Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 3

ผมได้ ใช้ วิธีในการเรียนรูปเเบบต่างๆในการสอบกลางภาคที่ผ่านมา ได้ เเก่ อย่างเเรกผมมีการเรียนรู้ เเบบ growth mindset นัน่

คือผมฝึ กทาโจทย์เเละพัฒนาตัวเองไม่ทะนงตนว่าเก่งจนไม่ต้องอ่านหนังสือเเล้ ว เเละเปิ ดใจให้ กับเนื ้อหาที่ยากเเละหาวิธีการใน


การที่จะทาให้ คะเเนนออกมาดีเพราะเชื่อว่าผมสามารถพัฒนาตนเองได้ (Dweck, 2006) ต่อไปคือ retrieval practice โดยผม
จะเริ่มฝึ กนึกเช่นฝึ กทาโจทย์ข้อสอบเก่าๆ รวมถึงการวาดเเผนภาพหรื อเขียนบันทึกย่อตามความเข้ าใจของตนเองโดยปิ ดหนังสือ
แล้ วเปิ ดหนังสือเพื่อตรวจว่าฝึ กนึกถูกต้ องหรือไม่ (อธิพงศ์ พัฒนเศรษฐพงษ์ , 2560) ต่อไปคือ spaced learning คือหลังจากที่
ผมทบทวนเนื ้อหาที่เรียนของวันนั ้นๆเเล้ วผมจะกลับมาทวนเนื ้อหาอีกรอบในสัปดาห์ถัดไป เพราะเมื่อมีการทบทวนซ ้าหลังจาก
เรียนไปเเล้ วสักช่วงเวลานึงจะทาให้ การลืมเกิดได้ ช้าลง (อธิพงศ์ พัฒนเศรษฐพงษ์ , ม.ป.ป.) เเละวิธีสดุ ท้ ายคือ meaningful
learning คือเมื่อผมทาการฝึ กนึกเเล้ วผมจะพยายามเชื่อมโยงเนื ้อหาเก่ากับเนื ้อหาใหม่ เพราะเนือ้ หาเก่ากับเนื ้อหาใหม่จะมีการ
เชื่อมโยงกันเเละทาให้ การนึกครัง้ ต่อไปง่ายขึ ้น (วนัชพร อุสส่าห์กิจ, 2562) จากการที่ผมได้ ใช้ วิธีการต่างๆเหล่านีแ้ ละการ
จัดการเวลาอย่างเป็ นระบบ ทาให้ ผมสามารถใช้ วิธีการต่างๆให้ ได้ ผลลัพธ์ออกมาดี เช่น สามารถเชื่อมโยงข้ อมูล ได้ ดี จดจา
เนื ้อหาได้ นานขึ ้น ผมจึงคิดว่าวิธีการเตรียมตัวสอบกลางภาคของผมมีความเหมาะสมแล้ ว และสามารถใช้ ได้ จริงทังทางทฤษฎี ้
และทางปฎิบตั ิ และมีประสิทธิภาพสูง แต่อาจสามารถปรับปรุงเรื่องของ retrieval practice ให้ ดีกว่านี ้ได้ เช่น ฝึ กทาโจทย์ที่
ยากมากขึ ้นกว่าเดิมเพื่อทดสอบว่าเราเข้ าใจจริงๆ

การพิจารณาตนเองในแง่ต่างๆตามหลักอภิปัญญา(Metacognition)โดยคานึงถึงปั จจัยตามหลักของ Livingston(1997)


-ปั จจัยเกี่ยวกับตัวเอง: ผมเป็ นคนที่ม่งุ มัน่ และตังใจ
้ ไม่ว่าจะเรื่องการเรียนหรือกิจกรรมเมื่อได้ รับมอบหมายงานผมจะทาให้
ผลลัพธ์ออกมาให้ ดีที่สดุ แต่ผมสามารถแบ่งเวลาได้ ค่อนข้ างดีทาให้ กิจกรรมไม่กระทบกับผลการเรียน และผมยังเป็ นคนที่ชอบ
ช่วยเหลือเพื่อน โดยจะคอยแนะนาเพื่อนเรื่องการเรียนอีกด้ วย
-ปั จจัยเกี่ยวกับงานที่จะทา: การสอบของมหาวิทยาลัยต้ องใช้ เวลาในการเตรี ยมตัวมากกว่าในชันมั ้ ธยมเนื่องจากเนื ้อหามี
ปริมาณที่มากกว่ารวมถึงมีความยากของข้ อสอบที่มากกว่าด้ วย เลยต้ องให้ ความตังใจมากยิ ้ ่งขึ ้นรวมถึงมีความรับผิดชอบเพิ่ม
มากขึ ้นอีกด้ วย
-ปั จจัยเกี่ยวกับแผนการ: ได้ แก่ อ่านล่วงหน้ าก่อนคาบเรียน,ใช้ วิธีการในการในการเตรียมตัวคล้ ายกับตอนสอบปลายภาคแต่
ปรังปรุงจากครัง้ ก่อนให้ เกิดประโยชน์มากขึ ้น โดยต้ องคานึงถึงเวลาที่มีให้ เตรียมตัวก่อนสอบด้ วย

-ปฎิสมั พันธ์ระหว่างตนเองกับงานที่จะทา: เนื่องด้ วยลักษณะนิสยั ของผมเป็ นคนที่ม่งุ มัน่ และตังใจ


้ ดังนั ้นถ้ าผมวางแผนการ
และจัดการเวลาให้ ดี และเข้ าเรียนครบทุกคาบ ผมมัน่ ใจว่าผมสามารถทาคะแนนจากการสอบออกมาตามที่คาดหวังได้
นอกจากนี ้ผมยังเชื่อว่าจะมีเวลาเหลือเพื่อนาไปช่วยเหลือเพื่อนได้ อีกด้ วย
-ปฎิสมั พันธ์ระหว่างงานที่จะทากับแผนการ: ใช้ growth mindsetเพื่อให้ ไม่ย่อท้ อเนื ้อหาที่ยากในระดับมหาวิทยาลัย มี
meaningful learning เพื่อเชื่อมโยงความรู้ที่ยาก มีการทา retrieval practice โดยการทาข้ อสอบเก่า และการฝึ กนึก และ
spaced learning โดยเว้ นช่วงประมาณ 1 สัปดาห์แล้ วค่อยมาทวนเนือ้ หาเรื่องนั ้นๆ
-ปฎิสมั พันธ์ระหว่างแผนการกับตนเอง: แผนการมีความเหมาะสมกับผมเนื่องจากแผนการนี ้ต้ องมีความรับผิดชอบและความ
ใส่ใจและระเบียบวินัยที่สงู จึงคิดว่าผมจะสามารถทาตามแผนการที่ตงั ้ เอาไว้ ได้ อย่างสาเร็จและมีประสิทธิภาพ
-ข้ อเสนอแนะ: อัดเสียงของอาจารย์ผ้ สู อนไว้ เนื่องจากอาจมีเนื ้อหาที่เราจดไม่ทนั หรือฟั งผิดตอนที่เรียนอยู่ในคาบ และเข้ าคาบ
เรียนให้ ครบทุกคาบ นอนหลับให้ เพียงพอเพื่อให้ ร่างกายพร้ อมรับเนือ้ หาในห้ องเรียนได้ อย่างเต็มที่

จากการที่วิธีการของผมที่ดูเป็ นระบบจึงมีเพื่อนหลายๆคนนาวิธีการต่างๆของผมไปใช้ และให้ ความเห็นว่าวิธีการที่ผมใช้ มีความ


เหมาะสมกับคนที่จัดการเวลาได้ ดีอย่างผม แต่ทุกคนที่นาวิธีการเหล่านี ้ไปใช้ ไม่ได้ ทาตามเหมือนกันหมด โดยแต่ละคนจะ
ประยุกต์วิธีการต่างๆให้ เข้ ากับความถนัดของตัวเองและระยะเวลาที่เหลือก่อนสอบ ตัวอย่างเช่น บางคนมีเวลาในการทบทวน
น้ อยก็จะพยายามใช้ วิธีการเรียนแบบเร่งรัดเช่นอ่านหนังสือถึงดึกๆหรื อถึงเช้ า หรือบางคนที่ไม่ชอบการเขียนแผนพังเชื่อมโยง
ความรู้ก็อาจจะใช้ วิธีการเขียนศัพท์ที่เกี่ยวข้ องกับเนื ้อหาแล้ วฝึ กนึกและเชื่อมโยงจากศัพท์เหล่านั ้น สาเหตุที่เพื่อนแต่ละคนใช้
วิธีการที่แตกต่างกันก็เกิดได้ จากหลายสาเหตุ เช่น ลักษณะนิสยั หรือ มีวิธีการเก่าที่สามารถนามาใช้ กับวิธีการเหล่านี ้ และ
สภาพสังคมก็ส่งผลได้ เหมือนกัน และจากคะแนนการสอบกลางภาคที่ผ่านมาคะแนนที่ได้ สร้ างความพึงพอใจกับผมเนื่องจาก
ตรงตามที่ผมคาดหวังไว้ และสามารถกล่าวได้ ว่าวิธีการเตรียมตัวสอบของผมมีประสิทธิภาพ และสามารถนาไปใช้ กับการสอบ
ปลายภาคในครัง้ ถัดไปได้

การเตรี ยมสอบปลายภาคที่จะถึงนีผ้ มจะปรับปรุงจากการวางแผนช่วงกลางภาคโดยเสริมความเข้ าใจมากขึ ้นและลดเวลาที่ใช้


ในการทบทวนแต่ได้ ประสิทธิภาพที่ดีขึ ้น โดยผมจะอ่านเนื ้อหาก่อนเข้ าเรียนทุกครัง้ และพยายามทาความเข้ าใจภายในคาบให้
ได้ มากที่สดุ จะได้ ไม่ต้องเสียเวลามานั่งทบทวนมากและอัดเสียงอาจารย์เอาไว้ เพื่อให้ ไม่พลาดเนื ้อหาที่สาคัญ ผมได้ เพิ่มการ
ตังเป้
้ าหมายเข้ ามาด้ วยโดยทาตามหลัก SMART โดยตังเป้ ้ าหมายว่าควรทาได้ คะแนนในช่วงไหนโดยยึดตามหลักความเป็ น
จริง ชัดเจน และระบุควรทาอะไรบ้ าง (นนทพล ปิ ยะวัฒนเมธา, ม.ป.ป.) โดยเริ่มจากการมี growth mindset ก่อนว่าแม้ การ
สอบกลางภาคครัง้ ที่ผ่านมาจะคะแนนได้ ดีตามที่หวังแต่อย่าหลงระเริง และ เนื ้อหาปลายภาคก็มีระดับความยากมากกว่ากลาง
ภาคค่อนข้ างมากจึงต้ องคอยบอกตนเองให้ ตงใจเพิั้ ่ม ทบทวนเนื ้อหาที่แม่นให้ ดี และ หาวิธีทาความเข้ าใจเนื ้อหาที่ยงั ไม่แม่น
หรือถ้ ายังไม่สามารถเข้ าใจได้ ก็ลองถามอาจารย์ที่ปรึกษา รุ่นพี่หรือเพื่อนเพื่อให้ ความช่วยเหลือ ต่อไปคือการฝึ กทา retrieval
practice ไปพร้ อมๆกับ meaningful learning โดยให้ ทาควบคู่กันมากขึ ้นเพื่อผลลัพธ์ที่ออกมามีประสิทธิภาพที่สดุ เช่น ระหว่าง
การทาข้ อสอบเก่านอกจากจะนึกแค่สิ่งที่โจทย์ถามแต่ให้ นึกถึงเนื ้อหาที่มีส่วนเกี่ยวข้ องในคาถามนั ้นๆด้ วย หรือการฝึ กทา
mindmap แล้ วจากนั ้นหาความเชื่อมโยงว่าเนื ้อหาใน mindmap แต่ละอันสามารถเชื่อมโยงกันได้ อย่างไร และนาวิธีการ
space learning มาใช้ เหมือนในครัง้ ก่อนแต่ในครัง้ นี ้ผมจะมีการปรับเวลาให้ เหมาะสมมากยิ่งขึ ้นเนื่องจากเนื ้อหาที่มากและ
เวลาที่น้อย คือการอ่านเนือ้ หาแล้ วสัปดาห์หน้ าถึงจะอ่านทบทวนอีกครัง้ โดยจะอ่านเนื ้อหาที่ยากให้ บ่อยกว่าเนื ้อหาที่ง่าย
บรรณานุกรม

นนทพล ปิ ยะวัฒนเมธา. (ม.ป.ป.) จะตัง้ เป้าหมายอย่างไรและวิ ธีการให้ไปถึง [เอกสารไม่ได้ ตีพิมพ์]. ภาควิชาศัลยศาสตร์


คณะแพทยศาสตร์ ,มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
วนัชพร อุสส่าห์กิจ. (2562). Class intro - Meaningful Learning [เอกสารไม่ได้ ตีพิมพ์]. ภาควิชาเวชศาสตร์ ฉุกเฉิน
คณะแพทยศาสตร์ ,มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
อธิพงศ์ พัฒนเศรษฐพงษ์ . (ม.ป.ป.). การเรี ยนแบบเว้นช่วง (Spaced Learning) [เอกสารไม่ได้ ตีพิมพ์]. ภาควิชาวิสญ ั ญีวิทยา
คณะแพทยศาสตร์ , มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
อธิพงศ์ พัฒนเศรษฐพงษ์ . (2560). Retrieval Practice (การฝึ กนึก) [เอกสารไม่ได้ ตีพิมพ์]. ภาควิชาวิสญ
ั ญีวิทยา
คณะแพทยศาสตร์ ,มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
อธิพงศ์ พัฒนเศรษฐพงษ์ . (2561). Metacognition (อภิ ปัญญา) [เอกสารไม่ได้ ตีพิมพ์]. ภาควิชาวิสญ ั ญีวิทยา
คณะแพทยศาสตร์ ,มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Dweck, C. S. (2006). Mindset: The new psychology of success. New York: Random House.

You might also like