3 โครงสร้างโลก

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 11

Faculty of Education

SUAN SUNANDHA RAJABHAT UNIVERSITY

โครงสร้างโลก
ผู้ช่วยศาสตราจารย์กรกมล ชูช่วย
โครงสร้างโลก

การแบ่งโครงสร้างโลกตามลักษณะทางกายภาพ

การแบ่งโครงสร้างโลกตามองค์ประกอบทางเคมี

สนามแม่เหล็กโลก
โครงสร้างโลกตามลักษณะทางเคมี โครงสร้างโลกตามลักษณะทางกายภาพ

ธรณีภาค (Lithosphere)
เปลือกโลก (Crust)

ฐานธรณีภาค (Asthenosphere)
เนื้อโลก (Mantle)
เมโซสเฟียร์ (Mesosphere)

แก่นชั้นโลกนอก (Outer core)

แก่นโลก (Core)
แก่นโลกชั้นใน (Inner core)

SUAN SUNANDHA RAJABHAT UNIVERSITY


โครงสร้างโลก
นักธรณีวิทยาแบ่งโครงสร้างภายในของโลกออกเป็น 5 ส่วน โดยพิจารณาจากความเร็วของคลื่น P wave
และ S wave ดังนี้
ธรณีภาค (Lithosphere)

ฐานธรณีภาค (Asthenosphere)

เมโซสเฟียร์ (Mesosphere)

แก่นชั้นโลกนอก (Outer core)

แก่นโลกชั้นใน (Inner core)

SUAN SUNANDHA RAJABHAT UNIVERSITY


การแบ่งโครงสร้างโลกตามองค์ประกอบทางเคมี

SUAN SUNANDHA RAJABHAT UNIVERSITY


โครงสร้างโลก
เปลือกโลก (Crust) เป็นผิวโลกชั้นนอก มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็น ซิลิกาไดออกไซด์ และอะลูมิเนียมออกไซด์
เปลือกโลกมหาสมุทร (Oceanic crust)
เปลือกโลกทวีป (Continental crust)
ส่วนใหญ่เป็นหินบะซอลต์ มีองค์ประกอบส่วน
ส่ว นใหญ่ เ ป็ น หิน แกรนิต มี อ งค์ ป ระกอบส่ ว น
ใหญ่ เ ป็ น มี เ หล็ ก แมกนี เ ซี ย ม ซิ ลิ ก อน และ
ใหญ่เป็น ซิลิกอน อะลูมิเนียม และออกซิเจน มี
ออกซิเจน ความหนาเฉลี่ย 5 กิโลเมตร ความ
ความหนาเฉลี่ย 35 กิโลเมตร ความหนาแน่น
หนาแน่น 3 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร
2.7 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร
เปลือกโลกมหาสมุทร

เปลือกโลกทวีป

เมื่อเปลือกโลกทั้งสองชนกัน เปลือกโลกทวีปจะถูกยกตัวขึ้น
ส่วนเปลือกโลกมหาสมุทรจะจมลง และหลอมละลายเป็นแมกมาอีกครั้ง
SUAN SUNANDHA RAJABHAT UNIVERSITY
โครงสร้างโลก
เนื้อโลก (Mantle) คือ ส่วนซึ่งอยู่อยู่ใต้เปลือกโลกลงไปจนถึงระดับความลึก 2,900 กิโลเมตร
เนื้อโลกตอนบนสุด
(Uppermost sphere)
มีสถานะเป็นของแข็ง เป็นฐานรองรับเปลือก
โลกทวี ป และเปลื อ กโลกมหาสมุ ท ร เรี ย ก
เนื้อโลกตอนบน
โดยรวมว่า ธรณีภาค (Lithosphere) มีความ
(Upper mantle)
หนาโดยรวมประมาณ 30 - 100 กิโลเมตร
บางครั้ ง เรี ย ก ว่ า ฐานธรณี ภ าค
(Asthenosphere) อยู่ที่ระดับลึก
100 - 700 กิโลเมตร มีลักษณะเป็น เนื้อโลกตอนล่าง
ของแข็งเนื้ออ่อน อุณหภูมิที่สูงมาก (Lower mantle)
ทาให้แร่บางส่วนหลอมละลายเป็นหิน
มีสถานะเป็นของแข็งที่ระดับลึก 700 - 2,900
หนืด (Magma) เคลื่อนที่หมุนวนด้วย
การพาความร้อน (Convection) กิโลเมตร มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นเหล็ก
แมกนีเซียม และซิลิเกท

SUAN SUNANDHA RAJABHAT UNIVERSITY


โครงสร้างโลก
แก่นโลก (Core) คือส่วนที่อยู่ใจกลางของโลก มีองค์ประกอบหลักเป็นเหล็ก

แก่นโลกชั้นนอก (Outer core)


เป็นเหล็ กในสถานะของเหลว เคลื่ อนที่ หมุ นวนด้วยการพาความร้อ น
(Convection) ที่ระดับลึก 2,900 - 5150 กิโลเมตร เหล็กร้อนเบื้องล่าง
บริ เ วณที่ ติ ด กั บ แก่ น โลกชั้ น ในลอยตั ว สู ง ขึ้ น เมื่ อ ปะทะกั บ แมนเทิ ล
ตอนล่ า งที่ อุ ณ หภู มิ ต่ ากว่ า จึ ง จมตั ว ลง การเคลื่ อ นที่ ห มุ น วนเช่ น นี้
เหนี่ยวนาให้เกิดสนามแม่เหล็กโลก

แก่นโลกชั้นใน (Inner core)


ที่ระดับลึก 5,150 กิโลเมตร จนถึงใจกลางโลกที่ร ะดับลึ ก 6,370
กิโลเมตร ความดันมหาศาลกดทับทาให้เหล็กมีสถานะเป็นของแข็ง

SUAN SUNANDHA RAJABHAT UNIVERSITY


โครงสร้างโลก
การแบ่งโครงสร้างโลกตามองค์ประกอบเคมี

SUAN SUNANDHA RAJABHAT UNIVERSITY


โครงสร้างโลก
สนามแม่เหล็กโลก Earth’s magnetic field

แก่นโลกมีองค์ประกอบหลักเป็นเหล็ก แก่นโลกชั้นใน
(Inner core) มีความกดดันสูงจึงมีสถานะเป็นของแข็ง ส่วนแก่น
ชั้นนอก (Outer core) มีความกดดันน้อยกว่าจึงมีสถานะเป็น
ของเหลวหนืด แก่นชั้นในมีอุณหภูมิสูงกว่าแก่นชั้นนอก พลังงาน
ความร้อนจากแก่นชั้นใน จึงถ่ายเทขึ้นสู่แก่นชั้นนอกด้วยการพา
ความร้อน (Convection) เหล็กหลอมละลายเคลื่อนที่หมุนวน
อย่างช้าๆ ทาให้เกิดการเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้า และเหนี่ยวนา
ให้เกิดสนามแม่เหล็กโลก (The Earth’s magnetic field)

SUAN SUNANDHA RAJABHAT UNIVERSITY


Activity : สนามแม่เหล็กโลก

SUAN SUNANDHA RAJABHAT UNIVERSITY

You might also like