Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 9

มคอ.

3 (TQF3)

เค ้าโครงรายวิชา (Course Syllabus)


ื่ วิชา บธ.601 เศรษฐศาสตร์เพือ
รหัสวิชา /ชอ ่ การจัดการ
(BA601 Managerial Economics) ภาค 1/ ปี การศก ึ ษา 2566
(กลุม
่ 2)
หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต โครงการปริญญาโททางบริหารธุรกิจ คณะพาณิช
ยศาสตร์และการบัญช ี

1. อาจารย์ผู ้สอน/ ผู ้รับผิดชอบรายวิชา พร ้อมข ้อมูลการติดต่อ (Lecturer


and course administrator with contact information)
1.1 อาจารย์ผู ้สอนและรับผิดชอบรายวิชา: อาจารย์ ดร.ลอยลม ประเสริฐศรี
ั ้ 5 คณะเศรษฐศาสตร์
ห ้องทํางาน: ห ้อง 512 ชน
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์) โทร.
02-696-2429, Email: loylom@econ.tu.ac.th (Very
responsive via email)
Google Classroom: เศรษฐศาสตร์เพือ
่ การจัดการ BA601_1-2566 กลุม
่ 2

2. วันและเวลาบรรยาย (Class Date and Time) : ทุกวันพุธ เวลา 18:00-21:00 น.


ห ้องบรรยาย (Classroom) : ห ้องบรรยาย 309 คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญช ี
หมายเหตุ: การเรียนการสอนเป็ นแบบ Onsite 100% เนือ ่ งจากต ้องทํากิจกรรม
ั ้ เรียน
Brainstorm ร่วมกันในชน

3. คําอธิบายรายวิชา (Course Description)


บธ.601 เศรษฐศาสตร์เพือ
่ การจัดการ 3 (3-0-9)
BA601 Managerial Economics
ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ทเี่ กีย่ วข ้องกับการบริหารจัดการทางธุรกิจ
ได ้แก่ ทฤษฎีอป ุ สงค์ อุปทาน และ การประยุกต์ ทฤษฎีวา่ ด ้วยพฤติกรรมของ
ผู ้บริโภค การตัดสน ิ ใจภายใต ้ความเสย ี่ ง การผลิตและต ้นทุน ศก ึ ษาและ
วิเคราะห์พฤติกรรมการแข่งขันทัง้ ด ้านราคาและไม่ใชร่ าคาของหน่วยผลิต
ภายใต ้โครงสร ้างตลาดแบบต่าง ๆ รวมทัง้ การเข ้าสูต ่ ลาดและการออกจาก
ตลาด การตัง้ ราคาในทางปฏิบต ั ข
ิ องหน่วยผลิตทีม ่ อ
ี ํานาจผูกขาด การรวมตัว
ทางธุรกิจ ทัง้ ในแนวตัง้ และแนวนอน ทฤษฎีเกมและการตัดสน ิ ใจเชงิ กลยุทธ์
บทบาทของรัฐและนโยบายสาธารณะกับผลกระทบ ต่อการดําเนินธุรกิจ
Economic theories that relevant to business management,
such as demand and supply theory and its applications, theory of
consumer behavior, decision under risk, production and cost. Study
and analyze the price and non-price competition behavior of the
firms in various market structures, include market entry and exit,
pricing in practice of the monopolist, vertical and horizontal
business integration, game theory and strategic decisions. The role
of government and public policies affect to business operations.

4. วัตถุประสงค์ (Course Objectives)


1. เพือ ึ ษาทราบถึงแนวคดิและหลักการในการวิเคราะห์ทางด ้าน
่ ให ้นักศก
เศรษฐศาสตร์ในระดับจุลภาค

-1-
มคอ.3 (TQF3)
2. เพือ่ ให ้นักศกึ ษาเรียนรู ้เกีย
่ วกับการผลิต
การกําหนดราคาสน ิ ค ้าและบริการภายใต ้โครงสร ้าง ตลาดประเภท
ต่าง ๆ
3. เพือ่ ให ้นักศกึ ษาเรียนรู ้การประยุกต์ใชเครื
้ อ ่ งมือเศรษฐศาสตร์กบ
ั การ
แข่งขันทางธุรกิจ การสร ้างกลยุทธ์ ทางการแข่งขัน พลวัตทางด ้าน
ราคาในการแข่งขัน
4. เพือ
่ ให ้นักศก ึ ษาเรียนรู ้ถึงผลกระทบของการกํากับดูแลของรัฐ และการใช ้
ประโยชน์การสนับสนุนของรัฐ

5. ผลลัพธ์การเรียนรู ้ทีค
่ าดหวัง (Expected learning outcomes) (ต ้องตรงกับ
curriculum mapping)
คุณธรรม จริยธรรม ผลลัพธ์ทค
ี่ าดหวัง

1. ตระหนักในคุณค่าและ 1. เข ้าใจในเรือ ิ
่ งการละเมิดทรัพย์สน
คุณธรรม จริยธรรม เสย ี สละ และ ทางปั ญญาสามารถ อ ้างอิงข ้อมูล
ซอื่ สต
ั ย์สจ ุ ริต ในผลงานทีน ่ ักศกึ ษา
2. มีวน ิ ัย ตรงต่อเวลา และความ ทําสง่ และให ้ข ้อแนะนํ าใน การ
รับผิดชอบต่อตนเอง และ สงั คม ดําเนินการได ้อย่างถูกต ้อง
2.ตรงต่อเวลาในการเรียนและการสง่
งานทีม ่ อบหมาย

ความรู ้ ผลลัพธ์ทค
ี่ าดหวัง
1. มีสาระและความเข ้าใจอย่าง 1. นักศก ึ ษาเรียนรู ้และเข ้าใจเนือ
้ หา
ถ่องแท ้ในเนือ ้ หาสาระหลัก ของ สาระหลักของวิชา ตลอดจน
สาขาวิชา ตลอดจนหลักการและ หลักการและทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ท ี่
ทฤษฎีสําคัญ 2. สามารถ สําคัญ 2. ผู ้เรียนสามารถ
นํ าความรู ้มาประยุกต์ใชในการศ ้ ึ ษ
ก นํ าความรู ้มาประยุกต์ใชในการศ ้ ก ึ ษา
าค ้นคว ้า ทางวิชาการหรือการ ค ้นคว ้าทางวิชาการ และการ
ปฏิบต ั ก ิ ารในวิชาชพ ี ปฏิบต ั กิ ารในด ้านการบริหาร จัดการ
3. มีความเข ้าใจทฤษฎี การวิจัยและ ทางธุรกิจ
การปฏิบต ั ท
ิ างวิชาชพ ี นัน ้ อย่าง 3. นักศก ึ ษามีความรู ้ในทฤษฎี
ลึกซงึ้ ในวิชาหรือกลุม ่ วิชาเฉพาะใน เศรษฐศาสตร์ การวิจัย และ การ
ระดับแนวหน ้า 4. มีความเข ้าใจใน ปฏิบต ั ทิ างวิชาทางธุรกิจในระดับ
วิธก ี ารพัฒนาความรู ้ใหม่ๆ และการ แนวหน ้า
ประยุกต์ ตลอดถึงผลกระทบของผล 4. นักศก ึ ษาสามารถพัฒนาความรู ้
งานวิจัยในปั จจุบน ั ทีม ่ ี ต่อองค์ความ ใหม่ๆ ทางด ้าน เศรษฐศาสตร์และ
รู ้ในสาขาวิชาและต่อการปฏิบต ั ใิ น การประยุกต์ ตลอดถึงผลของงาน
วิชาชพ ี วิจัยใน ปั จจุบน ั ทีม
่ ต
ี อ
่ องค์ความรู ้ใน
ด ้านเศรษฐศาสตร์และ บริหารธุรกิจ

ทักษะทางปั ญญา ผลลัพธ์ทค


ี่ าดหวัง

1. พัฒนาความคิดใหม่ๆ โดยการ 1. นักศก ึ ษาสามารถสร ้างสรรค์ความ


บูรณาการให ้เข ้ากับ องค์ความรู ้เดิม รู ้ใหม่ทอ ี่ าศยั พืน
้ ฐาน จากความรู ้เดิม
หรือเสนอความรู ้ใหม่ทท ี่ ้าทาย ึ ษา
ทีไ่ ด ้ศก

ั พันธ์ระหว่างบุคคลและ
ทักษะความสม ผลลัพธ์ทค
ี่ าดหวัง
ความรับผิดชอบ

1. พัฒนาการทํางานร่วมกัน โดย 1. นักศกึ ษาสามารถพัฒนาทักษะ


ึ ษา เชงิ ธุรกิจภาย
วิเคราะห์กรณีศก การทํางาน และสามารถ
ใต ้กรอบแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ นํ าเสนองานผ่านแพลตฟอร์มต่าง ๆ
ทีส่ ามารถประยุกต์ใช ้ ในด ้านการ
จัดการเชงิ ธุรกิจ

ทักษะการวิเคราะห์เชงิ ตัวเลข การ ผลลัพธ์ทค


ี่ าดหวัง
สอื่ สาร และการใช ้ เทคโนโลยี
สารสนเทศ

1. มีความรู ้ความเข ้าใจข ้อมูล 1. นักศก ึ ษาสามารถใชข้ ้อมูลทาง


สารสนเทศทีม ่ คี วามสําคัญต่อ การ สถิตท ี่ ําคัญในการ
ิ ส วิเคราะห์และ
ิ ใจเชงิ ธุรกิจ ซงึ่ เชอ
ตัดสน ื่ มโยงกับ และแปลผลเพือ ่ การตัดสนิ ใจเชงิ
องค์ความรู ้ทาง ทฤษฎี ธุรกิจ และ สามารถใชโปรแกรม ้
เศรษฐศาสตร์ พืน
้ ฐานในการวิเคราะห์ข ้อมูลได ้

-2-
มคอ.3 (TQF3)
แผนทีแ
่ สดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู ้จาก
หลักสูตรสูร่ ายวิชา
(Curriculum Mapping)

ความรับผิดชอบหลัก ความรับผิดชอบรอง
รายวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู ้ 3. ทักษะทางปั ญญา 4. ทักษะ 5. ทักษะ
ความสัมพันธ์ การ
ระหว่าง วิเคราะห์
บุคคล เชิง
และ ตัวเลข
ความ การ
่ สาร
สือ
รับผิดช
อบ และการ
ใช ้
เทคโนโ
ลยี
สารสนเท

 วิชาบังคับ 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 1 2 3

บธ. เศรษฐศาสตร์เพือ

601 การจัดการ

6. กฎกติกา/ เกณฑ์การตัดเกรด (Course rules, Grading criteria)


6.1 สอบกลางภาค 30% [อังคารที่ 10 ตุลาคม 2566 เวลา 18:00-21:00 น.]
6.2 สอบปลายภาค 45% [อังคารที่ 28 พฤศจิกายน 2566 เวลา
18:00-21:00 น.] 6.3 การทํางานกลุม ่ และนํ าเสนองาน 20%
[นํ าเสนอกรณีปัญหาเชงิ เศรษฐศาสตร์ จํานวน 2 ครัง้ /กลุม
่ ] 6.4 การ
ทํางานเดีย
่ ว 5% [จัดทํา Poster presentation จํานวน 1 ชน ิ้ งาน]
รวม 100%
่ จะมีระบบ Peer evaluation ซงึ่ จะถูกนํ ามาคิดคะแนนด ้วย เพือ
หมายเหตุ: การทํางานกลุม ่
สง่ เสริมการทํางานร่วมกัน

7. เอกสารอ ้างอิงประกอบการเรียนการสอน (Reference material)


Baye, M. R., & Prince, J. T. (2022). Managerial Economics and
Business Strategy
(10th ed.). New York: McGraw-Hill.
Baddeley, M. (2019). Behavioural economics and finance (2nd ed.).
Routledge.
Brander, J. A., & Perloff, J. M. (2020). Managerial Economics and
Strategy (3rd ed.).
New Jersey: Pearson.
Davies, H., & Lam, Pun-Lee. (2001). Managerial Economics: An
Analysis of Business
Issues (3rd ed.). Harlow: Financial Times Prentice Hall.
Ivan PNG. (2022). Managerial Economics (6th ed.). New York:
Routledge.
Kahneman, D. (2013). Thinking, fast and slow (1st pbk. ed. ed.):
Farrar, Straus and Giroux.

Keat, P. G., Young, P. K., & Erfle, S. E. (2013).


Managerial Economics: Economic Tools for Today’s
Decision Makers (7th ed.). New Jersey: Pearson.
McGuigan, J. R., Moyer, R. C., & Harris, F. H. (2005). Managerial
Economics:
Applications, Strategy, and Tactics, 10e (10th ed.). Boston: Thomson
Learning.
-3-
มคอ.3 (TQF3)
Perloff, J. M. (2018). Microeconomics (8th ed.). New Jersey:
Pearson.
Pindyck, R. S., & Rubinfeld, D. L. (2017). Microeconomics
(9th ed.). New Jersey: Pearson Education, Inc.

8. หัวข ้อการเรียนการสอน/ แผนการสอน (Course plan)


คาบที่ / วันที่ หัวข ้อบรรยาย

1 หัวข ้อที่ 0: อธิบายแนวทางการเรียนการสอน


พุธที่ 16
ส.ค. 66 หัวข ้อที่ 1: การวิเคราะห์อปุ สงค์อป
ุ ทาน
[18:00-2  ตลาดสน ิ ค ้าและบริการ
1:00 น.]  อุปสงค์และอุปทาน
 ปั จจัยทีก ่ ําหนดอุปสงค์และอุปทาน
 ความยืดหยุน ่ ของอุปสงค์และอุปทาน
 นํ าเสนองาน: บทวิเคราะห์ปัญหาเฉพาะทางธุรกิจ
1
2 หัวข ้อที่ 2: การประยุกต์อป
ุ สงค์อป
ุ ทานและ
พุธที่ 23 วิเคราะห์นโยบายภาครัฐ  การประยุกต์อป ุ
ส.ค. 66 สงค์อป ุ ทานต่อการดําเนินธุรกิจ
[18:00-2  ปรากฏการณ์ Bandwagon Effect และ Snob
1:00 น.] Effect
 นโยบายภาครัฐทีก่ ระทบต่อการดําเนินธุรกิจ
 นํ าเสนองาน: บทวิเคราะห์ปัญหาเฉพาะทางธุรกิจ
2

3 หัวข ้อที่ 3 การวิเคราะห์เชงิ ประจักษ์ ด ้านอุปสงค์


พุธที่ 30  ข ้อมูลและวิธก
ี ารเก็บรวบรวมข ้อมูลด ้านอุปสงค์
ส.ค. 66  การประมาณค่าอุปสงค์
[18:00-2  การพยากรณ์อป ุ สงค์
1:00 น.]  นํ าเสนองาน: บทวิเคราะห์ปัญหาเฉพาะทางธุรกิจ
3

4 หัวข ้อที่ 4: ทฤษฎีพฤติกรรมของผู ้บริโภค


พุธที่ 6  ทฤษฎีอรรถประโยชน์ (Utility Theory)
ก.ย. 66  การวิเคราะห์ผา่ น Indifference Curve Approach
[18:00-2  ดุลยภาพการบริโภค
1:00 น.]  นํ าเสนองาน: บทวิเคราะห์ปัญหาเฉพาะทางธุรกิจ
4

5 หัวข ้อที่ 5: เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการวิเคราะห์การ


พุธที่ 13 ตัดสน ิ ใจ
ก.ย. 66  ระบบการคิด การเลือก และการตัดสน ิ ใจ
[18:00-2  เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมว่าด ้วยผู ้บริโภค
1:00 น.]  การออกแบบกลยุทธ์เพือ ่
กําหนดพฤติกรรมผู ้บริโภค
 นํ าเสนองาน: บทวิเคราะห์ปัญหาเฉพาะทางธุรกิจ
5

-4-
มคอ.3 (TQF3)
6 ิ ใจภายใต ้ความเสย
หัวข ้อที่ 6: การตัดสน ี่ ง
พุธที่ 20  Expected Value
ก.ย. 66  Expected Utility Theory
[18:00-2  Risk Preferences
1:00 น.]  นํ าเสนองาน: บทวิเคราะห์ปัญหาเฉพาะทางธุรกิจ
6

7 ิ ใจภายใต ้ความเสย
หัวข ้อที่ 7: การตัดสน ี่ ง (ต่อ)
พุธที่ 27  Behavioural Paradox
ก.ย. 66  Prospect Theory และ Endowment Effect
[18:00-2  Regret Theory
1:00 น.]  นํ าเสนองาน: บทวิเคราะห์ปัญหาเฉพาะทางธุรกิจ
7

8 หัวข ้อที่ 8: การผลิตและต ้นทุนการผลิต


พุธที่ 4  ต ้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ (Economic cost)
ต.ค. 66 ี โอกาส (Opportunity cost)
 ต ้นทุนค่าเสย
[18:00-2  ต ้นทุนจม (Sunk cost) และปั ญหา Sunk-cost
1:00 น.] fallacy
 Economies of scale และ Economies of scope
 Learning curve และ Productivity
 นํ าเสนองาน: บทวิเคราะห์ปัญหาเฉพาะทางธุรกิจ
8

9 หัวข ้อที่ 9: พฤติกรรมการแข่งขันภายใต ้โครงสร ้าง


พุธที่ 11 ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ และตลาดกึง่ แข่งขันกึง่ ผูกขาด
ต.ค. 66  ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
[18:00-2  ดุลยภาพของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
1:00 น.]  ลักษณะของตลาดกึง่ แข่งขันกึง่ ผูกขาด
 ดุลยภาพของตลาดกึง่ แข่งขันกึง่ ผูกขาด
 นํ าเสนองาน: บทวิเคราะห์ปัญหาเฉพาะทางธุรกิจ
9

10 หัวข ้อที่ 10: พฤติกรรมการแข่งขันภายใต ้โครงสร ้างตลาด


พุธที่ 18 ผูกขาด
ต.ค. 66  ลักษณะของตลาดผูกขาดและสาเหตุของการ
[18:00-2 ผูกขาด
1:00 น.]  ดุลยภาพของหน่วยผลิต (กําไรหรือขาดทุน)
 การผูกขาดทีม
่ ก
ี ารควบคุม (Regulated
Monopoly)
 เปรียบเทียบดุลยภาพตลาดแข่งขันสมบูรณ์กบ

ตลาดผูกขาด
 นํ าเสนองาน: บทวิเคราะห์ปัญหาเฉพาะทางธุรกิจ
10

11 หัวข ้อที่ 11: พฤติกรรมการแข่งขันภายใต ้โครงสร ้าง


พุธที่ 25 ตลาดผู ้ขายน ้อยราย  แบบ
ต.ค. 66 จําลองการแข่งขันด ้านปริมาณ (Cournot Model
[18:00-2 และ Stackelberg Model
1:00 น.]  แบบจําลอง Bertrand Model และ Price
Leadership
 นํ าเสนองาน: บทวิเคราะห์ปัญหาเฉพาะทางธุรกิจ
11

-5-
มคอ.3 (TQF3)
12 หัวข ้อที่ 12: กลยุทธ์การกําหนดราคา
พุธที่ 1  การกําหนดราคาแบบ Price Discrimination
พ.ย. 66  การกําหนดราคาแบบ Intertemporal Price
[18:00-2 Discrimination และ Peak Load Pricing
1:00 น.]  การกําหนดราคาแบบ Two-Part Tariff
 การกําหนดราคาแบบ Bundling
 นํ าเสนองาน: บทวิเคราะห์ปัญหาเฉพาะทางธุรกิจ
12

13 หัวข ้อที่ 13: ทฤษฎีเกมและการคิดเชงิ กลยุทธ์


พุธที่ 8  การวิเคราะห์เชงิ กลยุทธ์
พ.ย. 66  การวิเคราะห์ทฤษฎีเกมแบบ Simultaneous
[18:00-2 Move Game
1:00 น.]  การวิเคราะห์ทฤษฎีเกมแบบ Sequential Game
 นํ าเสนองาน: บทวิเคราะห์ปัญหาเฉพาะทางธุรกิจ
13
14 หัวข ้อที่ 14: การรวมตัวทางธุรกิจ
พุธที่ 15  การรวมตัวทางธุรกิจแบบ Vertical Integration
พ.ย. 66  การรวมตัวทางธุรกิจแบบ Horizontal Merger
[18:00-21  นํ าเสนองาน: บทวิเคราะห์ปัญหาเฉพาะทางธุรกิจ
:00 น.] 14

15 หัวข ้อที่ 15: บทบาทของภาครัฐและนโยบายสาธารณะ


พุธที่ 22  เศรษฐศาสตร์สาธารณะ
พ.ย. 66  การแข่งขันและนโยบายการแข่งขัน
[18:00-21  การกํากับดูแล
:00 น.]  นํ าเสนองาน: บทวิเคราะห์ปัญหาเฉพาะทางธุรกิจ
15

-6-

You might also like