Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 28

เรื่อง เครื่องให้อาหารปลาอัติโนมัติด้วยพลังงานแสงอาทิตย์พร้อมชุด

กังหันตีน้ำเพิ่มออกซิเจน

Solar powered automatic fish feeder with water turbine to


increase oxygen

เสนอ

ดร.วิชชุพล จริยะมาการ

จัดทำโดย

นาย ณฐกร อ่อนวงศ์ รหัสนักศึกษา 6540101003

Mr. Natakorn Onwong

นาย ธีรยุทธ รัตนวงศ์ รหัสนักศึกษา 6540101006

Mr. Teerayut Rattanawong

นาย ภัทรศักดิ์ วรรณชิต รหัสนักศึกษา 6540101008

Mr. Patharasak Wonnachit

หลักสูตรอุตสาหกรรมบัณฑิต
สาขาวิชาเทคโนโลยีเครื่องกล (ต่อเนื่อง) ปี 2565

รายงานนี้เป็ นส่วนนึงของรายวิชา 11-014-126 (03) สารสนเทศเพื่อการ


ศึกษาค้นคว้าและการเขียนงานทางวิชาการ

ปี ที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2565

วิทยาลัยเทคนิคนราธิวาส มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์

บทคัดย่อ

หัวข้อเรื่อง : เครื่องให้อาหารปลาอัตโนมัติด้วยพลังงานแสง
อาทิตย์พร้อมชุดกังหันตีน้ำเพิ่มออกซิเจน

ผู้ทำโครงงาน : นาย ณฐกร อ่อนวงศ์

: นาย ธีรยุทธ รัตนวงศ์

: นาย ภัทรศักดิ์ วรรณชิต

ปี พ.ศ. : 2566

ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์

วัตถุประสงค์ในการทำโครงงานในครั้งนี้เพื่อการพัฒนา
เครื่องให้อาหารปลาอัตโนมัติด้วยพลังงานแสงอาทิตย์พร้อมชุดกังหันตีน้ำ
เพิ่มออกซิเจนทำงานโดยการหมุนเหวี่ยงอาหารปลาออกและสามารถเพิ่ม
ออกซิเจนในน้ำด้วยกังหันน้ำได้

โดยลักษณะและวิธีการนำเครื่องรุ่นเก่ามาพัฒนาและ
ปรับปรุงบางส่วนให้ดีขึ้นด้วยการเปลี่ยนมาใช้ระบบไฟฟ้ าพลังงานแสง
อาทิตย์และเพิ่มชุดกังหันน้ำเพื่อเพิ่มออกซิเจนในน้ำ
กิตติกรรมประกาศ

การจัดทำโครงงานเรื่อง เครื่องให้อาหารปลาอัตโนมัติด้วย
พลังงานแสงอาทิตย์พร้อมชุดกังหันตีน้ำเพิ่มออกซิเจนสำเร็จไปได้ด้วยดี
เพราะได้รับการอบรมสั่งสอนและได้รับความ อนุเคราะห์จากบรรดา
คณาจารย์แผนกเครื่องกลที่ให้คำปรึกษาในการจัดทำโครงงานครั้งนี้ และ
ขอขอบคุณผู้ร่วมให้คำปรึกษาหรือแนะนำทุกท่าน พร้อมทั้งให้ความ
สนับสนุนด้านเครื่องมือ เครื่องจักรและอุปกรณ์ที่ใช้ในการพัฒนาเครื่องให้
อาหารปลาอัตโนมัติด้วยพลังงานแสงอาทิตย์พร้อมชุดกังหันตีน้ำเพิ่ม
ออกซิเจนจนสำเร็จลุล่วงด้วยดี
สุดท้ายนี้ขอกราบขอบคุณบิดา มารดา ครู-อาจารย์ และผู้ที่ไม่
ได้กล่าวนาม ที่ได้ให้ความรู้ให้การสนับสนุนและเป็ นกำลังใจในการทำ
โครงงานครั้งนี้ด้วยดีตลอดมา

ผู้จัดทำโครงงาน

นาย ณฐกร อ่อนวงศ์

นาย ธีรยุทธ รัตนวงศ์

นาย ภัทรศักดิ์ วรรณชิต


สารบัญ

เรื่อง

บทคัดย่อ

กิตติกรรมประกาศ

สารบัญ

สารบัญตาราง

บทที่ 1 บทนำ

1.1 ความเป็ นมาและความสำคัญ

1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ

1.3 ขอบเขตของโครงการ

1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

1.5 วิธีดำเนินโครงการ

บทที่ 2 ทฤษฏีและโครงการที่เกี่ยวข้อง

2.1 ทฤษฏีการเพาะเลี้ยงปลา

2.2 ทฤษฏีโซล่าเซลล์

2.3 ทฤษฏีการต่อแผงวงจรไฟฟ้ ากระแสตรงกระแสสลับ


2.4 ทฤษฏีการใช้มอเตอร์และสายพาน

2.5 ทฤษฏีการเพิ่มออกซิเจนในน้ำ

2.6 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

สารบัญตาราง

ตารางที่

ตารางที่ 1.1 ระยะเวลาและแผนการดำเนินโครงการ

ตารางที่ 2.1 ทบทวนวรรณกรรม(งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง)


บทที่ 1

บทนำ

1.1 ความเป็ นมาและความสำคัญของโครงการ

ปั จจุบันมีผู้ทำฟาร์มเลี้ยงปลาในจังหวัดนราธิวาสจำนวน
มากมีการเพิ่มขึ้นของอัตราการเลี้ยงปลาในแต่ละพื้นที่ซึ้งมีการทำฟาร์ม
เลี้ยงปลาต้องใช้พี้นที่ขนาดใหญ่หรือพื้นที่เปิ ดเช่นแหล่งน้ำตามธรรมชาติ
หรือตามแม่น้ำทำให้ลำบากในการให้อาหารปลาผู้เลี้ยงปลาต้องใช้เวลา
มากในการให้อาหารปลาซึ่งการให้อาหารในแต่ละครั้งไม่ได้ตามสัดส่วนที่
ปลาต้องการหรือให้ในปริมาณมากซึ่งส่งผลทำให้คุณภาพปลาแย่ลงไม่ได้
ตามขนาดที่ตลาดต้องการและหากให้มากไปก็อาจทำให้น้ำที่เลี้ยงอาจเน่า
เสียได้หากเลี้ยงในพื้นที่เช่นบ่อปลาโดยไม่มีการท่ายเท จากปั ญหาดัง
กล่าวจึงได้มีการศึกษาหาวิธีในการแก้ไขปั ณและหาข้อสรุปจึงได้มีการนำ
ตัวงานโปรเจ็คของ นาย ณฐกร อ่อนวงศ์ หัวหน้าโครงการ ที่เคยมีชิ้น
งานและการทดลองในด้านนี้มาปรับและประยุกต์เพื่อแก้ไขปั ญาหาของ
การทำฟาร์มเลี้ยงปลาโดยเป้ าหมายที่ตั้งไว้คือการลดผลเสียและลดต้นทุน
ในระยะยาว

1.2 วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1.2.1 เพื่อศึกษาและแก้ปั ญหาในการเลี้ยงปลาเพื่อลดต้นทุนในระยะ
ยาว
1.2.2 เพื่อศึกษาและปรับปรุงเครื่องให้อาหารปลาแบบเก่ามาใช้ระบบ
พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อลดต้นทุน
1.2.3 ศึกษาการทำงานของเครื่องให้อาหารปลาแบบเดิมและนำ
ปั ญหาไปวิเคราะห์แก้ไข
1.3 ขอบเขตของโครงการ
1.3.1 เปลี่ยนมาใช้พลังงานสะอาดด้วยโซล่าเซลล์
1.3.2 เพิ่มกังหันตีน้ำเพื่อเพิ่มออกซิเจนในบ่อเลี้ยง
1.3.3 พัฒนาตัวเครื่องให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.4.1 ลดแรงงานในการให้อาหารปลา
1.4.2 ช่วยลดระยะเวลาในการให้อาหารปลา
1.4.3 สามารถให้อาหารปลาได้ตรงตามเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ที่
ต้องการ

กรมประมง (กระทรวงเกษตรและสหกณ์) – อาหารสัตว์น้ำ


………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………
ทฤษฏีการต่อแผงวงจรไฟฟ้ าแบบ AC/DC

ไฟฟ้ ากระแสสลับ (Alternating current) คือ


ไฟฟ้ าที่มีทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้ าไปในทางกลับกัน คือกระแสไฟ
จะไม่มีขั้วไฟฟ้ าว่าเป็ นขั่วบวกหรือขั่วลบ และจะมีทิศทางการไหลที่กลับ
ไปกลับมาอยู่ตลอดเวลา โดยอัตราการเปลี่ยนทิศทางนี้เราเรียกว่าความถี่
ของไฟกระแสสลับ มีหน่วยวัดเป็ นเฮิร์ท(Hz) ซึ่งก็คือจำนวนรอบคลื่นต่อ
หนึ่งวินาที (ไฟบ้าน ในประเทศไทยใช้ความถี่ 50Hz) และภาพลักษณะ
การไหลเราจะเรียกกันว่า Sine Wave นั้นเอง ดังภาพด้านล่างครับ

ไฟฟ้ ากระแสตรง (Direct current) คือ


ไฟฟ้ าที่มีทิศทางการไหลเพียงทิศทางเดียวจากขั้วลบของแหล่งกำเนิด
ไฟฟ้ า แล้วไหลผ่านอุปกรณ์ไฟฟ้ า แล้วกลับเข้าไปยังขั้วบวกของแหล่ง
กำเนิดไฟฟ้ าอีกครั้ง ภาพด้านล่างเป็ นภาพลักษณะรูปคลื่นไฟฟ้ าของ
ไฟฟ้ ากระแสตรง

ทฤษฎีเซลล์แสงอาทิตย์

เซลล์แสงอาทิตย์ หรือ โซลาร์เซลล์ (อังกฤษ: solar cell) หรือ เซลล์


สุริยะ หรือ เซลล์โฟโตโวลตาอิก (Photovoltaic cell) เป็ นอุปกรณ์สาร
กึ่งตัวนำซึ่งหน้าที่แปลงพลังงานแสงหรือโฟตอนเป็ นพลังงานไฟฟ้ า โดยใช้
ปรากฏการณ์โฟโตวอลเทอิก นั่นก็คือ คุณสมบัติของสารเช่น ค่าความ
ต้านทาน แรงดัน และกระแส จะเปลี่ยนไปเมื่อมีแสงตกกระทบ
ปรากฏการณ์ดังกล่าวถูกสาธิตให้ดูครั้งแรกในปี 1839 โดยนักฟิ สิกซ์ชาว
ฝรั่งเศสวัย 19 ปี ชื่อ A.E. Becquerel โดยสาธิตว่า เมื่อแสงตกกระทบ
วัตถุบางอย่าง จะเกิดกระแสไฟฟ้ าขึ้น เขาได้ทดลองโดยการใช้โลหะสอง
ขั้วจุ่มลงในสารละลายอิออน แล้วให้แสงตกกระทบได้แค่ขั้วเดียว จะ
ปรากฏกระแสไฟฟ้ าไหลจากขั้วทั้งสอง แสดงให้เห็นถึงกระแสไฟฟ้ าเกิด
ขึ้นในวัตถุ เมื่อมีแสงกระทบเขายังพบด้วยว่าเมื่อเปลี่ยนสี (ความยาวคลื่น
พลังงาน) ของแสง ปริมาณของกระแสไฟฟ้ าก็เกิดการเปลี่ยนแปลงตามไป
ด้วย

ผู้ที่ สร้างเซลล์แสงอาทิตย์เป็ นคนแรก ในปี 1883 คือ นักวิจัย Charles


Fritts เซลล์แสงอาทิตย์ในยุคแรกนี้ทำจากซีลีเนียม โดยมีประสิทธิภาพ
เพียง 1% เท่านั้น แต่เซลล์แสงอาทิตย์ก็ยังไม่ถูกสร้างขึ้นมาในเชิงพานิชย์
จนกระทั่งใน ปี ค.ศ. 1954 และได้ถูกนำไปใช้เป็ นแหล่งจ่ายพลังงานให้
กับดาวเทียมในอวกาศ เมื่อ ปี ค.ศ. 1959

เซลล์แสงอาทิตย์ คือ สิ่งประดิษฐ์ที่ทำจากสารกึ่งตัวนำ เช่น ซิลิคอน


(Silicon), แกลเลี่ยม อาร์เซไนด์ (Gallium Arsenide), อินเดียม ฟอส
ไฟด์ (Indium Phosphide), แคดเมียม เทลเลอไรด์ (Cadmium
Telluride) และคอปเปอร์ อินเดียม ไดเซเลไนด์ (Copper Indium
Diselenide) เป็ นต้น ซึ่งเมื่อได้รับแสงอาทิตย์โดยตรงก็จะเปลี่ยนเป็ น
พาหะนำไฟฟ้ า และจะถูกแยกเป็ นประจุไฟฟ้ าบวกและลบเพื่อให้เกิดแรง
ดันไฟฟ้ าที่ขั้วทั้งสองของเซลล์แสงอาทิตย์ เมื่อนำขั้วไฟฟ้ าของเซลล์แสง
อาทิตย์ต่อเข้ากับอุปกรณ์ไฟฟ้ ากระแสตรง กระแสไฟฟ้ าจะไหลเข้าสู่
อุปกรณ์เหล่านั้น ทำให้สามารถทำงานได้

ในประเทศไทย เริ่มมีการติดตั้งเซลล์แสงอาทิตย์เพื่อผลิตไฟฟ้ ามาตั้งแต่ปี


2526 จนถึงปี 2553 มียอดติดตั้งรวม 100.39 MW แจกจ่าย
ไฟฟ้ า(เฉพาะเชื่อมกับสายส่งของ กฟผ แล้ว) ทั้งปี 2553 รวม 21.6 GWh
หรือ 0.0134% ของปริมาณความต้องการใช้ไฟฟ้ าทั้งหมด 161,350
GWh โดยการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิต ผลิตไฟฟ้ าได้ 2.2 GWh ผู้ผลิตรายย่อย
19.4 GWh ตามพระราชบัญญัติการพัฒนาพลังงานหมุนเวียน 15 ปี นับ
จากปี 2552 กำหนดเป้ าหมายการใช้พลังงานหมุนเวียนไว้ที่ 20.3% ของ
พลังงานทั้งหมด โดยมีสัดส่วนของพลังงานจากเซลล์แสงอาทิตย์อยู่ที่ 6%
ดังนั้น ตามแผนงาน ในปี 2565 ประเทศไทยต้องมีโรงไฟฟ้ าพลังงานแสง
อาทิตย์ด้วยเซลล์แสงอาทิตย์มีกำลังการผลิตรวม 500 MW ตัวเลขในปี
2554 อยู่ระหว่างดำเนินการติดตั้ง 265 MW และอยู่ระหว่างการ
พิจารณาจาก กฟผ อีก 336 MW โรงไฟฟ้ าที่สร้างที่จังหวัดลพบุรีด้วย
เทคโนโลยี amorphous thin film ต้องใช้แผงเซลล์แสงอาทิตย์ถึง
540,000 ชุด มีกำลังการผลิต 73 MW จะเป็ นโรงไฟฟ้ าพลังงานแสงอา
ทิตย์ระบบโฟโตโวลตาอิคส์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก

ทฤษฏีการใช้มอเตอร์และสายพาน

………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………

โครงงานที่เกี่ยวข้อง

ลำ ชื่องาน วัตถุประสงค์ วิธีการ ผลการ ประเด็น


ดับ วิจัย ทดลอง ปั ญหา
1 เครื่องให้ ให้อาหาร ให้อาหาร เครื่องให้ เครื่องไม่
อาหาร ปลาด้วย ปลาด้วย อาหาร สามารถให้
ปลา พลังงานแสง การ สามารถให้ อาหารได้
อัตโนมัติ อาทิตย์และ ควบคุม อาหารจาก ตรงเวลา
ด้วย ลดต้นทุน ผ่านแอปที่ ที่ไหนก็ได้ตัว หากไม่มี
พลังงาน พร้อมเพิ่ม ลง เครื่องจะ คนคอย
แสง ความสดวก โปรแกรม เตือนหาก ควบคุมจะ
อาทิตย์ ไว้แทน อาหารปลา ต้องเสีย
การตั้ง หมดโดยมี เวลาใน
เวลา เซนเซอร์เป็ น การรอปิ ด
ตัวกำหนด เเละเปิ ด
โดยสามารถ การทำงาน
ให้อาหารได้
ตรงตาม
วัตถุประสงค์
ที่วางไว้
2 การ เพื่อเป็ นการ เครื่องสา สามารถให้ ตัวเครื่อง
พัฒนา พัฒนาเครื่อง มามารถ อาหารปลา ขาดการ
เครื่องต้น ให้อาหาร ให้อาหาร ได้4 ครั้งตาม ทดลองใน
แบบให้ ปลาโดยมี ปลาได้วัน เวลา หน้าฝนซึ่ง
อาหาร พลังงานแสง ละ 4 ครั้ง 07:00,13:00 มีพายุและ
ปลาโดย อาทิตย์เป็ น ครั้ง ,19:00 ลมพัดแรง
พลังงาน พลังงานให้ ละ 1 กิโล 01:00 น.ซึ่ง ตัวเครื่อง
แสง เครื่อง โดยแต่ละ แต่ละครั้งจะ อาจเสีย
อาทิตย์ ควบคุม ครั้งใช้ ปล่อยอาหาร หายได้
เวลา 36 น ได้
าที 36.08 นาที
โดยเฉลี่ย
3 เครื่องให้ ผู้จัดทำมี กำหนด การทดสิบ ความแตก
อาหาร แนวคิดที่จะ เวลาให้ การแจ้ง ต่างของ
ปลา สร้างเครื่อง อาหารได้ เตือนอาหาร อาหารที่
อัตโนมัติ ให้อาหาร ตามที่ หมดผ่าน ให้ในแต่ละ
ปลาเพื่อแก้ กำหนด แอพพบว่า ครั้ง
ปั ญหาที่เกิด โดยให้ จากการ
ขึ้นกับเกษตร อาหาร ทดสอบ 30 ค
กรช แต่ละครั้ง รั้งตัวเครื่องมี
ใช้ ความแม่นยำ
เวลา 10 วิ และใช้งานได้
นาทีโดย จริง
จ่าย
อาหาร
ปลา 30 ค
รั้งจะใช้อา
หานปลา
เฉลี่ย 0.51
กิโลกรัม
4 เครื่อง เพื่อการ นำเครื่อง การทดสอบ ไม่สามารถ
เติม พัฒนาเครื่อง ทดสอบ พบว่ากำลัง ใช้ช่วงพายุ
อากาศ เติมอากาศใน การเพิ่ม ไฟฟ้ าที่ได้ เข้าหรือ
ด้วย น้ำด้วย ออกซิเจน จากเซลล์ ช่วงที่ไม่มี
พลังงาน พลังงานแสง โดยตั้งเอา แสงอาทิตย์ แสงแดดได้
แสง อาทิตย์ ไว้เพื่อ เฉลี่ย
อาทิตย์ สำหรับการ ชาร์จไฟ เท่ากับ 176
สำหรับ เลี้ยงปลาใน จากโซล่า วัตต์และเพิ่ม
การเลี้ยง กระชัง เซลเมื่อ ปริมาณ
ปลาใน เครื่องมี อากาศที่
กระชัง พลังงาน ผิวน้ำได้มาก
จึงเริ่มการ สุด
ทำงาน เท่ากับ 8.42
เครื่อง mg/L ต่อวัน
5 การ เพื่อลดการใช้ กำหนด กำหนด การป้ อน
พัฒนา แรงงานคน ความเร็ว ปริมาณ อาหารของ
เครื่องให้ ประหยัด การหมุน อาหารสัตว์ เครื่อง
อาหาร เวลาและลด ไว้2 ระดับ แล้วนำมาท ทำงานไม่
ปลาแบบ ต้นทุน คือ 33.33 ดลองการจับ สัมพันธ์กัน
ตั้งเวลา และ 46.1 เวลาในการ ทำให้อัตรา
อัตโนมัติ 5rpm แล พ่นอาหาร การพ่นลด
7 ระดับ ะระดับ โดยแต่ละ ลง
การพ่น การทดลอง
เป็ น 7 ระดั จะทำการ
บ(ระดับ 1 ทดลอง 3 ครั้
-7 คือแรง งเมื่อเปรียบ
ลมพ่น เทียบอัตรา
อาหาร การให้
ออกไป) อาหารแต่ละ
ระดับพบว่า
เครื่องมีการ
พ่นอาหาร
ไกลกว่า
กำหนดแต่
สามารถนำ
ไปใช้กับบ่อมี
ขนาดกว้าง
และยาวได้
6 การ เพื่อศึกษา เครื่อง การใช้ใบพัด การ
พัฒนา และพัฒนา กังหันน้ำ วิดน้ำ ควบคุมสั่ง
กังหันน้ำ เครื่องกังหัน เติม แบบ 6 ใบพัด งานผ่าน
เติม น้ำเติม อากาศ ในการ สัญญาณไร้
อากาศ อากาศ พลังงาน ทดลองจะใช้ สายได้ใน
พลังงาน พลังงานแสง แสง กระแส ระยะไม่
แสง อาทิตย์ที่ อาทิตย์ จำนวนน้อย เกิน 100 เ
อาทิตย์ สามารถสั่ง สามารถ กว่าในการ มตร
ควบคุม งานและ สั่งงาน ขับมอร์เตอร์
ผ่าน ควบคุม ผ่าน ให้หมุนด้วย
สัญญาณ ความเร็วรอบ สัญญาณ ความเร็ว
ไร้สาย มอเตอร์ผ่าน ไร้สายได้ รอบที่สูงกว่า
สัญญาณไร้ โดยใช้โซ กังหันน้ำที่ใช้
สายได้ ล่าเซลลล์ แบบ 8 ใบพัด
ขนาด 570 ส่งผลให้
วัตต์เป็ น เครื่องกังหัน
แหล่ง น้ำ
กำเนิด แบบ 6 ใบพัด
พลังงาน สามารถใช้
ไฟฟ้ า เพิ่ม
ออกซิเจนใน
น้ำได้มี
ประสิทธิภา
พมากกว่า
แบบ 8 ใบพัด
7 การ เพื่อออกแบบ มีการ เพลามีค่า เครื่องตีน้ำ
ออกแบบ โครงสร้าง ออกแบบ ความเค้น เติมอากาศ
และ กังหันเติม แผงโซล่า เฉือนสูงสุดที่ แบบ 2 ใบ
พัฒนา อากาศด้วย เซล Poly- ยอมรับได้มี พัดแบบ
กังหัน พลังงานแสง Crystallin ค่า 20MPa ค่ เดิมยังมีน้ำ
เติม อาทิตย์เพื่อ e ขนาด 2 าความเค้น เสียอยู่
อากาศ ออกแบบ 95watt39 ดึงที่จุดคราก
ด้วย ระบบ .5V มี
พลังงาน ควบคุมการ STP6- ค่า 160Mpa
แสง จ่ายกระแส 295/72P ค่าความเค้น
อาทิตย์ ไฟฟ้ าโดยใช้ oly solar อัดที่จุดคราก
พลังงานแสง Panel มี
อาทิตย์ จำนวน ค่า 170MPa
สองแผง
8 เครื่องให้ เพื่อการให้ เครื่องให้ ในสภาพ ตัวเครื่อง
อาหาร อาหารปลา อาหาร อากาศ ไม่สามารถ
และ โดยควบ ปลาโดย เปลี่ยนแปลง ปรับ
เครื่อง อุณหภูมิใน การควบคุ ทำให้ปลา อุณหภูมิใน
ควบคุม บ่อเลี้ยงปลา มอณหภูมิ เติมโตได้ไม่ ช่วงเวลาที่
อุณหภูมิ ได้อย่าง โดยใช้ ตามคาดตัว ร้อนจัด
ในบ่อ เหมาะสม เครื่อง เครื่องปรับ หรือ
เลี้ยงปลา ควบคุม อุณหภูมิใน อุณหภูมิ
อุณหภูมิ บ่อเป็ นตัว สูงได้
ในการ ช่วยในการ
ควบคุปริ ปรับอุณหภูมิ
มาณของ ให้ในน้ำให้
อุณหภูมิ ปลาสามารถ
ในบ่อเลี้ยง เติบโตได้
ปลาเพื่อ อย่างเหมาะ
การเลี้ยง สมได้
ปลาได้
อย่าง
เหมาะ
สมในฤดูที่
มีอากาศ
เปลี่ยนแป
ลง
9 เครื่องให้ เพื่อการให้ นำทุ่นมา จากการทด เครื่องให้
อาหาร อาหารปลา วางไว้ ลอตัวเครื่อง อาหารได้
ปลาบ่อ ได้อย่างทั่วถึง กลางบ่อ สามารถกัก ไม่ตาม
พันธุ์ปลา และใช้ ปลาเพื่อ เก็บเเละนำ ค่าที่ตั้งไว้
นิลแบบ พลังงานแสง ให้ พลังงานจาก ในบางครั้ง
ทุ่นลอย อาทิตย์เป็ น สามารถ แสงอาทิตย์ บางครั้ง
โดย พลังงาน หว่าน มาใช้ได้อย่าง เครื่องก็มี
พลังงาน ทดแทนเพื่อ อาหาร มี การให้
แสง การประหยัด ปลาได้ ประสิทธิภา อาหาร
อาทิตย์ พลังงาน อย่างทั่ว พโดยเครื่อง น้อยกว่าที่
ถึงโดยใช้ ทำงานได้ ควร
ตัวกำหนด ตามจุด เนื่องจาก
ระยะเวลา ประสงค์ที่ตั้ง อาหาร
การหว่าน ไว้ หมดก่อน
ตามระยะ จากการ
เวลาที่ หว่าน
กำหนด อาหาร
และใช้ ปลาในครั้ง
ไฟฟจาก แรกที่มาก
แผงโซล่า เกินไป
เซลล์เป็ น
พลังงาน
10 กังหันน้ำ เพื่อการปรับ โดยเครื่อง กังหันทำงาน เครื่อง
ชัยพัฒนา เพิ่ม ทำงาน ได้ดีเป็ นที่ กังหันอาจ
นวัตกรร ออกซิเจนใน โดยการ ยอมรับ ติดขัดได้
มตามพ น้ำเพื่อการ หมุนปั่ น สามารถ หากมีผัก
ระ บำบัดน้ำ เพื่อเติม บำบัดน้ำเสีย ตบชวา
ราชดำริ อากาศให้ โดยใช้กังหัน หรือตะไคร่
น้ำเสีย หมุนเพิ่ม น้ำไปเกาะ
กลายเป็ น อากาศได้ดี หากไม่
น้ำดี ทำความ
สามารถใช้ สะอาด
บำบัดน้ำ
เสีย
11 ระบบ เครื่องให้ เครื่องให้ จากผลการ ประเด็น
ควบคุม อาหารสัตว์ อาหาร ทดลอง ปั ญหาคือ
เครื่องให้ เลี้ยงทำงาน ควบคุม สามารถให้ สมองกล
อาหาร อัตโนมัติผ่าน ด้วยระบบ อาหารได้ใน หรือแผง
สัตว์เลี้ยง เว็บแอปพลิ แอปพลิ ระยะไกลได้ วงจรมี
อัตโนมัติ เคชั่นโดยที่ เคชั่นจาก ด้วยระบบ ราคาสูง
ผ่านเว็บ สามารถให้ โปรโต ทางไกลผ่าน และซับ
แอปพลิ อาหารได้จาก คอลเอ็ม แอปที่ตั้งค่า ซ้อนหาก
เคชั่นโดย ทุกที่ คิวทีทีเป็ น ไว้ด้วย จะให้
ใช้โปรโต โปรโตคอ โปรแกรม เกษตรกร
คอลเอ็ม ลการส่ง โดยสามารถ นำไปใช้จะ
คิวทีที ข้อความที่ ให้อาหารได้ มีราคา
อิงตาม ตามจุด ต้นทุนที่สูง
มาตรฐาน ประสงค์ที่ตั้ง เกินไปและ
หรือชุด ไว้ ยากต่อ
ของกฎที่ การบำรุง
ใช้สำหรับ รักษา
การ
สื่อสาร
ระหว่าง
เครื่องต่อ
เครื่อง
เซ็นเซอร์
อัจฉริยะ
12 การ เพื่อสะดวก ใช้เครื่อง เครื่อง จากสภาพ
พัฒนา สะบายใน อัตโนมัต สามารถใช้ใด้ อากาศไม่มี
ประสิทธิ การให้อาหา โดยที่ไม่ ตามต้องการ แดดต้องมี
ภาพของ ปลาประหยัด เสียเวลา สมบูรณ์ไม่มี อุปก
เครื่องให้ เวลามากขึ้น เดินไปเปิ ด ปั ญหาติดขัด รณ์ช้วย
อาหาร เสริมต้องง
ปลา เพิ่ม
แบตเตอรี่
13 เครื่องให้ เพื่อการให้ เครื่องให้ ผลการ ประเด็น
อาหาร อาหารปลา อาหาร ทดลอง ปั ญหาคือ
สัตว์เลี้ยง ได้อย่าง สัตว์เลี้ยง สามารถให้ สมองกล
ด้วย รวดเร็วและ ควบคุม อาหารได้ หรือแผง
สมองกล ตรงเวลา ด้วยการ จาก smart วงจรมี
ฝั งตัว ผ่าน smart วางแผง phone จาก ราคาแผง
ผ่าน phone วงจรหรือ ระยะไกลได้ เกินกว่าที่
SMART สมองกล ตรงตามจุด จะนำมาใช้
PHONE โดยตั้ง ประสงค์โดย
โปรแกรม สามาถให้
ผ่านระบบ อาหารได้ตรง
ให้smart เวลาตามเป้ า
phone ส หมาย
ามารถ
ควบคุม
จากระยะ
ไกลได้
14 ระบบกัก เพื่อการนำ ระบบกัก เครื่องสามรถ การติดตั้ง
เก็บ พลังงาน เก็บ กักเก็บ ที่ซับซ้อน
พลังงาน ไฟฟ้ าแปล พลังงาน พลังงานได้ และราคา
ไฟฟ้ า เปลี่ยนไปใช้ ไฟฟ้ าจาก ตัวเซลล์จาก จาก
จากเซลล์ แทนพลังงาน เซลล์แสง แผงโซล่า อุปกรณ์ที่
แสง กลในการนำ อาทิตย์ที่ เซลล์ แผงทำให้
อาทิตย์ ไปใช้งาน ได้มาอัด สามารถรับ ต้องใช้
และอัด ทั่วไป ประจุลง และส่งกำลัง ต้นทุนที่
ประจุ ใน ไฟฟ้ าไปยัง มากในการ
ตาม แบตเตอรี่่ ชุดแปลง ทำงาน
มาตรฐา โดยแปลง พลังงานได้
น พลังงาน
IEC6219 ไฟฟ้ าที่ได้
6 ให้เป็ นก
ระแสสลับ
15 การ การจำลอง การสร้าง จากผล ประเด็น
จำลอง การต่อ แผง ทดลองและ ปั ญหาดัง
คุณลักษ ไฟฟ้ ากระแส จำลองการ เทสระบบ กล่าวคือ
ณะของ สลับโดยนำ ต่อโดยใช้ ไฟฟ้ า หากจะนำ
แผงเซลล์ พลังงานแสง ระบบ สามารถ ตัวแผง
แสง อาทิตย์มา ไฟฟ้ ากระ แปลงพลัง ทดลองไป
อาทิตย์ เป็ นแหล่ง แสสลับ กระแสตรง ใช้จริงต้อง
โดยใช้ พลังงาน โดยใช้ จากแผงโซ เพิ่มแผง
คอนเวอร์ คอนเวอร์ ล่าเซลล์มา เซลล์เพื่อ
เตอร์ดีซี เตอร์ดีซี เป็ นพลังงาน ให้ได้
เป็ นตัว กระแสสลับ ปริมาณที่
แปลง หรือ dc ได้ สามารถ
กำลัง เป็ นที่น่า นำไปใช้ใน
ไฟฟ้ าที่ได้ พอใจ ครัวเรือน
จาก ได้
พลังงาน
แสง
อาทิตย์
16 เครื่องให้ เพื่อการ เปลี่ยน
อาหาร พัฒนาเครื่อง การจ่าย
ปลาอัติ ให้อาหาร พลังงาน
โนมัติ ปลาอัติโนมัติ แบบเก่า
ด้วย แบบเก่าให้ มาเป็ น
พลังงาน มาเป็ นแบบ พลังงาน
แสง พลังงานแสง จากแผงโซ
อาทิตย์ อาทิตย์ ล่าเซลล์
พร้อมชุด และปรับ
กังหันตี เพิ่มกังหัน
น้ำเพิ่ม ตีน้ำเพื่อ
ออกซิเจ เพิ่ม
น ออกซิเจน

You might also like