การต่อวงจรแบบอนุกรมและขนาน

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 5

1

การต่อวงจรแบบอนุกรมและแบบขนาน
รายชื่อสมาชิกภายในกลุ่ม
ชื่อจริง………………………………………..สกุล…………………………………….เลขที…่ ……….ชั้น……… หน้าที…่ …………………………………………….
ชื่อจริง………………………………………..สกุล…………………………………….เลขที…่ ……….ชั้น……… หน้าที…่ …………………………………………….
ชื่อจริง………………………………………..สกุล…………………………………….เลขที…่ ……….ชั้น……… หน้าที…่ …………………………………………….
ชื่อจริง………………………………………..สกุล…………………………………….เลขที…่ ……….ชั้น……… หน้าที…่ …………………………………………….
ชื่อจริง………………………………………..สกุล…………………………………….เลขที…่ ……….ชั้น……… หน้าที…่ …………………………………………….
จุดประสงค์ของการทดลอง
1. เพื่อศึกษาปริมาณกระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าที่ต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน
2. เพื่อศึกษาค่าความต่างศักย์ในวงจรไฟฟ้าที่ต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน
3. เพื่อศึกษาค่าความต้านทานรวมของตัวต้านทานที่ต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน
อุปกรณ์ประกอบการทดลอง
1. โทรศัพท์มือถือที่สามารถเข้าอินเทอร์เน็ตได้ 1 เครื่อง/กลุ่ม
วิธีเข้าสู่การทดลอง
1. ใช้โทรศัพท์มือถือที่มีอินเทอร์เน็ตสแกน QR Code หรือเข้าลิงก์ ไปสู่การทดลองเสมือน Circuit Construction Kit: DC

(ลิงก์ shorturl.at/hAY29)
2. กดที่ปุ่ม และเลือกชนิดการทดลองเป็นแบบ Lab
3. จะปรากฏหน้าต่างดังรูป ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
หน้าต่างปรับสิ่งที่แสดงในวงจร
(ปรับให้เหมือนตัวอย่างนี้ด้วย)

หน้าต่างเลือก
หน้าต่างเลือก
ชิ้นส่วนในวงจร
ชิ้นส่วนในวงจร

พื้นที่สีฟ้าแสดง
พื้นที่การต่อวงจร
2

การทดลองตอนที่ 1 วงจรไฟฟ้าที่มีตัวต้านทานต่อกันแบบอนุกรม
คำถามก่อนการทดลอง
1. นักเรียนคิดว่ากระแสไฟฟ้าในวงจรทีม่ ีตัวต้านทานต่อกันแบบอนุกรม จะมีค่าเท่ากันทุกจุดหรือไม่…………………………………………………
2. นักเรียนคิดว่าค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรที่มีตัวต้านทานต่อกันแบบอนุกรมจะมีค่าเท่ากันทุกจุดหรือไม่……………………………………
วิธีการทดลองตอนที่ 1
1. ต่อวงจรซึ่งประกอบไปด้วย ถ่านไฟฉายขนาด 3 V จำนวน 1 ก้อน และตัวต้านทานขนาด 1 Ω, 5 Ω และ 10 Ω อย่างละ 1 ตัว โดยตัว
ต้านทานต่อกันแบบอนุกรมดังรูป

2. ใช้แอมป์มิเตอร์วัดกระแสไฟฟ้าในวงจรแต่ละจุด โดยเริ่มจากจุด A, B, C, D และ E ตามลำดับ แล้วบันทึกค่ากระแสไฟฟ้าที่วัดได้ลงใน


ตารางบันทึกผลการทดลองตอนที่ 1 และตอบคำถามหลังการทดลองตอนที่ 1 ข้อ 1 และ 2

D C B

E A
3

3. ใช้โวลต์มิเตอร์วัดค่าความต่างศักย์ในวงจรไฟฟ้าโดยวัดคร่อมกับตัวต้านทาน 1 Ω, 5 Ω และ 10 Ω ตามลำดับ โดยให้เข็มสีแดงชี้จุดที่


กระแสไฟฟ้าเข้าตัวต้านทาน และเข็มสีดำชี้จุดที่กระแสไฟฟ้าออกจากตัวต้านทานเสมอ หลังจากนั้นบันทึกผลการทดลอง และตอบ
คำถามหลังการทดลองตอนที่ 1 ข้อที่ 3 และ 4

ตารางบันทึกผลการทดลองตอนที่ 1
ตำแหน่ง A B C D E
ปริมาณกระแสไฟฟ้า
(A)

ตำแหน่ง คร่อมตัวต้านทาน คร่อมตัวต้านทาน คร่อมตัวต้านทาน


1Ω 5Ω 10 Ω
ค่าความต่างศักย์
(V)

คำถามหลังการทดลอง
1. กระแสไฟฟ้าในแต่ละจุดมีค่าเท่ากันหรือไม่………………………………………………………………………………………………………
2. กระแสไฟฟ้าแต่ละจุดมีค่าเท่ากับปริมาณใดในวงจร………………………………………………………………………………………….
3. ค่าความต่างศักย์แต่ละจุดมีค่าเท่ากันหรือไม่…………………………………………………………………………………………………….
4. ค่าความต่างศักย์รวมมีค่าเท่ากับหรือใกล้เคียงกับปริมาณใดในวงจร…………………………………………………………………….

สรุปการต่อวงจรแบบอนุกรม
4

การทดลองตอนที่ 2 วงจรไฟฟ้าที่มีตัวต้านทานต่อกันแบบขนาน
คำถามก่อนการทดลอง
1. นักเรียนคิดว่ากระแสไฟฟ้าในวงจรทีม่ ีตัวต้านทานต่อกันแบบขนาน จะมีค่าเท่ากันทุกจุดหรือไม่…………………………………………………
2. นักเรียนคิดว่าค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรที่มีตัวต้านทานต่อกันแบบขนานจะมีค่าเท่ากันทุกจุดหรือไม่……………………………………
วิธีการทดลองตอนที่ 2
1. ต่อวงจรซึ่งประกอบไปด้วย ถ่านไฟฉายขนาด 3 V จำนวน 1 ก้อน และตัวต้านทานขนาด 1 Ω, 5 Ω และ 10 Ω อย่างละ 1 ตัว โดยตัว
ต้านทานต่อกันแบบขนานดังรูป

2. ใช้แอมป์มิเตอร์วัดกระแสไฟฟ้าในวงจรแต่ละจุด โดยเริ่มจากจุด A, B, C, D, E และ F ตามลำดับ แล้วบันทึกค่ากระแสไฟฟ้าที่วัดได้ลง


ในตารางบันทึกผลการทดลองตอนที่ 2 และตอบคำถามหลังการทดลองตอนที่ 2 ข้อ 1 และข้อ 2
C

F E
B

A
5

3. ใช้โวลต์มิเตอร์วัดค่าความต่างศักย์ในวงจรไฟฟ้าโดยวัดคร่อมกับตัวต้านทาน 1 Ω, 5 Ω และ 10 Ω ตามลำดับ โดยให้เข็มสีแดงชี้จุดที่


กระแสไฟฟ้าเข้าตัวต้านทาน และเข็มสีดำชี้จุ ดที่กระแสไฟฟ้าออกจากตัวต้านทานเสมอ หลังจากนั้นบันทึกผลการทดลอง และตอบ
คำถามหลังการทดลองตอนที่ 2 ข้อที่ 3 และ 4

ตารางบันทึกผลการทดลองตอนที่ 2
ตำแหน่ง A B C D E F
ปริมาณ
กระแสไฟฟ้า (A)

ตำแหน่ง คร่อมตัวต้านทาน คร่อมตัวต้านทาน คร่อมตัวต้านทาน


1Ω 5Ω 10 Ω
ค่าความต่างศักย์
(V)

คำถามหลังการทดลอง
1. กระแสไฟฟ้าในแต่ละจุดมีค่าเท่ากันหรือไม่…………………………………………………………………………………………………………………
2. กระแสไฟฟ้าที่แยกไหลในแต่ละเส้นของสายไฟฟ้า เมื่อรวมกันแล้วมีค่าเท่ากับปริมาณใดในวงจร…………..…………………………
3. ค่าความต่างศักย์แต่ละจุดมีค่าเท่ากันหรือไม่………………………………………………………………………………………………………………
4. ค่าความต่างศักย์มีค่าเท่ากับหรือใกล้เคียงกับปริมาณใดในวงจร……………………………………………………………………………………

สรุปการต่อวงจรแบบขนาน

You might also like