณ Status ข อ ง Circuit Breaker ห น้ า Generator Transformer แ ล ะ Reserve
Transformer ทุกตัว
2. ระดับแรงดัน 230 kV
2.1 Analog Input
 PT
- PT ทุก Bus ทั้ง 3 เฟส ถ้ามีไม่ครบ 3 เฟส ให้นาเข้าเฉพาะเฟสที่ใช้ Sync
- PT ทุก Line ทั้ง 3 เฟส ถ้ามีไม่ครบ 3 เฟส ให้นาเข้าเฉพาะ เฟสที่ใช้ Sync
 CT
- CT ทุก Line ทั้ง 3 เฟส
- CT ด้าน High Side ของหม้อแปลง ทั้ง 3 เฟส (Bushing CT)
- CT ด้าน Tertiary Winding ของ Transformer (Current Polarized)
- CT ของ C-Bank ทั้ง 3 เฟส
- CT ของ Generator ทั้ง 3 เฟส
- CT Coupling Bus ทั้ง 3 เฟส
2.2 Event Input 230 kV Line Protection
 Primary 1 (87L+21BU) Relay Trip (ดูรายละเอียดในข้อ 10)
 Primary 1 Relay Communication Fail
193

 Primary 2 (21P+ (67N+85) ) Relay Trip (Line ยาว SIR<4 ) (ดูรายละเอียดในข้อ 10)
 Primary 2 DEF Trip (ดูรายละเอียดในข้อ 43)
 Primary 2 DEF Carrier Receive (ดูรายละเอียดในข้อ 13)
 Primary 2 DEF Carrier Transmit
 Primary 2 PTT Carrier Receive (ดูรายละเอียดในข้อ 13)
 Primary 2 PTT Carrier Transmit (ดูรายละเอียดในข้อ 13)
 Primary 2 (87L+21BU) Relay Trip กรณี Line สั้น (SIR>4) (ดูรายละเอียดในข้อ 10)
 Primary 2 Relay Communication Fail
 230 kV Line DTT Trip (86DTT) (ดูรายละเอียดในข้อ 12)
 230 kV Line DTT Trip (94DTT) (Scheme Breaker Trip) (ดูรายละเอียดในข้อ 12)
 230 kV DTT Carrier Receive (ดูรายละเอียดในข้อ 13)
 230 kV DTT Carrier Transmit (ดูรายละเอียดในข้อ 13)
 230 kV Auto Recloser operate (79X) (ดูรายละเอียดในข้อ 6)
2.3 Event Input ของ Breaker
 86BF ของทุก Breaker
 Breaker Contact (ดูรายละเอียดในข้อ 11)
 230 kV Pole Disagreement
2.4 Event Input ของ Transformer Protection
 Transformer Trouble Lockout Trip (86A)
 Transformer Differential Relay Lockout Trip (86K)
2.5 Event Input ของ Bus Protection
 86B ทุกชุดของทุก Bus
2.6 Event Input ของ C-Bank
 C-Bank Overvoltage Trip
 C-Bank Unbalance Trip
 C-Bank Overcurrent Trip (3 เฟส และ Ground ขนานกัน)
 ถ้า Trip ผ่าน Aux Relay 94C ให้เอา 94C เข้า FRS
2.7 Event Input ของ Generator
 สัญญาณ Protection ของ Bay Generator ที่ติดตั้งที่ สฟ. รวมทั้ง Bay Reserve Transformer
 สัญญาณ Protection ของ Generator ของทุก Unit (86G ทุกตัว)
 สัญญาณ Protection ของ Generator Transformer และ Reserve Transformer (86K, 86A)
194

 สั ญ ญ าณ Status ของ Circuit Breaker หน้ า Generator Transformer และ Reserve


Transformer ทุกตัว
3. ระดับแรงดัน 115 kV
3.1 Analog Input
 PT
- ถ้า Bus PT มีครบ 3 เฟส ให้นาเข้าทั้ง 3 เฟส
- ถ้า Bus PT มีไม่ครบ 3 เฟส ให้น าเข้าเฉพาะ Bus PT เฟสที่ ใช้ Sync และ Line PT ทั้ ง
3 เฟสของทุก Line
- PT ข อ ง Tie Line, Line to Plant แ ล ะ Direct Customer Line เช่ น MEA, PEA,
บริษัทฯ ทั้ง 3 เฟส ถ้ามีไม่ครบ 3 เฟส ให้นาเข้าเฉพาะเฟสที่ใช้ Sync Phase Line
 CT
- CT ทุก Line ทั้ง 3 เฟส
- CT ด้าน High Side ของหม้อแปลง ทั้ง 3 เฟส (Brushing CT) เข้าทั้งหมด
- CT ด้าน Low Side ของหม้อแปลง Loading ทั้ง 3 เฟส (Brushing CT) 9 เฟส
- CT ด้าน Low Side ของหม้อแปลง Loading ทั้ง 3 เฟส (Take Off CT)
- CT ของ C-Bank ทั้ง 3 เฟส
- CT ของ Generator ทั้ง 3 เฟส
- CT Coupling Bus ทั้ง 3 เฟส
3.2 Event Input 115 kV Line Protection
 Primary 1 (87L+21BU) Relay Trip (ดูรายละเอียดในข้อ 10)
 Primary 1 Relay Communication Fail
 Backup Distance Relay (21BU) Trip กรณี Line ยาว (SIR<4) (ดูรายละเอียดในข้อ 10)
 Auto Recloser operate (79X) (ดูรายละเอียดในข้อ 6)
 Primary 2 (87L+21BU) Relay Trip กรณี Line สั้น (SIR>4) (ดูรายละเอียดในข้อ 10)
 Primary 2 Relay Communication Fail
3.3 Event Input 115 kV Transformer Protection
 Transformer Trouble Lockout Trip (86A)
 Transformer Differential Relay Lockout Trip (86K)
3.4 Event Input ของ Breaker
 86BF ของทุก Breaker
 Breaker Contact (ดูรายละเอียดในข้อ 11 และข้อ 14)
3.5 Event Input ของ Bus Protection
 86B ทุกชุดของทุก Bus
195

3.6 Event Input ของ C-Bank


 C-Bank Overvoltage Trip
 C-Bank Unbalance Trip
 C-Bank Overcurrent Trip (3 เฟส และ Ground ขนานกัน)
 ถ้า Trip ผ่าน Aux Relay 94C ให้เอา 94C เข้า FRS
3.7 Event Input ของ Generator
 สัญญาณ Protection ของ Bay Generator ที่ติดตั้งที่ สฟ. รวมทั้ง Bay Reserve Transformer
ด้วย
 สัญญาณ Protection ของ Generator ของทุก Unit (86G ทุกตัว)
 สัญญาณ Protection ของ Generator Transformer และ Reserve Transformer (86K, 86A)
 สั ญ ญ า ณ Status ข อ ง Circuit Breaker ห น้ า Generator Transformer แ ล ะ Reserve
Transformer ทุกตัว
4. การนาสัญญานเข้า FRS ของ Generator ในกรณี FRS ติดตั้งอยู่ที่โรงไฟฟ้า
4.1 Analog Input
 PT
- ถ้า Bus PT มีครบ 3 เฟส ให้นาเข้าทั้ง 3 เฟส แต่ถ้า Bus PT มีไม่ครบทั้ ง 3 เฟส ให้นา PT
Line to Substation เข้า FRS
- Sync Phase ของ PT Generator
 CT
- CT Generator Transformer ทั้ง 3 เฟส
- CT Neutral Generator Transformer
- CT ด้าน High Side ของ Reserve Transformer ทั้ง 3 เฟส
- CT Neutral Reserve Transformer
4.2 Event Input
 Lockout ทั้งหมด ทุกประเภท ทุกตัวที่ส่ง Trip Breaker ของทุก Unit
 Status ของ Breaker ด้าน High Side และ Low Side ของทุก Bay ในโรงไฟฟ้า
4.3 การ Remote Data ให้จัดเตรียม Operation-LAN ติดตั้งที่โรงไฟฟ้า เพื่อให้ FRS Master Station ที่
ส่วนกลาง กฟผ. เชื่อมต่อได้
5. การนาสัญญาณของ Generator และ Direct Customer Line เช่น (MEA, PEA, บริษัทฯ) เข้า FRS
5.1 สั ญ ญาณ Protection ของ Generator และ Breaker Fail ของ Direct Customer Line ที่ ส่ ง มา
Trip Breaker ด้าน กฟผ.
5.2 สัญญาณ Breaker ของ Direct Customer Line ที่รับสัญญาณ Trip จาก กฟผ.
196

6. สัญญาณ Event ใช้ Contact จริงของสัญญาณนั้น เช่น สัญ ญาณ Recloser ให้ใช้ Command Closed
Breaker ไม่ใช่ Recloser in Progress หรือ Recloser operate
7. สั ญ ญาณ Trip Contact ที่ ไ ม่ ใ ช่ Contact จริ ง ของสั ญ ญาณ นั้ น จ าเป็ น ต้ อ งผ่ า น Auxilialy Relay;
Operating Time ของ Auxiliary Relay ต้องไม่มากกว่า 10 ms
8. ใช้ Contact สุดท้ายของ Function เช่น Function ของ Line Protection ถ้ามี Auxiliary Trip ให้นา
Contact ของ Auxiliary Trip เข้า FRS
9. Lockout หรื อ Contact Trip ที่ มี ห ลาย Coil ขนานกั น ให้ น า Contact ของทุ ก Coil เข้ า FRS
Contact 1 Coil ต่อ 1 Chanel
10. Contact Trip ของ Line Protection ให้ แยกชุด Primary 1, Primary 2 หรือ Backup ออกจากกัน
โดยอ้างอิงจาก Function การทางานของ Line Protection Relay
 กรณี Trip Single Pole ให้ แ ยกสั ญ ญ าณ 94P1-A, 94P1-B, 94P1-C, 94P2-A, 94P2-B,
94P2-C ออกจากกัน ( 1 Contact ต่อ 1 ช่องสัญญาณ)
 กรณี Trip 3 Pole และสัญ ญาณแต่ละชุดมีหลาย Contact ให้ขนาน Contact เข้าด้วยกัน
ดังรูปที่ 118 และ Aux ที่สั่ง Trip 3 Pole เช่น 94P, 94BU, 94T ให้แยกช่องสัญญาณด้วย

รูปที่ 118 Contact Trip สาหรับ FRS ของ Line Protection


11. Auxiliary Contact ของ Breaker
 กรณี 1P & 3P Breaker ให้ ใช้ 52b ทุกเฟส เฟสละ 1 Channel ทั้ง three pole trip และ
single pole trip
 กรณี 3P Breaker ที่ไม่ได้แยก Phase Trip ให้ใช้ 52b ของ Three Pole 1 Channel
 กรณีไม่มี 52b ให้ใช้ 52a ก่อน กรณี 52a ไม่พอ จึงใช้ Auxiliary Relay
197

12. ก รณี ที่ Trip Breaker โด ยใช้ Auxiliary Tripping (94) ข น าน กั บ Lockout Relay (86) ให้ น า
Contact เข้า FRS ทั้ง 2 ชุด โดยแยก Channel กัน
13. สั ญ ญาณของ Carrier Receive และ Carrier Transmit ให้ น า Contact จาก Marshalling Tele-
Protection Panel
14. Auxiliary Contact ของ Breaker (52b) ใน Bay Transformer ด้าน Low Side (33kV, 22kV) ให้นาเข้า
ที่ FRS Unit ที่นาเข้าสัญญาณ High Side Transformer (115kV)
15. กรณี Breaker Failure Function ไม่มี 86BF ไม่ต้องนา Contact ของ 50BF เข้า FRS
16. ถ้าสถานีไฟฟ้ามี Generator Breaker (รวมถึง SPP และ IPP) ให้นา Contact Generator Breaker เข้า
FRS ด้วย
17. สัญญาณ Analog และ Event ของ Line หรืออุปกรณ์เดียวกัน ต้องจัดให้อยู่ใน FRS Unit เดียวกัน
18. สัญญาณ Analog และ Event ของ Line คู่ขนาน (Line no.1 และ Line no.2) ให้นาสัญญาณของแต่ละ
Line เข้า FRS แยก Unit กัน
19. สัญญาณ Trip ของ Duplicate Relay ที่นาเข้า FRS ให้แยก Channel กับ Main Relay ถ้าไม่มี Channel
พอให้ขนานกับ Contact ของ Main Relay
20. สัญญาณทุกสัญญาณที่นาเข้า FRS ให้ต่อผ่านตู้ Marshalling FRS
21. สัญญาณ Recloser ให้นามาเฉพาะ Recloser Operate เข้า FRS
22. Tie Breaker ที่เชื่อมต่อระหว่าง Bus ให้นา Status Breaker เข้า FRS ด้วย
23. วงจร CT การต่อ Terminal 9 Points ที่ตู้ Marshalling ของ FRS ให้ต่อดังรูปที่ 119

รูปที่ 119 การต่อ Terminal ของวงจร CT


198

24. วงจร CT การต่ อ Current Polarize เข้ า Terminal 5 Points ที่ ตู้ Marshalling ของ FRS ให้ ต่ อ
ดังรูปที่ 120
24.1 กรณีที่ต่อสัญญาณเข้า PNL. MP-FRS เป็น Board แรก

รูปที่ 120 (ก) การต่อ Terminal ของวงจร CT

24.2 กรณีที่ไม่ได้ต่อสัญญาณเข้า PNL. MP-FRS เป็น Board แรก

รูปที่ 120 (ข) การต่อ Terminal ของวงจร CT

25. วงจร PT ต้องมี MCB โดยติดตั้งที่ Junction Box ของ PT และมี Alarm กรณีที่ MCB Trip ด้วย
26. สาย Cable ของสัญญาณ Event จาก Switchyard มาที่ FRS ให้ใช้ขนาด 1.5 mm2 สาย Cable ของ
สัญญาณ Event ภายใน Control Room ให้ใช้ขนาด 1.5 mm2 โดยให้มี Spare ไว้อย่างน้อย 3 Cores
ส่วน Cable ที่เชื่อมต่อระหว่าง Marshalling FRS กับ FRS ใช้ขนาด 0.3 mm2
27. ใช้สาย Cable ขนาด 6 mm2 สาหรับ CT Rated 5A และใช้สาย Cable ขนาด 4 mm2 สาหรับ CT
Rated 1A และ PT
199

28. สาย Internal Wiring ภายในตู้ FRS วงจร CT, PT ให้ใช้ขนาด 2.5 mm2 และ 1.5 mm2 ตามลาดับ
ต้องทนแรงดันไฟฟ้าได้ 600 V และกระแสไฟฟ้าได้ 12 A Continuous
29. สาย Optic Fiber ที่เชื่อมต่อระหว่าง FRS ซึ่งไม่ได้ติดตั้งอยู่ในอาคารเดียวกัน ให้ใช้สาย Optic Fiber ชนิด
Outdoor ถ้าเป็นชนิด Indoor ให้เดินสายร้อยในท่อชนิด Rigid Steel Conduit (RSC) และไม่ติดตั้งรวม
กับ Power Cable (ให้แยก Tray)
30. สาย Optic Fiber ที่ เชื่ อมระหว่ า ง FRS ซึ่ งติ ด ตั้ ง อยู่ ที่ อาคารเดี ย วกัน ให้ เดิ น สายร้อยในท่ อ ชนิ ด High
Density Polyethylene Conduit (HDTE) โดยไม่ติดตั้งรวมกับ Power Cable
31. การเลือกจานวน Analog Channel และ Event Channel ของ FRS ที่ระดับแรงดันต่างๆ ให้เลือกดังนี้
ระดับแรงดัน 500 kV จานวน Analog CH. : Event CH. = 1 : 5
ระดับแรงดัน 230 kV จานวน Analog CH. : Event CH. = 1 : 3
ระดับแรงดัน 115 kV จานวน Analog CH. : Event CH. = 1 : 2
32. Terminal สาหรับ CT และ PT ที่ตู้ FRS เป็นแบบ Spring – Loaded Screw on Type หรือแบบ Screw
less
33. Terminal สาหรับสัญญาณ Event ที่ตู้ FRS และตู้ Marshalling FRS ต้องเป็นแบบ Terminal ที่มี Knife
Switch โดยติดตั้งให้ด้านที่ยกขึ้นของ Knife Switch (ด้าน External) ต้องไม่มีไฟเมื่ออยู่ในสภาวะ Break
34. Alarm FRS ต้องมี 3 ช่องแสดง คือ FRS Operate, FRS Fail และ FRS NOT READY โดยแสดงแยกแต่ละ
Unit ของ FRS
35. ชื่อ Alarm ของ FRS
35.1 BLDG1 FRS CABINET1 DAU B1 SYSTEM FAIL
35.2 BLDG1 FRS CABINET1 DAU B1 OPERATE
35.3 BLDG1 FRS CABINET1 DAU B1 NOT READY
ถ้าไม่แยก Building ให้ตัด BLDG1 ออก
36. FRS 1 Unit ต้องมีสัญญาณ PT เข้าอย่างน้อย 1 ชุด (3 เฟส)
37. Drawing ของ FRS ต้องมี
 E-1, Metering and Relaying Diagram
 Fault Recording System Equipment Layout
 External Wiring Diagram ของ FRS และ Marshalling FRS
 Internal Wiring Diagram ของ FRS และ Marshalling FRS
 Fault Recording System DC Schematic
 Fault Recording System Analog Input AC Schematic
โดย AC Scheme ของ FRS ระบุ Terminal ของ FRS, MP FRS และ Terminal ของอุ ป กรณ์ ที่ FRS
ต่อเชื่อมอยู่ด้วย
38. ในกรณีมี GPS ติดตั้งที่ตู้ FRS ให้มีแบบแสดงการติดตั้ง GPS Antenna ด้วย
 ให้มีแบบแสดงการติดตั้ง GPS Receiver และ GPS Antenna
200

 ให้มี Alarm ของ GPS ไปแสดงที่ RTU


39. สัญญาณ Over Current Low Side ของ Transformer ที่สั่ง Trip ไม่ผ่าน Lockout (86K) ให้นาเข้า
FRS ด้วย
40. สัญญาณ Contact Breaker ที่ระดับแรงดัน 22 kV และ 33 kV ทุก Breaker ให้นาเข้า FRS ด้วย
41. Line Protection ที่เป็น Current Differential ให้นาสัญญาณ Communication Fail เข้า FRS ด้วย
42. Contact Trip นอกเหนือจากที่กล่าวข้างต้นให้นาเข้า FRS ด้วย เช่น Scheme พิเศษ
43. Function DEF TRIP หมายถึง Directional Earth Fault Trip ซึ่งอ้างอิงมาจาก 2 สัญญาณ
 67N_Fix Time Delay Trip ( 2 Sec)
 67N_And Carrier Trip ( 100 ms)
โดยให้นาสัญ ญาณทั้งสองมาขนานกันเข้า FRS 1 Channel ขึ้นอยู่กับการใช้งานของ Relay ว่าจะใช้
งาน Function เดียวหรือทั้งสอง Function
201

รูปแบบของ Drawing สาหรับ การออกแบบระบบควบคุมและป้องกันสถานีไฟฟ้า


1. ให้ทุกหน่วยงานที่ใช้ AUTOCAD ในการสร้าง Drawing ใช้รูปแบบเดียวกันตามที่กาหนดโดยทาง อวส.
2. ขนาด Drawing เป็นขนาด A1
3. Title ของ Drawing มีรูปแบบตามรูปที่ 121

รูปที่ 121 Title ของ Drawing

4. Drawing No. กรณีของ อวส. ให้เป็น Sub-E-x.xx กรณีเป็นฝ่ายอื่นๆ ให้เป็น Div/Sub-E-x.xx โดย Sub
คือ ชื่อย่อของสถานีไฟฟ้า และ Div คือ ชื่อย่อของฝ่ายนั้นๆ ดังนี้
ฝ่ายปฏิบัติการภาคเหนือ (Northern Region Operation Division) - NROD
ฝ่ายปฏิบัติการภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (Northeastern Region Operation Division) - NEOD
ฝ่ายปฏิบัติการภาคกลาง (Central Region Operation Division) - CROD
ฝ่ายปฏิบัติการภาคใต้ (Southern Region Operation Division) - SROD
ฝ่ายปฏิบัติการเขตนครหลวง (Metropolitan Region Operation Division) - MROD
ฝ่ายบารุงรักษาระบบส่ง (Transmission System Maintenance Division) - TSM
โครงการปรับปรุงสภาพสถานีไฟฟ้าแรงสูง (Substation Renovation Project) - SRP
5. รายละเอียดใน Drawing และ Symbol เป็นไปตามมาตรฐาน
6. Drawing Flow เพื่อให้ Drawing มีการ Update ข้อมูลตลอดเวลาจึงกาหนดรูปแบบของ Drawing Flow
ตามรูปที่ 122
202

. CAD File
- .
กวป-พส.
Job
CAD File

- .
กวป-พส.

- .
กร-พส.

Print

( - .)
As Built
- .
กร-พส. As Built

ส่ ง AsAsBuilt
Builtพร้อม CAD
CADFile
File
คืน กวป-พส. - . เพื่อลงทะเบียน

รูปที่ 122 Drawing Flow


203

การควบคุมหม้อแปลง
1. การติดตั้งหม้อแปลง ให้ทาการติดตั้ง Marshalling panel ของหม้อแปลงเพื่อประหยัด cable เมื่อมีการ
โยกย้ายหม้อแปลงในอนาคต
2. กรณีที่มีการขนานหม้อแปลง ให้ติดตั้ง 43SP ไว้ที่ Marshalling Panel ของหม้อแปลงตัวที่ 2 ซึ่งทาให้ไม่
ต้องไป modify Marshalling panel ของหม้อแปลงตัวแรกมากเกินไป
3. กรณีที่มีการขนานหม้อแปลงเดิมแล้ว ให้ดาเนินการดังนี้
- 43SP เดิมเป็นแบบขนานได้ 4 ตัว ให้ใช้วงจรขนานเดิม
- 43SP เดิมเป็นแบบ Master/Follower ให้ออกแบบเปลี่ยน 43SP ใหม่เป็นแบบขนานได้ 4 ตัว โดยใช้
ตาแหน่งติดตั้งเดิม
204

การกาหนด Wiremark
สาหรับบริษัทที่ใช้การกาหนด wiremark เป็นของตัวเองให้ระบุ legend of wiremark ในตัวแบบด้วย
ส่วนบริษัทที่ไม่มีการกาหนด wiremark เป็นของตัวเองให้เป็นไปตาม EGAT’s Wiremark Code Standard

EGAT’s Wiremark Code Standard


รูปแบบการกาหนด wiremark สาหรับ internal wiring เป็นดังนี้

12345

1 เป็นตัวอักษรแสดงหน้าที่ ดังนี้
A - ว ง จ ร ก ร ะ แ ส ส า ห รั บ Protection ย ก เว้ น Overcurrent แ ล ะ Busbar
Protection
B - วงจรกระแสสาหรับ Busbar Protection
C - วงจรกระแสสาหรับ Overcurrent Protection (รวม Earth Fault Protection)
และ Instrument
D - วงจรกระแสสาหรับ Metering, FRS
E - วงจรแรงดันสาหรับ Instrument, Metering และ Protection
G - วงจรแรงดันสาหรับ Synchronizing
H - AC Supply
J - DC Supply
K - Control Circuit เช่น Trip, Close, Protection
L - Alarm และแสดงผลสาหรับ Annunciator
M - Auxiliary และวงจรควบคุมมอเตอร์ เช่น Spring Charge Motor, Transformer
Cooler Motor Control
N - Tap Change Control, Tap Position และ Progress Indication
W - DC Control Circuit ของ Interposing Relay
U - Spare Contact
X - Alarm และการแสดงผล สาหรับ RTU
Y - Output ของ Transducer

2 เป็นตัวเลขหรือไม่มีตัวเลข (ไม่แสดง) ดังนี้


ไม่มี - การออกแบบใหม่
0 - การออกแบบเพิ่มเติมจาก Existing

3 – 5 เป็นตัวเลข ดังนี้
205

1. ถ้าหลักที่ 1 = A-G แล้วให้หลัก 3-5 เป็น running number โดยใช้หลักที่ 3-4 ก่อนดังนี้
10 - 29 เฟส A
30 - 49 เฟส B
50 - 69 เฟส C
70 - 89 Residual Circuit และ Neutral
90 ต่อ Earth โดยตรงที่ Earth Bar
เช่น B011, B031, B051 สาหรับการออกแบบเพิ่มเติมของ Busbar Protection หรือ B11, B31, B51
สาหรับการออกแบบใหม่ของ Busbar Protection เป็นต้น
ในกรณีที่มีอุปกรณ์จานวนมากให้ใช้หลักที่ 3-5 โดยให้บวกตัวเลขดังกล่าวด้วยตัวคูณ 100 เข้าไป เช่น
10-29 จะเป็ น 110-129, 210-259 เป็ น ต้ น จากตั ว อย่ า งบนจะได้ B0111, B0131, B0151 และ
B111, B131, B151 เป็นต้น

2. ถ้ า หลั ก ที่ 1 = H, J, M, N แล้ ว ให้ ห ลั ก 3-5 เป็ น running number โดยเริ่ ม จาก 0 เช่ น J01, J02
เป็นต้น

3. ถ้าหลักที่ 1 = K, U, X
ให้หลัก 3 เป็นดังนี้
0 = Busbar Protection
1 = Transformer or Shunt Protection
2 = Line Protection
3 = Breaker Failure Protection
4 = Capacitor Bank Protection
5 = Semaphore Circuit
6 = Closing Circuit
7 = Tripping Circuit
ส่ ว นหลั ก ที่ 4-5 เป็ น running number โดยเริ่ ม จาก 00 เช่ น K0001, K001 ส าหรั บ Busbar
Protection ในส่วนที่ออกแบบเพิ่มและออกแบบใหม่ เป็นต้น

4. ถ้าหลักที่ 1 = L
ให้หลัก 3 เป็นตัวแสดงหมายเลขของ Annunciator ภายในตู้ โดยเริ่มจาก 0
ให้หลักที่ 4-5 เป็น running number โดยเริ่มจาก 00

5. ถ้าหลักที่ 1 = Y
ให้หลัก 3 เป็นดังนี้
0 = W and VAR TDR
206

1 = ATDR
2 = VTDR
3 = RTDR
4 = TTDR
5 = PFTDR
6 = DCTDR
7 = FTDR
ส่วนหลักที่ 4-5 เป็น running number โดยเริ่มจาก 00

6. ถ้าหลักที่ 1 = W แล้วให้หลัก 3-5 เป็น running number โดยเริ่มจาก 0 เช่น W00, W01 เป็นต้น
207

ภาคผนวก
208
209
210

You might also like