Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 13

ข้อเท็จจริงบางประการ

เกี่ยวกับ “ข้อเรียกร้อง
7 ข้อของหะยีสุหลง”
ใน “อุ ต สาหกรรมวิ ช าการปั ญ หาชายแดน
ภาคใต้” มีตัวละคร ฉาก สถานที่ และเหตุการณ์
ในประวั ติ ศ าสตร์ ป ตานี / ปั ต ตานี ป รากฏอยู่ ใ น
หน้ากระดาษเสมอ แม้ว่างานเขียนดังกล่าวจะ
ไม่ใช่ประวัติศาสตร์นิพนธ์ก็ตาม ทั้งนี้เข้าใจได้
ว่ า อดี ต และประวั ติ ศ าสตร์ มี ค วามสำคั ญ ต่ อ
เหตุการณ์ และการทำความเข้าใจสถานการณ์
ปั จ จุ บั น เราจึ ง พบเรื่ อ งราวของลั ง กาสุ ก ะ รั ฐ
[ เ รื่ อ ง จ า ก ป ก ] สุ ล ต่ า นปาตานี อั บ ดุ ล กาเดร์ มะไฮยิ ด ดิ น

พุทธพล มงคลวรวรรณ หะยีสุหลง ดุซงญอ สะพานกอตอ การชุมนุมที่


อาจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์และศิลปะ
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มัสยิดกลางปัตตานี ฯลฯ ในงานเขียนประเภท
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ต่างๆ มากมาย
มีเหตุการณ์สำคัญอันหนึ่งที่งานเขียนต่างๆ เหล่านี้จะ
เลี่ยงไม่กล่าวถึงไม่ได้เลยก็คือ การยื่นข้อเรียกร้องต่อรัฐบาล
ไทยของชาวมลายูมุสลิมที่นำโดยหะยีสุหลงเมื่อ พ.ศ. 2490
ข้อเรียกร้องฉบับนี้กลายเป็นเอกสารประวัติศาสตร์การเมืองที่
สำคัญและได้รับการอ้างอิงถึงมากที่สุด งานเขียนต่างๆ มักยก
ข้อความจากข้อเรียกร้อง 7 ข้อมาไว้ในตัวบทเพื่อแสดงถึงการ
เรี ย กร้ อ งสิ ท ธิ ข องชาวมลายู มุ ส ลิ ม นอกจากนี้ ข้ อ เรี ย กร้ อ ง

15
7 ข้อยังถูกหยิบยกในวาระทางสังคมการเมืองต่างๆ อั ง กฤษ การสถาปนาสหภาพมลายา (Malayan
ที่ เ กี่ ย วกั บ ปั ญ หาสามจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ ใ น Union) ในปี พ.ศ. 2489 เป็นตัวเร่งให้กระแสชาติ
ปั จ จุ บั น ไม่ ว่ า จะเป็ น ประเด็ น เขตปกครองพิ เ ศษ นิยมลายูขึ้นสู่กระแสสูง ซึ่งปัตตานีก็เช่นเดียวกัน
(autonomy) การใช้ภาษามลายูหรือกฎหมายอิสลาม เหล่าบรรดาปัญญาชนมลายูปาตานีก็ได้รับอิทธิพล
ในพื้นที่ จากกระแสชาตินิยมมลายูที่อยู่ในกระแสสูงนี้ด้วย
อย่ า งไรก็ ต ามการอ้ า งอิ ง อย่ า งกว้ า งขวางนี้
นอกจากนี้ ใ นสมั ย จอมพล ป.พิ บู ล สงคราม
ข้อเรียกร้อง 7 ข้อที่ถูกยกมาในงานเขียนต่างๆ กลับ (พ.ศ.2481- 2487) นโยบายชาติ นิ ย มไทยที่ มี
มีจุดที่แตกต่างกันอยู่ ดังมีนักวิชาการอย่าง ชัยวัฒน์ ลั ก ษณะเชื้ อ ชาติ นิ ย มและการกดขี่ ข่ ม เหงของ
สถาอานั น ท์ (2551) และธเนศ อาภรณ์ สุ ว รรณ ข้าราชการไทย ได้สร้างความเจ็บช้ำน้ำใจแก่ชาว
(2549) ได้ ตั้ ง ข้ อ สั ง เกตถึ ง ความแตกต่ า งของข้ อ มลายูในพื้นที่ภาคใต้สุดของไทย (เช่นเดียวกับชาว
เรียกร้องที่มีการอ้างอิงกันมาว่ามีการเรียงลำดับข้อ ไทยและกลุ่มเชื้อสายอื่นๆ โดยเฉพาะชาวจีนที่เป็น
ไม่เหมือนกัน มิหนำซ้ำงานเขียนบางเล่มมีข้อเรียก เป้าหมายที่แท้จริงของลัทธิชาติ/เชื้อชาตินิยมไทย)
ร้องที่ต่างออกไปบางข้อ ซึ่งความแตกต่างดังกล่าวนี้ ทั้งบริบททางประวัติศาสตร์ของยุคสมัยและปัญหา
อาจจะไม่ใช่ความแตกต่างในสาระสำคัญของข้อเสนอ ที่ รั ฐ ไทยได้ ก่ อ ขึ้ น ในช่ ว งสงครามทำให้ เ กิ ด การ
แต่ก็สะท้อนให้เห็นถึงข้อจำกัดบางประการเกี่ยวกับ เคลื่ อ นไหวทางการเมื อ งในพื้ น ที่ 3 - 4 จั ง หวั ด
การเข้าถึงเอกสารหลักฐานในการศึกษาประวัตศิ าสตร์ ภาคใต้ โดยแต่ ล ะกลุ่ ม ก็ มี เ ป้ า หมายทางการเมื อ ง
ปาตานี / ปั ต ตานี ข องอุ ต สาหกรรมวิ ช าการปั ญ หา ที่ ต่ า งกั น ออกไป ตั้ ง แต่ เ รี ย กร้ อ งสิ ท ธิ เ สรี ภ าพ

ชายแดนภาคใต้ ทั้งยังทำให้เกิดข้อสงสัยตามประสา การปกครองตนเอง ไปจนถึงการแบ่งแยกดินแดน


นักเรียนประวัตศิ าสตร์วา่ “ต้นฉบับเดิมทีส่ ง่ ให้รฐั บาล รัฐบาลหลังสงคราม (เอาเข้าจริง ตั้งแต่ก่อนสิ้นสุด
พิ จ ารณานั้ น คื อ ฉบั บ ไหนและเขี ย นในภาษาอะไร” สงคราม เมื่ อ จอมพล ป. พิ บู ล สงคราม พ้ น จาก
(ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ, 2549 : 91) ตำแหน่ ง เนื่ อ งจากแพ้ โ หวตในสภาผู้ แ ทนฯ เมื่ อ
พ.ศ.2487 และควง อภัยวงศ์ ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรี)
ที่มาของข้อเรียกร้อง มีแนวทางที่จะประนีประนอม “สมานฉันท์” กับชาว
ที่จริงการเรียก “ข้อเรียกร้อง 7 ประการของ มลายู มุ ส ลิ ม ในพื้ น ที่ ภ าคใต้ สุ ด ของไทย ซึ่ ง การ
หะยีสหุ ลง” ดูจะไม่ถกู ต้องเท่าไรนักเพราะข้อเรียกร้อง ดำเนินการอันหนึ่งก็คือการตั้งคณะกรรมการสอด
7 ข้อที่เป็นที่รู้จักกันนั้น ทำในนามคณะกรรมการ ส่ อ งภาวะการณ์ 4 จั ง หวั ด ภาคใต้ ในสมั ย นายก
อิสลามประจำจังหวัดปัตตานี ซึ่งในช่วงหลังสงคราม รัฐมนตรีหลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ เพื่อตรวจสอบและ
โลกครั้งที่สองที่เป็นจุดเปลี่ยนที่สำคัญของประวัติ- จั ด ทำข้ อ เสนอต่ อ รั ฐ บาลต่ อ ไป โดยในวาระที่
ศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นจุดกำเนิด คณะกรรมการสอดส่องฯ มา “ลงพืน้ ที”่ คณะกรรมการ
รั ฐ ประชาชาติ ต่ า งๆ ทั้ ง ที่ ไ ด้ ม าด้ ว ยทางสั น ติ แ ละ อิ ส ลามประจำจั ง หวั ด ปั ต ตานี ที่ มี ห ะยี สุ ห ลง

การต่อสู้ด้วยกำลังอาวุธเพื่อให้ได้มาซึ่งเอกราชจาก อับดุลกาเดร์ เป็นประธานได้จดั ประชุมคณะกรรมการ


เจ้าอาณานิคมเกือบทั่วทุกหนทุกแห่ง ลัทธิชาตินิยม และประชาชนจำนวนหนึง่ เมือ่ วันที่ 1 เมษายน 2490
และการปลดปล่อยแห่งชาติได้กลายเป็นพลังผลักดัน เพื่อจัดทำข้อเรียกร้องต่อคณะกรรมการสอดส่องฯ
ให้เกิดความเปลี่ยนแปลงทางสังคมในมลายาของ ผ่านไปยังคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณา ซึ่งมีด้วยกัน

16 ปีที่ 30 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคม 2552


7 ข้อ ดังที่เราจะได้พิจารณาต่อไป โดยข้อเรียกร้อง
1. The appointment
7 ข้อ นั้ น ได้ จั ด ทำเป็ น หนั ง สื อ และเสนอต่ อ คณะ of a single individual with
กรรมการสอดส่องฯ เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2490 ที่ full powers to govern the
คณะกรรมการ สอดส่องฯ ได้เดินทางมาถึงปัตตานี four districts of Patani,
อย่ า งไรก็ ต ามในประวั ติ ศ าสตร์ นิ พ นธ์ เ กี่ ย วกั บ Naradhivas, Yala and
ปัตตานี/ปาตานีเกือบทุกชิ้นกล่าวตรงกันว่าข้อเรียก Setul, and in particular
ร้อง 7 ข้อนี้ไม่ได้ถูกนำมาปฏิบัติแต่อย่างไร having authority to dismiss,
แม้ว่าจากเอกสารชิ้นนี้จะมีความสำคัญและถูก suspend or replace all
หยิบยกในประวัติศาสตร์นิพนธ์และงานเขียนต่างๆ government servants, this
มากมาย แต่เมือ่ พิจารณาดูงานเขียนต่างๆ โดยเฉพาะ individual to be local-born
งานเขียนทางวิชาการก็จะพบว่าข้อเรียกร้อง 7 ข้อที่ in one of the four districts
ถู ก ยกขึ้ น มากลั บ มีความแตกต่างกันทั้งการลำดับ and to be elected by the
ข้อเรียกร้อง สำนวนภาษาและรายละเอียดปลีกย่อย people.
ของข้อเรียกร้องแต่ละข้อ ซึ่งถ้าเราพิจารณาจากงาน 2. Eighty percent of
เขียนชิ้นสำคัญก็จะพบว่าความแตกต่างที่เกิดขึ้นมา government servants in
จากแหล่งที่มาของข้อมูลที่ต่างกัน หรือกล่าวอีกใน the four districts to profess
หนึ่งจากการใช้หลักฐานที่ต่างกัน ทำให้เกิดเวอร์ชั่น the Muslim Religion.
ข้อเรียกร้องที่แตกต่างกันดังต่อไปนี้ 3. Malay and Siamese
to be the official language.
“ปาตานี รัฐมลายูนอกมลายา” ของบาร์บารา 4. Malay to be the
วิททิงนัม-โจนส์ (Barbara Whittingham-Jones) medium of instruction in
บทความของบาร์บารา วิททิงนัม-โจนส์ เรื่อง the primary schools.
ปาตานี รัฐมลายูนอกมลายา (Patani - Malay State
5. Muslim law to be recognised and
outside Malaya) ในหนังสือพิมพ์เดอะสเตรตส์ไทม์
enforced in a separate Muslim Court other than
(The Straits Times) ฉบับวันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ.
the civil court where the onetime kathi sits as
2490 เป็นงานเขียนชิน้ สำคัญชิน้ หนึง่ ในประวัตศิ าสตร์
an assessor.
ปัตตานี เพราะไม่เพียงแต่เล่าสภาพการณ์ทางสังคม
6. All revenue and income derived from
และการเมืองของปัตตานีหลังสงคราม โลกครั้งที่สอง
the four districts to be utitised within them.
แต่ ยั ง ทำหน้ า ที่ ก ระบอกเสี ย งให้ กั บ กลุ่ ม ชาติ นิ ย ม
7. The formation of a Muslim Board
มลายู ป าตานี ด้ ว ย ที่สำคัญการมาเยือนและเขียน
having full powers to direct all Muslim affairs
ข่าวของวิททิงนัม-โจนส์ เป็นหลักฐานอันหนึ่งที่ทาง
under the supreme authority of the head of
การไทยใช้ อ้ า งในการดำเนิ น คดีหะยีสุหลงในศาล
state mentioned in (1).
ยุ ติ ธ รรมด้ ว ย ในบทความปาตานี รั ฐ มลายู น อก
มลายา วิททิงนัม-โจนส์ได้ลงข้อเรียกร้อง 7 ข้อไว้
ดังต่อไปนี้

17
บทความนี้ได้กลายเป็นหลักฐานทางประวัติ-
ศาสตร์ที่งานเขียนในยุคต่อๆ มาใช้อ้างอิงเกี่ยวกับ
การต่อสู้ทางการเมืองของมลายูปาตานี ทั้งที่ใช่และ
ไม่ใช่งานทางวิชาการ ข้อเรียกร้อง 7 ข้อในบทความ
ของวิ ท ทิ ง นั ม -โจนส์ ถู ก คั ด ลอกและแปลมาอยู่ ใ น
งานเขียนภาษาไทยอย่างกว้างขวางจนถึงปัจจุบัน
เราจะพบว่าตั้งแต่งานเขียนภาษาไทยที่เป็นต้นฉบับ
ของการอ้างอิงต่อๆ กันมาคืองานเขียนของ นันทวรรณ
(เหมินทร์) ภู่สว่าง เรื่องปัญหาชาวไทยมุสลิมในสี่
จั ง หวั ด ภาคใต้ ที่ พิ ม พ์ โ ดยสมาคมสั ง คมศาสตร์
แห่ ง ประเทศไทยเมื่ อ พ.ศ. 2521 ที่ ก่ อ นหน้ า นั้ น

นันทวรรณเขียนเรื่องนี้เป็นภาษาอังกฤษในชื่อเดียว
กัน (The Problem of the Thai-Muslim in the
Four Southern Provinces of Thailand) แบ่งเป็น 2

ตอนลงในวารสารเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ ศึ ก ษา


(Journal of Southeast Asian Studies) ระหว่าง
พ.ศ. 2519 - 2520 โดยงานของนันทวรรณ ได้ยก 6. ภาษี เ งิ น ได้ แ ละภาษี ทั้ ง ปวงที่ เ ก็ บ จาก
ข้อเรียกร้อง 7 ข้อไว้ดังนี้ ประชาชนใน 4 จังหวัด จักต้องใช้จ่ายเฉพาะใน 4
1. ขอให้แต่งตั้งบุคคลคนหนึ่งซึ่งมีอำนาจเต็ม จังหวัดเท่านั้น
มาปกครองใน 4 จังหวัด คือจังหวัดปัตตานี ยะลา 7. ให้จัดตั้งคณะกรรมการมุสลิม มีอำนาจเต็ม
นราธิวาส และสตูล ให้มีอำนาจที่จะปลด ระงับ หรือ ในการดำเนินการเกี่ยวกับคนมุสลิมทุกเรื่องโดยให้
โยกย้ายข้าราชการได้ บุคคลผู้นี้จักต้องถือกำเนิดใน อยู่ในอำนาจสูงสุดของผู้นำตามข้อ 1.
จังหวัดใดจังหวัดหนึ่งของ 4 จังหวัดและจักต้องได้ แม้ ใ นเชิ ง อรรถของนั น ทวรรณจะบอกว่ า
รับการเลือกตั้งมาจากประชาชนใน 4 จังหวัดนั้น ข้อความดังกล่าวอ้างอิงจาก Some Facts about
2. ข้าราชการใน 4 จังหวัด จักต้องเป็นมุสลิม Malays in South Siam ซึ่ ง เป็ น หนั ง สื อ ที่ จั ด ทำ
จำนวน 80% ขึ้นโดย GAMPAR พิมพ์ในกลันตันปี ค.ศ. 1948
3. ให้ใช้ภาษามลายูและภาษาไทย เป็นภาษา โดย นั น ทวรรณตั้ ง ข้ อ สั ง เกตเอาไว้ ว่ า “เชื่ อ กั น ว่ า
ราชการของ 4 จังหวัด ผู้ เ รี ย บเรี ย งหนั ง สื อ เล่ ม นี้ คื อ เตงกู ม ะไฮยิ ด ดิ น ”

4. ให้ใช้ภาษามลายูเป็นภาษากลางของการ แต่เห็นได้ชัดว่า ทั้งข้อความที่นันทวรรณยกมานั้นมี


สอนในโรงเรียนชั้นประถม การเรี ย งข้ อ และรายละเอี ย ดค่ อ นข้ า งจะตรงกั บ
5. ให้ใช้กฎหมายมุสลิมในศาลศาสนา แยก ข้อความในบทความของวิททิงนัม-โจนส์ จึงเป็นไป
ออกไปจากศาลจั ง หวั ด ซึ่ ง เคยมี ผู้ พิ พ ากษาเป็ น ได้ว่าในหนังสือ Some Facts about Malays in
มุสลิม (Kathi) นั่งพิจารณาร่วมด้วย South Siam ที่นันทวรรณอ้างนั้นก็ได้ใช้ข้อมูลจาก
วิททิงนัม-โจนส์ มาอีกทีหนึ่ง

18 ปีที่ 30 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคม 2552


ข้ อ เรี ย กร้ อ ง 7 ข้ อ ของ เหตุการณ์ ประท้วง 2518 ที่ปัตตานี เขียนขึ้นต่าง
นั น ทวรรณได้ รั บ การอ้ า งอิ ง ใน กรรมต่างวาระตั้งแต่ทศวรรรษ 1970 จนถึงการรวม
งานเขียนอื่นๆ อีกทั้งภาษาไทย ตีพิมพ์เมื่อปี ค.ศ. 1994 โดยตีพิมพ์เป็นภาษามลายู
และภาษาอังกฤษ เช่น งานของ อักษรรูมี ที่ประเทศมาเลเซีย หนังสือเล่มนี้แปลเป็น
Surin Pitsuwan (1985) และ ไทยโดยนิอับดุลรากิ๊บ บินนิฮัสซัน และตีพิมพ์โดย
ปิยนาถ บุนนาค (2547) ที่อ้าง โครงการจั ด ตั้ ง สถาบั น สมุ ท รรั ฐ เอเชี ย ตะวั น ออก
ทั้ ง ง า น ข อ ง นั น ท ว ร ร ณ แ ล ะ เฉี ย งใต้ ศึ ก ษา ม.อ.ปั ต ตานี เมื่ อ ปี พ.ศ. 2543
สุรินทร์ที่อ้างจากนันทวรรณมา ประวัติศาสตร์ปัตตานี เล่มนี้ เล่าประวัติศาสตร์ของ
อีกทีหนึ่งแสงรวมแห่งสันติของ ปั ต ตานี ตั้ ง แต่ ส มั ย โบราณจนถึ ง การต่ อ สู้ ท างการ
หะยีสุหลง เมืองเพื่อปลดปล่อยปัตตานีในศตวรรษที่ 20 โดย
หนั ง สื อ เรื่ อ ง Gugusan เรื่องราวของหะยีสุหลงและข้อเรียกร้อง 7 ข้อก็เป็น
Cahaya Kesalamatan ซึ่ ง ชื่ อ ส่วนหนึ่งในนั้นด้วย ข้อเรียกร้อง 7 ข้อในหนังสือของ
หนังสือนี้ถูกแปลเป็นภาษาไทย อาห์หมัด ฟาฑี มีดังต่อไปนี้
หลายสำนวนด้วยกัน ได้แก่ แสง 1. ขอให้ผู้นำคนหนึ่งนับถือศาสนาอิสลามเกิด
รวมแห่งสันติ ของเฉลิมเกียรติ ใน 4 จังหวัดด้วยการได้รับเลือกจากประชาชนใน 4
ขุนทองเพชร รวมแสงแห่งสันติ ของโชคชัย วงษ์ตานี จังหวัดโดยมอบอำนาจอย่างเต็มที่แก่เขา
หรือ กลุ่มแสงแห่งความปลอดภัย ของนิอับดุลรากิ๊บ 2. ต้ อ งการมี ก ารศึ ก ษาภาษามลายู ในทุ ก
บิ น นิ ฮั ส ซั น เล่ ม นี้ เ ขี ย นโดยหะยี สุ ห ลงเมื่ อ พ.ศ. โรงเรียนประชาบาล สำหรับเด็กอายุ 7 ขวบ ก่อน
2492 ด้วยภาษามลายู ตัวอักษรยาวีและได้รับการตี เข้าเรียนภาษาไทยหรือรวมการศึกษาภาษาไทย
พิมพ์โดยลูกชายของเขา อามีน โต๊ะมีนา เมื่อ พ.ศ. 3. ภาษีหรือรายได้ใน 4 จังหวัดภาคใต้ต้อง
2501 หนังสือเล่มนี้ถูกมองว่าเป็นหนังสือต้องห้าม จ่ายภายในพื้นที่เท่านั้น
ดังนั้นความแพร่หลายของ แสงรวมแห่งสันติ จึงมีไม่ 4. ข้าราชการต้องใช้คนมุสลิม 80 เปอร์เซ็นต์
มากนัก นอกจากนี้การที่ยังไม่ถูกแปลเป็นภาษาไทย ตามสัดส่วนประชากรซึง่ ส่วนใหญ่นบั ถือศาสนาอิสลาม
ทำให้ผู้อ่านและนักวิชาการไทยรับรู้และใช้ประโยชน์ 5. ต้ อ งใช้ ภ าษามลายู (ยาวี - ผู้ เ ขี ย น) เป็ น
จากงานชิ้นนี้ไม่มากนัก อย่างไรก็ตามมีงานเขียน ภาษาทางการ
อย่างน้อยสองชิ้นที่ใช้หนังสือเล่มนี้เป็นหลักฐานทาง 6. ต้องแยกศาลชารีอะห์ออกจากสำนักงาน
ประวัติศาสตร์ ได้แก่ อาห์หมัด ฟาฑี อัล-ฟาฏอนี ศาลยุ ติ ธ รรมของรั ฐ พร้ อ มมี ก ฎหมายเฉพาะเพื่ อ
เรื่ อ งประวั ติ ศ าสตร์ ปั ต ตานี และวิ ท ยานิ พ นธ์ ที่ ตัดสินการฟ้องร้องที่มีความเกี่ยวข้องกับกฎหมาย
ต่ อ มาตี พิ ม พ์ เ ป็ น หนั ง สื อ เรื่ อ ง หะยี สุ ห ลง อั บ ดุ ล - ศาสนาอิสลาม
กาเดร์ กบฏ...หรือวีรบุรุษแห่งสี่จังหวัดภาคใต้ ของ 7. ต้องยอมรับว่าประชาชนใน 4 จังหวัดเป็น
เฉลิมเกียรติ ขุนทองเพชร คนเชื้อชาติมลายู
หนังสือประวัตศิ าสตร์ปตั ตานี หรือ Pengantar ข้อเรียกร้อง 7 ข้อในงานของเฉลิมเกียรติ มี
Sejarah Patani เขี ย นโดยอาห์ ห มั ด ฟาฑี อั ล อ้างอิงกันอย่างแพร่หลายทีส่ ดุ ในงานวิชาการปัจจุบนั
ฟาฏอนี ผู้ “อพยพ” ไปอยู่กลันตัน มาเลเซีย หลัง เช่น ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ (2551) อาริฟิน บินจิ

19
(2550) รัตติยา สาและ (2544) (รวมถึงในเชิงอรรถ ปรากฏในทุกเวอร์ชั่นของบาร์บารา วิททิงนัม-โจนส์
ของธเนศด้วย) เฉลิมเกียรติอ้างอิงที่มาของเวอร์ชั่น เลย รวมถึงอีกแหล่งที่จะกล่าวต่อไปด้วย สำหรับข้อ
นี้ว่ามาจาก อัลหะห์มูฮำหมัด ซูลม ฟาฏอนี, แสง 4 มีการใช้คำที่ต่างกันระหว่างให้ข้าราชการร้อยละ
รวมแห่งสันติ (ปัตตานี : เซาดารา เปรสส์, 2501) 80 เป็น “มุสลิม” ตามคำของอาห์หมัด ฟาฑี กับของ
และเอกสารกระทรวงยุ ติ ธ รรม เรื่ อ งรายงานการ เฉลิมเกียรติที่ใช้คำว่า “มลายู” ซึ่งการใช้คำที่ต่างกัน
ปฏิ บั ติ ข องคณะกรรมการสอดส่ อ งภาวะการณ์ 4 นี้มีนัยยะสำคัญทางการเมืองอยู่พอสมควร
จังหวัดภาคใต้ ข้อความมีดังต่อไปนี้ แต่สำหรับข้อ 6 และข้อ 7 ที่ไม่ตรงกัน คือ ข้อ
1. ขอให้ปกครอง 4 จังหวัดนี้เป็นแคว้นหนึ่ง 6 ในอาห์หมัด ฟาฑี เป็นข้อ 7 ในเฉลิมเกียรติ ซึ่งก็
โดยมี ผู้ ด ำรงตำแหน่ ง อย่ า งสู ง ให้ มี อ ำนาจในการ คื อ เรื่ อ งศาลชารี อ ะห์ ที่ แ ยกออกจากศาลยุ ติ ธ รรม

ศาสนาอิสลาม มีอำนาจแต่งตั้งและปลดข้าราชการ กั บ ข้ อ 7 ที่ อ าห์ ห มั ด มี ข้ อ เรี ย กร้ อ งที่ แ ตกต่ า งจาก


ออกได้ ผูด้ ำรงตำแหน่งนีต้ อ้ งเป็นมุสลิมใน 4 จังหวัด ข้อมูลจากทุกแหล่งว่าเป็นเรื่องของการให้รัฐยอมรับ
2. การศึกษาในชั้นประถมต้นจนถึงชั้นประถม สถานะความเป็ น ชาวมลายู ข องประชาชนใน 4
7 ให้มีการศึกษาภาษามลายูตลอด จั ง หวั ด แทนที่ จ ะเป็ น เรื่ อ งอำนาจหน้ า ที่ ข องคณะ
3. ภาษาทีเ่ ก็บได้ให้ใช้ภายใน 4 จังหวัดนีเ้ ท่านัน้ กรรมการอิสลามประจำจังหวัดเหมือนเฉลิมเกียรติ
4. ในจำนวนข้ า ราชการทั้ ง หมดขอให้ มี และงานชิ้นอื่นๆ ซึ่ง ณ ขณะนี้ที่ยังไม่ได้ตรวจสอบ
ข้าราชการชาวมลายูร้อยละ 80 กับต้นฉบับแสงรวมแห่งสันติโดยตรง ผมขอตั้งข้อ
5. ขอให้ใช้ภาษามลายูควบกับภาษาไทยเป็น สั ง เกตจากหลั ก ฐานภาษาไทยที่ มี อ ยู่ ว่ า ในงาน
ภาษาราชการ เฉลิมเกียรติได้อ้างอิงข้อเรียกร้อง 7 ข้อจากข้อมูล

6. ให้ ค ณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดมี 2 แหล่ง คือ แสงรวมแห่งสันติ กับ รายงานการ


เอกสิทธิ์ออกระเบียบเกี่ยวกับการปฏิบัติการศาสนา ปฏิ บั ติ ข องคณะกรรมการสอดส่ อ งฯ ทำให้ เ ขาได้
อิสลามโดยความเห็นชอบของผู้มีอำนาจสูงสุด ตรวจสอบว่ า มี ข้ อ มู ล ไม่ ต รงกั น ในข้ อ สุ ด ท้ า ยของ
7. ให้ ศาลรับพิจารณาตามกฎหมายอิสลาม แสงรวมแห่งสันติ จึงเป็นไปได้ว่าได้นำเอาข้อเรียก
แยกจากศาลจั ง หวั ด มี โ ต๊ ะ กาลี (กอฎี ห รื อ ดะโต๊ ะ ร้องเรื่องคณะกรรมการอิสลามมาไว้ในข้อ 6 และ
ยุ ติ ธ รรม) ตามสมควร และมี เ สถี ย รภาพในการ เอาเรื่ อ งศาลเป็ น ข้ อ 7 และตั ด ข้ อ 7 ที่ มี อ ยู่ ใ น
พิจารณาชี้ขาด แสงรวมแห่งสันติ และในงานของอาห์หมัด ฟาฑี ซึ่ง
จากข้างบนจะเห็นได้ชัดว่า การเรียงข้อเรียก ไม่ปรากฏ ณ ที่แห่งใดเลยทิ้งไป
ร้องจากข้อ 1 ถึงข้อ 5 ของทั้งอาห์หมัด ฟาฑี และ
เฉลิมเกียรติตรงกันและรายละเอียดข้อเรียกร้องมี ประวัติศาสตร์ราชอาณาจักรมลายูปะตานี ของ
ความใกล้เคียงกัน แต่จะมีจุดต่างที่เป็นข้อสังเกตใน อิบรอฮิม ชุกรี
ข้อ 2 ที่ อาห์หมัด ฟาฑี เขียนว่าให้เรียนภาษามลายู เป็นข้อเรียกร้องที่ปรากฏในงานเขียนประวัติ-
สำหรับเด็กอายุ 7 ปีก่อนเรียนภาษาไทย ในขณะที่ ศาสตร์ชาตินิยมมลายูปัตตานีเล่มสำคัญที่เป็นที่รู้จัก
เฉลิมเกียรติระบุว่า ให้มีการศึกษาภาษามลายูจนถึง มากที่สุด โดยเฉพาะในโลกงานเขียนภาษาไทยและ
ชั้นประถม 7 ซึ่งแม้จะมีความต่าง แต่ก็น่าสนใจว่า ภาษาอังกฤษ คือ ประวัติศาสตร์ราชอาณาจักรมลายู
การระบุ 7 ปีหรือชั้นประถม 7 ในข้อเรียกร้องไม่ ปะตานี ของ อิบรอฮิม ชุกรี ที่หะสัน หมัดหมานและ

20 ปีที่ 30 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคม 2552


มะหามะชากี เจ๊ะหะ แปลมาจากต้นฉบับภาษามลายู 1. ให้ รั ฐ บาลไทยจั ด ให้ มี บุ ค คลคนหนึ่ ง ที่ มี
ตัวอักษรยาวี ที่ตีพิมพ์ครั้งแรกในช่วงทศวรรษ 2490 อำนาจเต็มในด้านการปกครองใน 4 จังหวัดภาคใต้
โดยเป็นงานเขียนที่ไม่มีการอ้างอิงแบบวิชาการ ทั้ง คือ ปัตตานี นราธิวาส ยะลาและสตูล บุคคลดังกล่าว
ผู้เขียนก็ไม่ได้ระบุที่มาของข้อเรียกร้อง จึงไม่ทราบที่ นีจ้ ะต้องได้รบั เลือกจากประชาชนใน 4 จังหวัดภาคใต้
มาของเวอร์ชั่นนี้อย่างชัดเจน ข้อความมีดังต่อไปนี้ นั่นเอง
1. รั ฐ บาลต้ อ งแต่ ง ตั้ ง บุ ค คลคนหนึ่ ง ที่ ไ ด้ รั บ 2. ภาษีและรายได้ต่างๆ จาก 4 จังหวัดนั้นจะ
เลื อ กจากประชาชนเพื่ อ ดำรงตำแหน่ ง สู ง สุ ด และ ต้องใช้จ่ายเฉพาะใน 4 จังหวัดนั้นเท่านั้น
มีอำนาจในการปกครอง 4 จังหวัดนี้ คือ ปัตตานี 3. รั ฐ บาลจะต้ อ งจั ด ให้ มี วิ ช าภาษามลายู ใ น
ยะลา นราธิ ว าส และสตู ล บุ ค คลผู้ นี้ จ ะต้ อ งเป็ น โรงเรียนประชาบาลจนถึงประถมปีที่ 4
มุสลิมที่เกิดในจังหวัดใดจังหวัดหนึ่งของ 4 จังหวัดนี้ 4. ข้ า ราชการใน 4 จั ง หวั ด นั้ น จะต้ อ งให้ แ ก่
และตำแหน่งนี้จะต้องเป็นตลอดชีพ ชาวมลายู 80%
2. ภาษีอากรและรายได้ต่างๆ ที่เก็บได้จาก 4 5. รัฐบาลจะต้องกำหนดให้ใช้ภาษามลายูใน
จังหวัดนี้ จะต้องนำมาใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์ภายใน สถานที่ราชการในสี่จังหวัดนั้น พร้อมกับภาษาไทย
พื้นที่นี้เท่านั้น 6. รั ฐ บาลจะต้ อ งอนุ มั ติ ใ ห้ ส ำนั ก งานคณะ
3. รัฐบาลจะต้องจัดให้มีการเรียนการสอนวิชา กรรมการอิ ส ลามประจำจั ง หวั ด ออกกฎหมายที่
ภาษามลายูในโรงเรียนประถมศึกษาตั้งแต่ชั้นปีที่ 1 เกี่ยวข้องกับศาสนาอิสลามและขนบประเพณี ด้วย
ถึงปีที่ 4 ความเห็นชอบของผู้มีอำนาจสูงสุด ดังได้กล่าวไว้ใน
4. ข้าราชการที่จะปฏิบัติหน้าที่ใน 4 จังหวัด ข้อ 1
นี้ จะต้ อ งเป็ น มุ ส ลิ ม ที่ เ กิ ด ในพื้ น ที่ นี้ จ ำนวน 80 7. รัฐบาลจะต้องแยกศาลศาสนา (มะหกะมะฮ
เปอร์เซ็นต์ ชัรอียะ) จากศาลจังหวัด และใช้ศาลศาสนามีอำนาจ
5. รัฐบาลจะต้องใช้ภาษามลายูควบคูก่ บั ภาษา เต็มในการพิจารณาคดี
สยามเพื่อติดต่อราชการในพื้นที่นี้ ในหนังสือของ อ.บางนรา เช่นเดียวกับชุกรี

6. รัฐบาลจะต้องให้อำนาจแก่คณะกรรมการ ที่ไม่ได้อ้างอิงแหล่งที่มาของข้อความ แต่ก็เห็นชัด


อิสลามประจำจังหวัดเพื่อออกกฎหมายที่เกี่ยวกับ ว่ามีการใช้ข้อมูลจากงานเขียนของชุกรี ดังเราจะพบ
อิสลามโดยมีบุคคลตามข้อ 1 ให้การยินยอม ว่ า การเรี ย งลำดั บ ข้ อ เรี ย กร้ อ งและเนื้ อ หาของข้ อ
7. รัฐบาลจะต้องตั้งศาลอิสลามใน 4 จังหวัดนี้ เรี ย กร้ อ งแต่ ล ะข้ อ ของหนั ง สื อ สองเล่ ม นี้ มี ค วาม
โดยมีอำนาจเด็ดขาดในการพิจารณาคดีที่เกี่ยวกับ ตรงกัน แม้จะมีสำนวนแปลที่ต่างกันและจุดหนึ่งที่
การแต่งงานและมรดก ซึ่งมีมุสลิมเป็นคู่กรณี ต่ า งกั น คื อ ในข้ อ 1 เรื่ อ งผู้ มี อ ำนาจสู ง สุ ด ในการ
หนั ง สื อ เกี่ ย วกั บ ปั ต ตานี อี ก เล่ ม ที่ มี ค วาม ปกครอง 4 จังหวัดภาคใต้ของชุกรีเขียนว่า “ตำแหน่ง
สำคัญก็คือ ปัตตานี อดีต-ปัจจุบัน ของ อ.บางนรา นี้จะต้องเป็นตลอดชีพ” ซึ่งไม่ปรากฏในที่อื่นๆ เลย
ซึ่ ง ตี พิ ม พ์ ใ นช่ ว งเวลาของความเปลี่ ย นแปลงทาง ก็ ต าม จุ ด สั ง เกตเล็ ก ๆ อั น หนึ่ ง ที่ ท ำให้ น่ า เชื่ อ ว่ า
การเมืองและสังคมหลัง 14 ตุลา งานชิ้นนี้เช่นเดียว ข้อมูลจากหนังสือทั้งสองเล่มมาจากแหล่งเดียวกันก็
กับงานชิ้นอื่นๆ ที่พูดเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ปัตตานี คือ ข้อ 3 ของทั้งสองเล่มระบุเรื่องการเรียนภาษา
ที่จะยกข้อเรียกร้อง 7 ประการมา ข้อความเป็นดังนี้ มลายูจนถึงชั้นประถม 4 ตรงกัน และระบุต่างจาก

21
เวอร์ชั่นแสงรวมแห่งสันติ ที่ระบุชั้นประถม 7 หรือ มี ผู้ มี อ ำนาจสู ง สุ ด ที่ ม าจากการเลื อ กตั้ ง ของคนใน
อายุ 7 ปี ท้องถิ่นมีอำนาจในการปกครองพื้นที่ 4 จังหวัดนั้น
ถูกจัดให้เป็นข้อทีห่ นึง่ ตรงกันทัง้ หมดจากทุกเวอร์ชนั่
ความแตกต่างระหว่างสามเวอร์ชั่น อันสะท้อนว่าเป็นข้อเรียกร้องที่ถูกให้ความสำคัญ
จากการสำรวจงานเขียนต่างๆ พอจะสรุปได้ มากที่สุด ในขณะที่ข้ออื่นๆ ไม่มีข้อใดที่เรียงลำดับ
ว่าข้อเรียกร้อง 7 ข้อ นั้นมีด้วยกัน 3 เวอร์ชั่น คือ ตรงกันทั้งสามเวอร์ชั่นเลย ตารางด้านล่างแสดงการ
บทความของบาร์ บ ารา วิ ท ทิ ง นั ม -โจนส์ (BWJ) เปรียบเทียบการเรียงลำดับข้อเรียกร้อง จะพบว่า
แสงรวมแห่ ง สั น ติ (GCK) และ ประวั ติ ศ าสตร์ GCK และ SKP มีการเรียงลำดับข้อเรียกร้องที่เกือบ
ราชอาณาจั ก รมลายู (SKP) ซึ่ ง ความแตกต่ า งที่ จะตรงกัน เว้นแต่ข้อ 2 และข้อ 3 ของ GCK ที่เรียง
ชั ด เจนที่ สุ ด ของสามเวอร์ ชั่ น นี้ ก็ คื อ การลำดั บ ข้ อ สลับกับ SKP และประเด็นข้อ 7 ของอาห์หมัด ฟาฑี
เรียกร้อง เราจะพบว่า ข้อเรียกร้องข้อที่ 1 เรื่องให้ ที่เป็นปัญหา

BWJ GCK SKP สัญลักษณ์

1 1 1 P1
2 4 4 P2
3 5 5 P3
4 2 3 P4
5 6(A)* 7 P5
6 3 2 P6
7 6(B)* 6 P7

* 6 (A) คือข้อ 6 ในประวัติศาสตร์ปัตตานีของอาห์หมัด ฟาฑี ส่วน 6 (B) คือข้อ 6 ในหะยีสุหลงฯ ของ


เฉลิมเกียรติ ส่วนเนื้อหาสาระของข้อเรียกร้องแต่ละข้อนั้นดูจะไม่มีความแตกต่างในสาระสำคัญเท่าไรนัก
P1 นัยยะสำคัญตรงกันว่าเรียกการปกครองตนเองของประชาชนใน 4 จังหวัด ที่มีผู้นำที่มีอำนาจในทาง
ปกครองเหนือระบบราชการทั้งหมด โดยมาจากการเลือกตั้งของประชาชน จะมีข้อแตกต่างอยู่บ้าง เช่นในของ
เฉลิมเกียรติที่ระบุอำนาจในการศาสนาอิสลามด้วย และในของชุกรีที่บอกว่า ตำแหน่งนี้เป็นตลอดชีพ
P2 กล่าวตรงกันทั้งหมดว่าให้ข้าราชการทั้งหมดในสี่จังหวัดต้องเป็นคนในพื้นที่ร้อยละ 80 ซึ่งมีความ
แตกต่างในการใช้คำที่อาจจะมีนัยสำคัญทางการเมือง ที่ BWJ และอาห์หมัด ฟาฑี ใช้คำว่า มุสลิม ในขณะที่
เฉลิมเกียรติและ อ.บางนรา ใช้คำว่า มลายู และชุกรีใช้คำว่า “มุสลิมที่เกิดในพื้นที่”
P3 กล่าวถึงภาษามลายูในการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งจะมีความแตกต่างกันระหว่างการให้ใช้ภาษามลายู
เป็นภาษาที่ใช้ในการเรียนการสอน (medium of instruction) กับการให้มีการเรียนการสอนวิชาภาษามลายู
กับช่วงระยะเวลาของการศึกษาขั้นพื้นฐานระหว่าง “7 ขวบ” ในของอาห์หมัด ฟาฑี กับชั้นประถม 7 ของ
เฉลิมเกียรติ และประถม 4 ใน SKP

22 ปีที่ 30 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคม 2552


P4 ตรงกันว่าให้ใช้ภาษามลายูเป็นภาษาราชการควบคู่ไปกับภาษาไทย
P5 ใจความหลักอยู่ที่ให้มีศาลที่พิจารณาคดีตามกฎหมายอิสลามที่แยกขาดจากศาลยุติธรรมของทาง
ราชการทีม่ อี ยูเ่ ดิม โดยในแต่ละสำนวนอาจจะกล่าวต่างกันบ้างในรายละเอียดแต่ไม่ใช่ประเด็นทีม่ นี ยั ยะสำคัญนัก
P6 เรื่องภาษีและรายได้ของรัฐในพื้นที่ 4 จังหวัดต้องนำมาใช้ในพื้นที่เท่านั้นกล่าวตรงกันทุกสำนวน
P7 เรื่องคณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดให้มีอำนาจในการออกกฎระเบียบเกี่ยวกับศาสนา โดย
ความเห็นชอบจากผู้มีอำนาจตามข้อ 1 ทุกแหล่งใจความสำคัญตรงกัน แต่มีข้อต่างอยู่บ้างใน BWJ ที่เขียน
ชวนให้เข้าใจว่าให้มีการตั้งคณะกรรมการอิสลามขึ้นมาใหม่ ไม่ใช่คณะกรรมการอิสลามที่มีอยู่แต่เดิม
ดังนั้น เราพบว่างานเขียนส่วนใหญ่กล่าวถึงข้อเรียกร้อง 7 ข้อของหะยีสุหลงตรงกัน แต่เมื่อเราย้อนกลับ
ไปดูงานเขียนชิ้นสำคัญและดูต้นตอที่มาของข้อมูลก็จะพบข้อสังเกตบางประการ ประการแรกคือ การที่งาน
ของอาห์หมัด ฟาฑี ที่ใช้ข้อมูลจาก “อัตชีวประวัติ” ของหะยีสุหลง กลับมีข้อเรียกร้องที่แตกต่างไปอย่างสิ้นเชิง
คือ ข้อ 7 ที่เรียกร้องว่า “ต้องยอมรับว่าประชาชนใน 4 จังหวัดเป็นคนเชือ้ ชาติมลายู” โดยไม่มีข้อ P7 เรื่อง
คณะกรรมการอิสลามฯ

ทำไมจึ ง เป็ น เช่ น นั้ น ในขณะที่ ไ ม่ มี เ อกสาร (ตั ว พิ ม พ์ อ าหรั บ ) ส่ ว นข้ อ ที่ 7 ถู ก เขี ย นขึ้ น ใหม่
แสงรวมแห่งสันติ อยู่ในมือ ทำให้ไม่อาจตรวจสอบ ด้ว ยลายมือ ของเจ้ า ของหนั ง สือ เล่ มนี้ ซึ่ ง อาจเป็น
ข้อมูลของอาห์หมัด ฟาฑี อัล-ฟาฏอนีกับหนังสือ หะยีอามีน (ผู้สั่งพิมพ์) ลูกชายของหะยีสุหลง จึงนำ
แสงรวมแห่ ง สั น ติ ที่ เ อาใช้ อ้ า งอิ ง ได้ กระนั้ น แต่ ก็ ไปสู่ข้อสงสัยที่ว่าข้อเรียกร้องของหะยีสุหลงที่แท้จริง
น่าเชือ่ ว่า อาห์หมัด ฟาฑี คงเอาข้อความข้อเรียกร้อง มี 6 หรือ 7 ข้อกันแน่” ข้อค้นพบของโชคชัยอาจจะ
7 ข้อมาจากแสงรวมแห่งสันติจริง แต่เขาก็คงไม่ได้ ช่วยให้ข้อสงสัยเกี่ยวกับการหายไปของข้อ P7 และ
ตรวจสอบกับบทความของบาร์บารา วิททิงนัม-โจนส์ มีข้อเรียกร้องให้รัฐยอมรับสถานะความเป็นเชื้อชาติ
ที่ เ ขาก็ ใ ช้ เ ป็ น ข้ อ มู ล ในการเขี ย นเช่ น กั น ข้ อ มู ล ที่ มลายูที่ไม่ปรากฏในแหล่งอื่นๆ ในงานของอาห์หมัด
น่าสนใจเกี่ยวกับข้อเรียกร้อง 7 ข้อในหนังสือ แสง ฟาฑี ที่ได้อ้างอิงมาจาก แสงรวมแห่งสันติ กระจ่าง
รวมแห่งสันติ จากการค้นคว้าของโชคชัย วงษ์ตานี ขึ้นได้บางส่วน
ที่ ไ ด้ ร วบรวมบรรณนิ ทั ศ น์ ห นั ง สื อ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ อันที่จริงหนังสือแสงรวมแห่งสันติไม่ใช่ “แหล่ง
เหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่สามจังหวัดชายแดน ข้ อ มู ล แรก” ของการบั น ทึ ก ข้ อ เรี ย กร้ อ ง 7 ข้ อ
ภาคใต้ พบว่า “หนังสือนี้ถือว่าเป็นหลักฐานเบื้องต้น ของหะยี สุ ห ลงอย่ า งที่ โ ชคชั ย เข้ า ใจ ซึ่ ง ถ้ า ไม่ นั บ
และแหล่งข้อมูลแรกทีก่ ารบันทึกข้อเรียกร้องดังกล่าว หนังสือข้อเรียกร้อง 7 ข้อ “ฉบับจริง” ที่ส่งถึงรัฐบาล
ซึ่งเดิมบันทึกเป็นภาษามลายูอักษรยาวี โดยมีข้อ ไทย เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2490 แล้ว “แหล่งข้อมูล
เรี ย กร้ อ งที่ ถู ก บั น ทึ ก ในหนั ง สื อ เล่ ม นี้ เ พี ย ง 6 ข้ อ แรก” น่ า จะเป็ น บทความ ปาตานี รั ฐ มลายู น อก
(น.4-5) ที่เป็นอักษรตัวพิมพ์ โดยข้อที่ 7 ถูกเขียน มลายา ของบาร์บารา วิททิงนัม-โจนส์ ที่ตีพิมพ์ใน
ขึ้นโดยลายมือในภายหลัง” โชคชัยได้ตั้งข้อสังเกตว่า เดอะสเตรตส์ไทม์ เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2490 ใน
อาจจะเป็นอามีน โต๊ะมีนา ที่เขียนเพิ่มด้วยลายมือ ขณะที่กว่าหะยีสุหลงจะบันทึกเรื่องราวของตนเองที่
เข้าไป “ข้อเรียกร้องต่อทางการของหะยีสุหลงนั้ น จะกลายเป็นหนังสือ แสงรวมแห่งสันติ (ที่พิมพ์เมื่อ
มีเพียง 6 ข้อ โดยบันทึกเป็นภาษามลายูอักษรยาวี พ.ศ. 2501) ก็เป็นปี พ.ศ. 2492 แล้ว คือเกือบสองปี

23
หลังจากเหตุการณ์และที่สำคัญเขาน่าจะเขียนจาก อันจะส่งผลต่อการทำความเข้าใจข้อเรียกร้อง 7 ข้อ
ความทรงจำ เพราะผู้เขียนคงไม่มีเอกสารหลักฐาน หรือไม่อย่างไร
ต่างๆ อยู่ในมือขณะที่อยู่ในเรือนจำ
จากการสำรวจเกี่ยวกับข้อเรียกร้อง 7 ข้อจาก ข้อเรียกร้อง 7 ข้อในหอจดหมายเหตุแห่งชาติ
แหล่งต่างๆ ข้างต้นจะเห็นว่า งานเขียนส่วนใหญ่ ในรั ฐ สมั ย ใหม่ ที่ มี ร ะบบราชการ หนั ง สื อ ที่
จะได้ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่ระบุได้เพียง 2 แหล่ง เป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรมี ค วามสำคั ญ อย่ า งมากต่ อ
เท่ า นั้ น เอง คื อ บทความของ วิ ท ทิ ง นั ม -โจนส์
การทำงานราชการ ข้ อ เรี ย กร้ อ ง 7 ข้ อ ที่ เ ป็ น มติ
และหนั ง สื อ แสงรวมแห่ ง สั น ติ ซึ่ ง บทความของ
ของคณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดปัตตานีได้
วิททิงนัม-โจนส์เป็นแหล่งข้อมูลชั้นต้นที่สุดของการ ถูกทำเป็นหนังสือและยื่นต่อรัฐบาลไทยดังที่ทราบ
เข้าถึงการเรียกร้องของประชาชนมลายูมุสลิมที่มี กันดี ดังนั้นเอกสารที่เป็นข้อเรียกร้อง “ฉบับจริง”

หะยี สุ ห ลงเป็ น ผู้ น ำคนสำคั ญ ทั้ ง นี้ บ ทความของ จึ ง ต้ อ งอยู่ ที่ ไ หนสั ก แห่ ง ในหน่ ว ยงานราชการของ
วิททิงนัม-โจนส์ เขียนจากการที่เธอได้เดินทางมาที่ ไทย ซึ่งผมก็พบโดยบังเอิญจากการสำรวจเอกสาร
ปัต ตานี และพบกั บหะยีสุหลง โดยเป็นไปได้อย่าง ประวั ติ ศ าสตร์ เ กี่ ย วกั บ ปั ต ตานี ที่ ห อจดหมายเหตุ
มากว่ า โจนส์ จ ะได้ รั บ รู้ ข้ อ เรี ย กร้ อ งจากหะยี สุ ห ลง แห่งชาติที่กรุงเทพฯ
โดยตรงตามที่ธเนศเคยตั้งข้อสังเกตเอาไว้ แม้ว่าจะ การยื่นข้อเรียกร้อง 7 ข้อเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 3
บทความของวิททิงนัม-โจนส์จะเป็นหลักฐานชั้นต้น เมษายน พ.ศ. 2490 เมื่อคณะกรรมการสอดส่อง
ที่ สุ ด เพราะได้ เ ข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล หลั ง จากการยื่ น ข้ อ ภาวะการณ์ 4 จังหวัดภาคใต้ที่คณะรัฐมนตรีสมัย
เรี ย กร้ อ งเพี ย งไม่ กี่ เ ดื อ นก็ ต าม แต่ ปั ญ หาของ หลวงธำรงนาวาสวั ส ดิ์ มี ม ติ แ ต่ ง ตั้ ง ได้ เ ดิ น ทางมา
วิททิงนัม-โจนส์ ก็คือ เรื่องของการแปล เราไม่ทราบ ถึงปัตตานี โดยคณะกรรมการกลางอิสลามประจำ
ว่าวิททิงนัม-โจนส์แปลข้อเรียกร้อง 7 ข้อด้วยตนเอง จั ง หวั ด ปั ต ตานี ที่ มี ห ะยี สุ ห ลงเป็ น ประธานได้ ท ำ
หรือให้หะยีต่างๆ ในปัตตานีที่เป็นไกด์พา “ลงพื้นที่” หนังสือนำเสนอ (หรือทีเ่ รียกกันว่า “หนังสือปะหน้า”)
แปลแล้วเล่าให้ฟัง แล้วการแปลที่ว่านั้นก่อให้เกิด ข้อเรียกร้อง 7 ข้อ ดังต่อไปนี้
การหลากเลื่ อ นหรื อ คลาดเคลื่ อ นของความหมาย

24 ปีที่ 30 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคม 2552


ที่ ๒๒/๒๔๙๐ สำนักงานคณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดปัตตานี
๓ เมษายน ๒๔๙๐
เรื่อง คำขอร้องในการปฏิบัติทางสาสนาอิสลามและอื่นๆ
จาก ประธานกรรมการอิสลามปัตตานี
ถึง คณะรัฐมนตรี
เนื่องจากได้ประชุมตกลงกันในระหว่างกรรมการอิสลามจังหวัดปัตตานีกับปวงประชาชนชาวอิสลาม ได้
ตกลงขอร้องให้จัดการปกครองจังหวัดปัตตานี สตูล ยะลา และ นราธิวาส รวมเปนข้อความ ๗ ข้อ จึงขอ
ประธานเสนอรายหัวข้อตกลงการประชุมดังกล่าวแล้วมาเพื่อให้โปรดพิจารณา และประทานความยุติธรรมแก่
คณะข้าพเจ้าตามสมควร.

ขอแสดงความนับถือย่างสูง
[ลายเซ็น]
(นายหะยีสุหลง อับดุลกาเดร์)
ประธานคณะกรรมการอิสลามจังหวัดปัตตานี

ออกจะดูประหลาดที่ใช้ชื่อเรื่องว่า “คำขอร้อง พิมพ์ดีด เนื่องจากเอกสารชุดนี้ แม้จะให้บริการใน


ในการปฏิบัติทางศาสนาอิสลามและอื่นๆ” ทั้งๆ ที่ หอจดหมายเหตุ แ ห่ ง ชาติ แ ล้ ว และไม่ ง ดให้ บ ริ ก าร
ประเด็ น หลั ก ในข้ อ เรี ย กร้ อ งไม่ ใ ช่ เ รื่ อ งการปฏิ บั ติ เหมือนเอกสารเกี่ยวกับสนธิสัญญาและภาคใต้ตอน
ศาสนกิ จ แต่ เ ป็ น เรื่ อ งการปกครองตนเอง เพราะ ล่างบางชุด แต่ก็อยู่ในชั้นความลับที่ไม่อนุญาตให้ทำ
เอกสารแผ่ น ถั ด มาจากหนั ง สื อ ปะหน้ า คื อ ข้ อ เรี ย ก สำเนา จึงทำได้เพียงแต่คัดลอกโดยคงไว้ซึ่งตัวสะกด
ร้อง 7 ข้อ (ที่จริงไม่มีคำนี้ มีแต่ “คำขอร้อง” ตาม และการใช้เลขไทยให้ตรงกับต้นฉบับ ข้อความเป็น
หนังสือปะหน้า) “ฉบับจริง” เขียนเป็นภาษาไทยด้วย ไปดังต่อไปนี้

สำนักงานคณะกรรมการอิสลามจังหวัดปัตตานี
๑ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๙๐
การประชุมในวันนี้ พร้อมกันลงมติขอให้รัฐบาลไทยพิจารณาให้เป็นไปตามร้องขอดังต่อไปนี้ กล่าวคือ.
๑. ขอให้มีการปกครองใน ๔ จังหวัด ปัตตานี สตูล ยะลา และนราธิวาส โดยมีผู้ดำรงตำแหน่งอย่างสูง
ให้มีอำนาจในการสาสนาอิสลามและมีอำนาจแต่งตั้งข้าราชการใน ๔ จังหวัดโดยสมบูรณ์ และให้ออกโดยเหตุ
ประการต่าง ๆ ผู้ที่จะดำรงตำแหน่งสูงนี้ต้องเป็นมุสลิมใน ๔ จังหวัดนี้ และเป็นผู้ที่ได้รับเลือกจากปวงมุสลิม
ภาคนี้ โดยจะให้มีกำหนดเวลาดำรงตำแหน่งตามทางราชการก็ได้
๒. ข้าราชการแต่ละแผนกใน ๔ จังหวัดนี้ ให้มีมะลายู ๘๐ เปอร์เซนประกอบอยู่ด้วย
๓. การใช้หนังสือในราชการให้ใช้ภาษามะลายูและใช้ควบกับภาษาไทยด้วย เช่น แบบฟอร์มหรือ
ใบเสร็จต่างๆ จะต้องให้มีภาษามะลายูใช้ด้วย

25
๔. การศึกษาโรงเรียนชั้นประถมให้มีการศึกษาภาษามะลายูตลอดประถมบริบูรณ์
๕. ขอให้มีศาลรับพิจารณาตามกฎหมายอิสลามแยกออกจากศาลจังหวัดที่มีแล้ว มีโต๊ะกาลีตามสมควร
และมีเสรีในการพิพากษาชี้ขาดความโดยจะฟังเสียงผู้ใดไม่ได้ นอกจากผิดหลักกฎหมาย
๖. ผลประโยชน์รายได้ต่าง ๆ จะต้องใช้จ่ายในภาค ๔ จังหวัดนี้ โดยไม่แบ่งจ่ายให้แก่ที่อื่นเลย
๗. ให้คณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดนี้มีเอกสิทธิ์ออกระเบียบเกี่ยวกับการปฏิบัติการสาสนาอิสลาม
โดยเห็นชอบผู้มีอำนาจสูง (ตามข้อ ๑)

หะยีโมง เก็บอุรัย ผู้บันทึก
รองประธานกรรมการอิสลาม

นอกจากข้อเรียกร้อง 7 ข้อในภาษาไทยแล้ว ข้อ 2 ข้อมูลทุกแหล่งระบุตรงกันว่าข้าราชการ


แผ่นถัดมาเป็นฉบับภาษามลายูเขียนด้วยมือเป็นตัว ในพืน้ ที่ 4 จังหวัดจะต้องเป็นมุสลิม หรือมลายู ร้อยละ
อักษรยาวีและยังมีข้อเรียกร้องอื่นๆ ที่ถูกเสนอมาใน 80 แต่ในต้นฉบับในหอจดหมายเหตุแห่งชาติระบุ
วันเดียวกันนั้น ซึ่งในเรื่องนี้ผมจะได้ในเสนอในครั้ง รายละเอี ย ดเพิ่ ม เต็ ม ว่ า ข้ า ราชการ “แต่ ล ะแผนก”
ต่อไป ร้อยละ 80 จะต้องเป็น “มะลายู” ซึ่งการระบุว่าข้อ
จากการกลับไปดูเอกสารข้อเรียกร้อง 7 ข้อ ราชการแต่ละแผนกต้องเป็นมลายูร้อยละ 80 กับ
“ฉบับจริง” แม้จะไม่พบความแตกต่างที่จะทำให้สาระ ข้ า ราชการทั้ ง หมดร้ อ ยละ 80 ต้ อ งเป็ น มลายู จ ะมี
สำคัญของข้อเรียกร้องทั้งหมดที่ถูกนำเสนอในงาน นัยยะที่ต่างกันออกไป รวมถึงการใช้คำว่า มุสลิม
ชิ้นอื่นๆ ผิดไป รวมถึง BWJ ที่เรียงข้อเรียงลำดับ หรือ มลายู ก็เช่นกัน เพราะการระบุว่ามุสลิมเฉยๆ
ได้จับใจความสำคัญของข้อเรียกร้อง 7 ข้อไว้อย่าง ก็อาจจะหมายถึงคนมุสลิมกรุงเทพฯ หรือที่อื่นๆ ที่
ครบถ้วน แต่ถ้าเราดูในรายละเอียดในแต่ละข้อจะพบ ไม่ใช่มลายูก็ถูกนับรวมในร้อยละ 80 นี้ด้วย
สิ่ ง ที่ ผิ ด แปลกไปจากที่ ป รากฏในแหล่ ง อื่ น ๆ โดย ข้อ 3 จากต้นฉบับในหอจดหมายเหตุแห่งชาติ
เฉพาะใน BWJ ที่เป็นแหล่งข้อมูลแรกสุด โดยความ ไม่ได้ใช้คำว่าให้ภาษามลายูเป็นภาษาราชการ แต่
แตกต่ า งที่ มี นั ย สำคั ญ ในรายละเอี ย ดจะปรากฏใน
ระบุเพียงว่าในหนังสือราชการต่างๆ ให้ใช้ภาษามลายู
ข้อ 1 ถึงข้อ 4 ดังต่อไปนี้ ควบคู่ กั บ ภาษาไทย ซึ่ ง จะมี ค วามหมายต่ า งจาก
ข้อ 1 เป็นเรื่องการปกครองตนเอง ซึ่งจุดที่ “ภาษาราชการ” ซึ่งแปลจาก BWJ คำว่า “official
ปรากฏในงานชิ้นอื่นๆ เลยก็คือ เรื่องการเลือกตั้ง
language”
“ผูด้ ำรงตำแหน่งอย่างสูง” ไม่เพียงแต่ผดู้ ำรงตำแหน่ง ข้อ 4 จากข้อมูลอื่นๆ ที่ผ่านมาจะระบุในสอง
ดังกล่าวจะต้องเป็นมุสลิมที่เกิดในพื้นที่ 4 จังหวัด แนวทาง คื อ ให้ มี ก ารศึ ก ษาภาษามลายู ใ นระดั บ
แต่ต้อง “เปนผู้ที่ได้รับเลือกจากปวงมุสลิมภาคนี้” ซึ่ง ประถมศึ ก ษากั บ ให้ ใ ช้ ภ าษามลายู เ ป็ น ภาษาใน
ต่างจากแหล่งอื่นๆ ทั้งหมดที่บอกเพียงว่าเลือกตั้ง การเรี ย นการสอน (medium of instruction) ใน
จากประชาชน (BWJ เขียนว่า “to be elected by ต้นฉบับในหอจดหมายเหตุแห่งชาติระบุในแนวทาง
the people”) แรกว่า “ให้มีการศึกษาภาษามะลายูตลอดประถม
บริบูรณ์”

26 ปีที่ 30 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคม 2552


อย่างไรก็ตาม สิ่งที่คนเขียนเขียนออกมาเป็น ศึ ก ษานั้ น ทางราชการคงทำไม่ ไ ด้ เพราะไม่ มี ค รู ”

หนั ง สื อ กั บ สิ่ ง ที่ ค นอ่ า นและรั บ รู้ ไ ม่ จ ำเป็ น จะต้ อ ง ซึ่งประเด็นปฏิกิริยาแรกต่อข้อเรียกร้อง 7 ข้อผมจะ
ตรงกัน ผู้อ่านอาจจะตีความไปอีกทางหนึ่ง ดังเรา ได้นำเสนอในโอกาสต่อไป
จะพบว่ า ในงานเขียนข้างมลายูปาตานี ก็ยืนยันว่า ถึ ง แม้ ว่ า ต้ น ฉบั บ ข้ อ เรี ย กร้ อ ง 7 ข้ อ ในหอ
ข้อเรียกร้องดังกล่าวไม่ใช่การแบ่งแยกดินแดน ซึ่ง จดหมายเหตุแห่งชาติจะมีสาระสำคัญที่ไม่แตกต่าง
ผมก็เห็นเช่นนัน้ แต่ทางการไทย ตัง้ แต่คณะกรรมการ ต่ า งจากข้ อ เรี ย กร้ อ ง 7 ข้ อ ที่ พ บในแหล่ ง ต่ า งๆ
สอดส่ อ งฯ อ่ า นแล้ ว ก็ เ ข้ า ใจในทั น ที ว่ า “เป็ น การ กระนั้นการกลับไปค้นคว้าเอกสารหลักฐานชั้นต้นมี
แบ่ ง แยกการปกครอง” หรือขณะที่ข้อ 4 เรียกร้อง
ความสำคัญอย่างมากในการทำงานวิชาการ โดย
อุดม บุญประกอบ ประธานคณะกรรมการสอดส่องฯ
เฉพาะอย่ า งยิ่ ง สำหรั บ นั ก เรี ย นประวั ติ ศ าสตร์ ที่ มี
เข้าใจ ว่า “ตามที่เรียกร้องให้มีโรงเรียนชั้นประถม ความจำเป็นอย่างยิ่งและถือเป็นหน้าที่ที่จะต้องตรวจ
สอนภาษามะลายู ” โดยโยนให้ ละม้ า ย จุ ล สมั ย สอบและวิพากษ์ข้อมูลหลักฐาน การกลับไปดูหลัก
ข้ า หลวงตรวจการศึ ก ษาธิ ก าร ภาค 5 ในฐานะ ฐานและอ่านหลักฐานในบริบทของมัน เป็นจุดเริ่ม
กรรมการฯ ตอบ เขาก็บอกว่า “ในการที่จะให้สอน ต้นแรกสุดของการทำงานทางประวัติศาสตร์
บทเรียนตามหลักสูตรเป็นภาษามะลายูในชั้นประถม
รายการอ้างอิง
เฉลิมเกียรติ ขุนทองเพชร. หะยีสุหลง อับดุลกาเดร์ กบฏ...หรือวีรบุรุษแห่งสี่จังหวัดภาคใต้. กรุงเทพฯ :

มติชน, 2548.
ชัยวัฒน์ สถาอานันท์. ความรุนแรงกับการจัดการ “ความจริง” : ปัตตานีในรอบกึ่งศตวรรษ. กรุงเทพฯ :

สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2551.
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. ความเป็นมาของทฤษฎีแบ่งแยกดินแดนในภาคใต้ไทย. กรุงเทพฯ : โครงการ
เอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ ศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ แ ละคณะทำงานวาระทางสั ง คม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549.
นันทวรรณ ภู่สว่าง. ปัญหาชาวไทยมุสลิมในสี่จังหวัดภาคใต้. สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย, 2531.
ปิยนาถ บุนนาค. นโยบายการปกครองของรัฐบาลไทยต่อชาวไทยมุสลิม ในจังหวัดชายแดนภาคใต้
(พ.ศ. 2475-2516). โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ, 2547.
รั ต ติ ย า สาและ. การปฏิสัมพันธ์ระหว่างศาสนิกที่ปรากฏในจังหวัดปัตตานี ยะลา และนราธิวาส.
กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2544.
อ. บางนรา. ปัตตานี อดีต-ปัจจุบัน. กรุงเทพฯ : ชมรมแสงเทียน, 2519.
อารีฟีน บินจิ, ล. ลออแมน และซูฮัยมีย์ อิสมาแอล. ปาตานี... ประวัติศาสตร์และการเมืองในโลกมลายู.
หาดใหญ่: มูลนิธิวัฒนธรรมอิสลามภาคใต้, 2550.
อาห์หมัด ฟาฑี อัล-ฟาฏอนี. ประวัติศาสตร์ปัตตานี. สถาบันสมุทรรัฐเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา, 2543.
อิบรอฮิม ชุกรี. ประวัติศาสตร์ราชอาณาจักรมลายูปะตานี. กรุงเทพฯ : สถาบันสมุทรรัฐเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ศึกษาและซิลค์เวอร์มบุ๊คส์, 2549.
Surin Pitsuwan. Islam and Malay Nationalism: A Case Study of the Malay - Muslim of Southern
Thailand. Bangkok : Thai Khadi Research Institute, 1985.
Whittingham-Jones, Barbara. “Patani - Malay state outside Malaya,” The Straits Times (October 30,

1947) : 8.

27

You might also like