Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 109

www.vec.go.

th

จัดทำโดย
สำนักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
คูมือการขับเคลื่อนการประกันคุณภาพภายในดานการอาชีวศึกษา
ระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอก

สํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ

สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
คํานํา

คูมือการขับเคลื่อนการประกันคุณภาพภายในดานการอาชีวศึกษา ระหวางระบบการประกันคุณภาพภายใน
กั บ ระบบการประกั น คุ ณ ภาพภายนอก มี เป าหมายที่ สํ าคั ญ คื อ การขั บ เคลื่ อนการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา
ตามเจตนารมณ ข องกฎหมายและระเบี ย บที่ เกี่ ย วขอ ง ไดแ ก พระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษาแห งชาติ (ฉบั บ ที่ 4)
พ.ศ. 2562 กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่องมาตรฐาน
การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561 และประกาศคณะกรรมการสํานักงานรับรองมาตรฐานและรับรองคุณภาพการศึกษา
เรื่องกรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาดานการอาชีวศึกษา
คูมือการขับเคลื่อนการประกันคุณภาพภายในดานการอาชีวศึกษา ระหวางระบบการประกันคุณภาพภายใน
กับ ระบบการประกั น คุณ ภาพภายนอก มี สาระที่สําคัญ ประกอบดวย 1) ระบบการประกัน คุ ณ ภาพการศึ กษา
2) ระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 3) มาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561 4) กรอบแนวทาง
การประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาดานการอาชีวศึกษา 5) ความเชื่อมโยงระหวางมาตรฐานการอาชีวศึกษา
พ.ศ. 2561 กับตัวชี้วัดการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาดานการอาชีวศึกษาและภารกิจหรือกิจกรรมของ
สถานศึ ก ษา 6) ระบบการประกั น คุ ณ ภาพภายนอก 7) ขั้ น ตอนการประกั น คุ ณ ภาพภายนอกสถานศึ ก ษา
8) การรายงานผลการขับ เคลื่อนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และ 9) การวิเคราะห รายงานผลการ
ประเมินตนเอง เพื่อระบุประเด็นที่ตองการใหมีการประเมินผลและติดตามตรวจสอบ
หวั งเป น อย างยิ่ งว าคู มื อ การขั บ เคลื่ อนการประกัน คุ ณ ภาพภายในดานการอาชีว ศึ กษา ระหว างระบบ
การประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกฉบับนี้ เปนกลไกที่สําคัญในการขับเคลื่อนระบบ
การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานตามเจตนารมณของระบบการประกัน
คุณภาพการศึกษาอยางแทจริง

สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
สารบัญ
เรื่อง หนา
1. ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา 1
2. ระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 1
3. มาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561 1
4. กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาดานการอาชีวศึกษา 3
5. ความเชื่อมโยงระหวางมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561 กับตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ
ภายนอกสถานศึกษาดานการอาชีวศึกษาและภารกิจหรือกิจกรรมของสถานศึกษา 8
6. ระบบการประกันคุณภาพภายนอก 84
7. ขั้นตอนการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษา 85
8. การรายงานผลการขับเคลื่อนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 87
9. การวิเคราะหประเด็นของรายงานผลการประเมินตนเอง 89
เอกสารอางอิง 100
ภาคผนวก 101
คําสั่งสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อน
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

การขับเคลือ่ นการประกันคุณภาพภายในและการประกันคุณภาพภายนอกดานการอาชีวศึกษา

1. ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562 มาตรา 47 ระบุใหมีระบบการประกันคุณภาพ
การศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาประกอบดวยระบบการประกันคุณภาพภายในและระบบ
การประกัน คุ ณภาพภายนอก โดยมีสาระที่ สําคัญ คือ ระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกั นคุณ ภาพการศึกษา
ใหเปนไปตามกฎกระทรวง
2. ระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ขอ 3 และ ขอ 4 กําหนดใหสถานศึกษาจัดใหมี
ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ดังนี้
2.1 การกําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาใหเปนไปตามมาตรฐานการศึกษาแตละระดับและ
ประเภทการศึกษาที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการประกาศกําหนด
2.2 การจัดทําแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุงคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
2.3 การดําเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
2.4 การประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
2.5 การติดตามผลการดําเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษาใหมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
2.6 การจั ด ส ง รายงานผลการประเมิ น ตนเองให แ ก ห น ว ยงานต น สั ง กั ด หรื อ หน ว ยงานที่ กํ า กั บ ดู แ ล
สถานศึกษาเปนประจําทุกป
2.7 ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาจากผลการประเมินตนเองและตามขอเสนอแนะของหนวยงาน
ต น สั ง กั ด และผลการประเมิ น คุ ณ ภาพภายนอกเพื่ อ นํ า ไปสู ก ารพั ฒ นาคุ ณ ภาพและมาตรฐานการศึ ก ษา
ของสถานศึกษา
ระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา แสดงดังภาพที่ 1

ภาพที่ 1 แสดงระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

3. มาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561


กฎกระทรวงการประกัน คุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ขอ 3 กําหนดใหสถานศึกษาจัด ระบบประกัน
คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาใหเปนไปตามมาตรฐานการอาชีวศึกษาที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ
ประกาศกําหนด คณะกรรมการการอาชีวศึกษาจึงไดพิจารณามาตรฐานการอาชีวศึกษา เพื่อใชในการจัดการศึกษา
และการประกันคุณภาพการศึกษาดานอาชีวศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ชั้นสูง และการฝกอบรมวิชาชีพ ประกอบดวย 3 มาตรฐาน 9 ประเด็นการประเมิน ดังนี้
3.1 มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค
การจัดการอาชีวศึกษา เปน การจัดการศึกษาเพื่อพัฒ นาผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาให มีความรู
มี ทั ก ษะและการประยุ ก ต ใช เป น ไปตามมาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ อ าชี ว ศึ ก ษาแต ล ะระดั บ การศึ ก ษา และมี คุ ณ ธรรม
จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค ประกอบดวยประเด็นการประเมิน ดังนี้
3.1.1 ดานความรู
ผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีความรูเกี่ยวกับขอเท็จจริง ตามหลักการ ทฤษฎี และแนวปฏิบัติตาง ๆ
ที่เกี่ยวของกับสาขาวิชาที่เรียน หรือทํางาน โดยเนนความรูเชิงทฤษฎี และหรือขอเท็จจริง เปนไปตามมาตรฐาน
คุณวุฒิอาชีวศึกษาแตละระดับการศึกษา
3.1.2 ดานทักษะและการประยุกตใช
ผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีทักษะที่จําเปนในศตวรรษที่ 21 ทักษะวิชาชีพ และทักษะชีวิต
เปนไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแตละระดับการศึกษา สามารถประยุกตใชในการปฏิบัติงาน และการดํารงชีวิต
อยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุขตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีสุขภาวะที่ดี
3.1.3 ดานคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค
ผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ เจตคติและกิจนิสัยที่ดี
ภูมิใจและรักษาเอกลักษณของชาติไทย เคารพกฎหมาย เคารพสิทธิของผูอื่น มีความรับผิดชอบตามบทบาทหนาที่
ของตนเองตามระบอบประชาธิ ป ไตยอั น มี พ ระมหากษั ต ริ ย ท รงเป น ประมุ ข มี จิ ต สาธารณะ และมี จิ ต สํ า นึ ก
รักษสิ่งแวดลอม
3.2 มาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา
สถานศึกษามีครูที่มีคุณวุฒิการศึกษาและจํานวนตามเกณฑที่กําหนด ใชหลักสูตรฐานสมรรถนะ
ในการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ และบริหารจัดการทรัพยากรของสถานศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ
มีความสําเร็จในการดําเนินการตามนโยบายสําคัญของหนวยงานตนสังกัดหรือหนวยงานที่กํากับดูแลสถานศึกษา
ประกอบดวยประเด็นการประเมิน ดังนี้
3.2.1 ดานหลักสูตรอาชีวศึกษา
สถานศึ ก ษาใช ห ลั ก สู ต รฐานสมรรถนะที่ ส อดคล อ งกั บ ความต อ งการของผู เรี ย น ชุ ม ชน
สถานประกอบการ ตลาดแรงงาน มีการปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือกําหนดรายวิชาใหม หรือกลุมวิชาเพิ่มเติมใหทัน
ตอการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความตองการของตลาดแรงงาน โดยความรวมมือกับสถานประกอบการ
หรือหนวยงานที่เกี่ยวของ

3.2.2 ดานการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา
สถานศึ ก ษามี ค รู ที่ มีคุ ณ วุฒิ ก ารศึ กษาและมีจํ านวนตามเกณฑ ที่ กํ าหนด ได รับ การพั ฒ นา
อยางเปนระบบตอเนื่อง เพื่อเปนผูพรอมทั้งดานคุณธรรม จริยธรรมและความเขมแข็งทางวิชาการและวิชาชีพ
จั ด การเรี ย นการสอนที่ เน น ผู เรี ย นเป น สํ า คั ญ ตอบสนองความต อ งการของผู เรี ย นทั้ งวัย เรีย นและวั ย ทํ างาน
ตามหลั กสู ตร มาตรฐานคุ ณ วุฒิ อาชีวศึ กษา แต ล ะระดับ การศึกษา ตามระเบียบหรือขอบังคับ เกี่ย วกับ การจัด
การศึ กษาและการประเมิ น ผลการเรี ย นของแตล ะหลักสูตร สงเสริม สนับ สนุน กํากับ ดูแลใหครูจัดการเรีย น
การสอนรายวิชาใหถูกตอง ครบถวน สมบูรณ
3.2.3 ดานการบริหารจัดการ
สถานศึ ก ษาบริ ห ารจั ด การบุ ค ลากร สภาพแวดล อ ม ภู มิ ทั ศ น อาคารสถานที่ ห อ งเรี ย น
หองปฏิ บัติการ โรงฝกงาน ศูนยวิทยบริการ สื่อ แหลงเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ ครุภัณฑ และงบประมาณ
ของสถานศึกษาที่มีอยูอยางเต็มศักยภาพและมีประสิทธิภาพ
3.2.4 ดานการนํานโยบายสูการปฏิบัติ
สถานศึกษามี ความสําเร็จในการดําเนินการบริห ารจัดการสถานศึกษา ตามนโยบายสําคั ญ
ที่หนวยงานตนสังกัดหรือหนวยงานที่กํากับดูแลสถานศึกษามอบหมาย โดยความรวมมือของผูบริหาร ครู บุคลากร
ทางการศึกษาและผู เรีย น รวมทั้ งการชว ยเหลื อ สงเสริม สนั บ สนุน จากผู ป กครอง ชุมชน สถานประกอบการ
และหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
3.3 มาตรฐานที่ 3 การสรางสังคมแหงการเรียนรู
สถานศึกษารวมมือกับบุคคล ชุมชน องคกรตาง ๆ เพื่อสรางสังคมแหงการเรียนรู มีการจัดทํ า
นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานสรางสรรค งานวิจัย ประกอบดวยประเด็นการประเมิน ดังนี้
3.3.1 ดานความรวมมือในการสรางสังคมแหงการเรียนรู
สถานศึ ก ษามี ก ารสร า งความร ว มมื อ กั บ บุ ค คล ชุ ม ชน องค ก รต า ง ๆ ทั้ ง ในประเทศ
และตางประเทศในการจัดการศึกษา การจัดทรัพยากรทางการศึกษา กระบวนการเรียนรู การบริการทางวิชาการ
และวิชาชีพโดยใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อพัฒนาผูเรียนและคนในชุมชนสูสังคมแหงการเรียนรู
3.3.2 ดานนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานสรางสรรค งานวิจัย
สถานศึกษาสงเสริมสนับสนุนใหมีการจัดทํานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานสรางสรรค งานวิจัย
โดยผู บ ริห าร ครู บุ ค ลากรทางการศึ ก ษา ผู เรี ย น หรื อ ร ว มกั บ บุ ค คล ชุ ม ชน องค ก รต าง ๆ ที่ ส ามารถนํ า ไป
ใชประโยชนไดตามวัตถุประสงค และเผยแพรสูสาธารณชน

4. กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาดานการอาชีวศึกษา
สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ไดประกาศกรอบแนวทางการประกันคุณภาพ
ภายนอกสถานศึกษา ดานการอาชีวศึกษา ลงวันที่ 28 เมษายน 2566 โดยกําหนดกรอบแนวทางการประกัน
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา ดานการอาชีวศึกษา จํานวน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด ไดแก

4.1 มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค (4 ตัวชี้วัด)


4.1.1 ตัวชี้วัดที่ 1.1 ความรูของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา
คําอธิบาย
ผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามี ความรูเกี่ยวกั บขอเท็จจริงตามหลั กการทฤษฎี และแนวปฏิ บั ติ
ตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับสาขาวิชาที่เรียนหรือทํางาน โดยเนนความรูเชิงทฤษฎีหรือขอเท็จจริงเปนไปตามมาตรฐาน
คุณวุฒิอาชีวศึกษาแตละระดับการศึกษา โดยมีเรื่องพิจารณา ดังนี้
1) ผูสําเร็จการศึกษามีความรูเชิงทฤษฎี ความรูในวิชาชีพ และคุณลักษณะที่พึงประสงคเปนไป
ตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแตละระดับการศึกษา
2) ผูสําเร็จการศึกษาไดรับการทดสอบ 2.1) สมรรถนะภาษาอังกฤษ (English Competency)
2.2) สมรรถนะการใชดิจิทัล (Digital literacy) (ถามี)
4.1.2 ตัวชี้วัดที่ 1.2 ทักษะและการนําไปประยุกตใชของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา
คําอธิบาย
ผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีทักษะที่จําเปนในศตวรรษที่ 21 ทักษะวิชาชีพ และทักษะชีวิต
เปนไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแตละระดับการศึกษา สามารถประยุกตใชในการประกอบอาชีพเปนไปตาม
เกณฑสมรรถนะหลักสูตรของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สามารถแขงขันได เปนผูประกอบการหรือ
ประกอบอาชีพอิสระ มีผลการประเมินผานมาตรฐานวิชาชีพ มีผลลัพธการเรียนรูตามกรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษา
แหงชาติพรอมทั้งการดํารงชีวิตอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุขตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีสุขภาวะที่ดี
4.1.3 ตั ว ชี้ วั ด ที่ 1.3 คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม และคุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ งประสงค ข องผู สํ าเร็จ การศึ ก ษา
อาชีวศึกษา
คําอธิบาย
ผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ มีเจตคติและกิจนิสัย
ที่ดี ภูมิใจและรักษาเอกลักษณของชาติไทย เคารพกฎหมาย เคารพสิทธิของผูอื่น มีความรับผิดชอบตามบทบาท
หนาที่ของตนเองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีจิตสาธารณะและมีจิตสํานึก
รักษาสิ่งแวดลอม
4.1.4 ตัวชี้วัดที่ 1.4 ผลสัมฤทธิ์ของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา
คําอธิบาย
สถานศึกษามีการสงเสริมให ผูสําเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่หลักสู ตรกํ าหนดแต ละระดั บ
เมื่อเทียบกับแรกเขา โดยผูสําเร็จการศึกษาแตละระดับมีงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระหรือศึกษาตอ และตอง
สอดคล องกั บ สาขาที่ สําเร็จ การศึ กษาภายใน 1 ปและผูป ระกอบการมีความพึงพอใจตอคุณ ภาพของผูสําเร็จ
การศึกษา โดยมีระบบการจัดการขอมูลและสารสนเทศที่สอดคลองกับเรื่องดังกลาวขางตน (โดยเก็บขอมูลเฉพาะ
ผูสําเร็จการศึกษา และนักศึกษาภาคปกติและระบบทวิภาคีทั้งระดับ ปวช. และ ปวส.)

4.2 มาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (4 ตัวชี้วัด)


4.2.1 ตัวชี้วัดที่ 2.1 หลักสูตรอาชีวศึกษา
คําอธิบาย
สถานศึ ก ษาใช ห ลั ก สู ต รฐานสมรรถนะที่ ส อดคล อ งกั บ ความต อ งการของผู เ รี ย น ชุ ม ชน
สถานประกอบการ ตลาดแรงงาน มีการปรับปรุงรายวิชาเดิมหรือกําหนดรายวิชาใหมหรือกลุมวิชาเพิ่มเติมใหทัน
ตอการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความตองการของตลาดแรงงาน โดยความรวมมือกับสถานประกอบการ
หรือหนวยงานที่เกี่ยวของ โดยสถานศึกษาตองมีการดําเนินการ ดังตอไปนี้
1) มี ก ารจั ด ทํ าแผนการจั ด การเรี ย นรู สู ก ารปฏิ บั ติ ที่ เน น ผู เรี ย นเป น สํ า คั ญ และนํ า ไปใช ใน
การจัดการเรียนการสอน
2) มีการบริหารจัดการหลักสูตรอยางเปนระบบและพัฒนาหลักสูตรสอดคลองกับความตองการ
ของผู เรี ย น สั งคม สถานประกอบการ และส งเสริ ม ให ค รู ผู ส อนพั ฒ นาหลั ก สู ต รฐานสมรรถนะตามรายวิ ช า
ใหสอดคลองกับอาชีพ
3) มีระบบการสงเสริมใหผูเรียนไดฝกประสบการณทักษะวิชาชีพหรือฝกอาชีพในการจัดการ
อาชี ว ศึ ก ษาระบบทวิ ภ าคี ห รื อ การจั ด การเรี ย นรู ที่ บู ร ณาการกั บ การทํ า งาน (Work-Integrated Learning)
หรือการจัดการเรียนรูแบบตอเนื่อง (Block Course) มีการเตรียมความพรอมดานทักษะชีวิตและทั กษะปฏิบั ติ
ของผูเรียนกอนฝกประสบการณวิชาชีพ มีการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการฝกประสบการณทักษะวิชาชีพ
หรือฝกอาชีพรวมกับสถานประกอบการ
4.2.2 ตัวชี้วัดที่ 2.2 การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา
คําอธิบาย
สถานศึ ก ษามี ค รู ที่ มี คุ ณ วุ ฒิ ก ารศึ ก ษาและมี จํ านวนตามเกณฑ ที่ กํ าหนด ได รั บ การพั ฒ นา
อยางเปนระบบตอเนื่องเพื่ อเปน ผูพรอมทั้ งดานคุณธรรม จริยธรรม และความเขมแข็งทางวิชาการและวิชาชีพ
จั ด การเรี ย นการสอนที่ เน น ผู เรี ย นเป น สํ า คั ญ ตอบสนองความต อ งการของผู เรี ย นทั้ งวัย เรีย นและวั ย ทํ างาน
ตามหลั กสู ต ร มาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ อาชี วศึ กษาแตล ะระดั บ การศึกษา ตามระเบี ย บหรือขอบั งคับ เกี่ย วกับ การจัด
การศึกษาและการประเมินผลการเรียนของแตละหลักสูตร รวมทั้งสงเสริม สนับสนุน กํากับ ดูแลใหครูจัดการเรียน
การสอนรายวิชาใหถูกตอง ครบถวน สมบูรณ โดยมีเรื่องพิจารณา ดังนี้
1) สถานศึกษามีการออกแบบการจัดการเรียนรูที่เนนฐานสมรรถนะ จัดใหมีโครงสรางพื้นฐาน
ดานเทคโนโลยีดิจิทัล และสนับสนุนการใชเทคโนโลยีเพื่อสงเสริมการเรียนรูและพัฒนานวัตกรรม
2) สถานศึกษามีการจัดการเรียนรูที่มุงเนนคุณภาพและมีการบริหารจัดการชั้นเรียนที่เหมาะสม
รวมถึงการจัดหาวัสดุ อุปกรณ เครื่องมือ ครุภัณฑที่จําเปนและสอดคลองกับการทํางานในสถานประกอบการ
3) สถานศึกษามีระบบการวัดและประเมินผลการเรียนรูที่หลากหลาย และมีการนําผลประเมิน
การเรียนรูมาปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรอยางตอเนื่องเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา

4.2.3 ตัวชี้วัดที่ 2.3 การบริหารจัดการสถานศึกษา


คําอธิบาย
สถานศึ ก ษาบริ ห ารจั ด การบุ ค ลากร สภาพแวดล อ ม ภู มิ ทั ศ น อาคาร สถานที่ ห อ งเรี ย น
ห อ งปฏิ บั ติ ก าร โรงฝ ก งาน ฟาร ม ศู น ย วิ ท ยบริ ก าร สื่ อ แหล ง เรี ย นรู เทคโนโลยี ส ารสนเทศ ครุ ภั ณ ฑ และ
งบประมาณของสถานศึกษาที่มีอยูอยางเต็มศักยภาพและมีประสิทธิภาพ ซึ่งมีการบริหารจัดการอยางเปนระบบ
มีการบริหารจัดการทรัพยากรของสถานศึกษาที่มีอยูอยางเต็มศักยภาพและมีประสิทธิภาพและนําผลการประกัน
คุณภาพภายนอกไปใชเพื่อพัฒนาสถานศึกษาอยางเปนรูปธรรม โดยสถานศึกษาตองมีคุณลักษณะ ดังตอไปนี้
1) มีการกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ เอกลักษณ และอัตลักษณของสถานศึกษาโดยการมีสวนรวม
ของผู บ ริ ห ารสถานศึ ก ษาและผู มี ส ว นได ส ว นเสี ย ทบทวน มี ก ารตรวจสอบการดํ าเนิ น งานของสถานศึ ก ษา
ที่สอดคลองกับวิสัยทัศน พันธกิจ เอกลักษณ อัตลักษณ และประชาสัมพันธหรือสื่อสารตอสาธารณชนผานชองทาง
ที่หลากหลาย
2) ผูบริหารสถานศึกษาเปนผูนําเชิงความคิดและเชิงกระบวนการในการจัดทําแผนโดยใชหลัก
ธรรมาภิบาลและสรางกระบวนการทํางานเปนทีม
3) มีการบริหารจัดการระบบขอมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการสถานศึกษา นําเทคโนโลยี
ดิจิทัลมาใชในการบริหารงาน และสามารถเขาถึงระบบอินเทอรเน็ตความเร็วสูงตามบริบทของสถานศึกษา
4) มีการจัดสภาพแวดลอมดานอาคาร สถานที่ โรงฝกงาน ฟารม พื้นที่การเรียนรูและสิ่งสนับสนุน
การเรียนรูใหมีความปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ
5) มี แหล งเรี ย นรู ในสถานศึ กษาที่ ให บ ริก ารสนั บ สนุน การเรีย นรูของผูเรีย นอยางเพี ย งพอ
และมีคุณภาพ
6) มีระบบการคัดกรอง ดูแล ชวยเหลือผูเรียน และมีการกําหนดโครงการ กิจกรรม เพื่อสงเสริม
สนับสนุนใหผูเรียนมีวินัย คุณธรรม จริยธรรม คานิยมหรือคุณลักษณะที่ดีตามที่สถานศึกษากําหนดและสอดคลอง
กับวิถีประชาธิปไตย
7) ครูและบุคลากรของสถานศึกษาได รับ การพัฒ นาทางวิช าการ และวิชาชีพอยางตอเนื่อง
สม่ําเสมอเพื่อความกาวหนาในอาชีพ และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูและประสบการณท่ีเกี่ยวกับการจัดการศึกษา
รวมกันระหวางครู บุคลากรภายในสถานศึกษาและสถานประกอบการอยางตอเนื่อง
8) นําผลการประกันคุณภาพภายนอกไปใชเพื่อพัฒนาสถานศึกษาอยางเปนรูปธรรม
4.2.4 ตัวชี้วัดที่ 2.4 การนํานโยบายสูการปฏิบัติ
คําอธิบาย
สถานศึ กษามี ความสํ า เร็จ ในการดําเนิ น การบริห ารจั ดการสถานศึ ก ษาตามนโยบายสํ าคั ญ
ที่หนวยงานตนสังกัดหรือหนวยงานที่กํากับดูแลสถานศึกษามอบหมาย โดยความรวมมือของผูบริหาร ครู บุคลากร
ทางการศึกษา และผูเรียน รวมทั้ งการชวยเหลือ สงเสริม สนั บ สนุ น จากผูปกครอง ชุมชน สถานประกอบการ
และหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐและภาคเอกชนอยางเปนรูปธรรมอยางนอย 3 เรื่อง จาก 9 เรื่อง ตอไปนี้

1) การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
2) การจัดการเรียนรูแบบตอเนื่อง (Block Course)
3) การสรางและพัฒนาผูประกอบการ และกําลังแรงงานในภาคเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ
การพั ฒ นาสมรรถนะอาชี พที่ ส อดคล องกั บ ความถนัด ความสนใจ โดยการ Re-skill Up-skill และ New skill
พรอมทั้งสรางชองทางอาชีพในรูปแบบที่หลากหลายใหครอบคลุมผูเรียนทุกกลุมเปาหมายรวมทั้งผูสูงอายุ
4) ศู น ย บ ม เพาะผู ป ระกอบการหรื อ กลุ ม เกษตรกรอั จ ฉริ ย ะ (Smart Farmer) หรื อ กลุ ม
ยุวเกษตรกรอัจฉริยะ (Young Smart Farmer)
5) การขับเคลื่อนการผลิตและพัฒ นากําลังคนตามกรอบคุณวุฒิ แหงชาติ หรือกรอบคุณวุฒิ
อางอิงอาเซียน หรือมาตรฐานสากล หรือมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ
6) การจัดการเรียนการสอน Coding ในสถานศึกษา
7) การจัดการศึกษาเพื่อสรางโอกาสและความเสมอภาค เชน อาชีวะอยูประจํา อาชีวะสราง
ชางฝมือตามแนวทางโรงเรียนพระดาบส อาชีวะเพื่อคนพิการ เปนตน
8) การจัดกิจกรรมเพื่อชวยเหลือชุมชนและสังคม เชน กิจกรรมจิตอาสา เปนตน
9) นโยบายอื่น ๆ ที่สํ าคัญ ตามที่หน วยงานตน สั งกั ดหรือหน วยงานที่กํากับ ดูแลสถานศึกษา
มอบหมาย หรืออื่น ๆ
4.3 มาตรฐานที่ 3 การสรางสังคมแหงการเรียนรู (2 ตัวชี้วัด)
4.3.1 ตัวชี้วัดที่ 3.1 ความรวมมือในการสรางสังคมแหงการเรียนรู
คําอธิบาย
สถานศึกษามีการสรางความรวมมือกับบุคคล ชุมชน องคกรตาง ๆ ในการจัดการศึกษา การจัด
ทรัพยากรทางการศึกษา กระบวนการเรียนรู การถายทอดเทคโนโลยี การบริการทางวิชาการและวิชาชีพโดยใช
เทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อพัฒนาผูเรียนและคนในชุมชนสูสังคมแหงการเรียนรู โดยมีเรื่องพิจารณา ดังนี้
1) สถานศึกษามีความรวมมือกับสถานศึกษา หรือสถาบันการศึกษาอื่น หรือสถานประกอบการ
หรือหนวยงานภาครัฐ หรือเอกชน เพื่อพัฒนาทักษะทางวิชาชีพใหกับผูเรียน
2) สถานศึกษามีการส งเสริม สนั บสนุน การจัดทําโครงการหรือกิจกรรมที่สงเสริมใหผูเรีย น
ไดทําความรวมมือกับชุมชน สังคม ทองถิ่น และกลุมเครือขายที่เกี่ยวของในการระดมทรัพยากรจากแหลงตาง ๆ
3) สถานศึกษามีสวนรวมกับภาคีเครือขายในการจัดกิจกรรมตาง ๆ ภายในชุมชน ทองถิ่น หรือ
พื้ น ที่ ให บ ริ ก ารของสถานศึ ก ษา ส งเสริ ม การมี งานทํ าให กั บ ผู เรี ย น สร างความร ว มมื อ กั บ ผู มี ส ว นได ส ว นเสี ย
จัดกระบวนการเรียนรูที่บูรณาการกับการทํางาน การบริการทางวิชาการและวิชาชีพ โดยใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม
เพื่อพัฒนาผูเรียนและคนในชุมชนสูสังคมแหงการเรียนรู ใหมีศักยภาพและความเขมแข็ง

4.3.2 ตัวชี้วัดที่ 3.2 นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานสรางสรรค และงานวิจัย


คําอธิบาย
ผูบริหารสถานศึกษาสงเสริมสนับสนุนใหมีการจัดทํานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานสรางสรรค และ
งานวิจัย โดยครู ผูเรียน หรือรวมกับบุคคล ชุมชน องคกรตาง ๆ ที่สามารถนําไปใชประโยชนไดตามวัตถุประสงค
และเผยแพรสูสาธารณชน

5. ความเชื่อมโยงระหวางมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561 กับตัวชี้วัดการประกันคุณ ภาพภายนอก


สถานศึกษาดานการอาชีวศึกษาและภารกิจหรือกิจกรรมของสถานศึกษา
เพื่อเปนการเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับการประกันคุณภาพภายนอก จึงไดกําหนด
ความเชื่อมโยงระหวางมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561 กับตัวชี้วัดการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษาและภารกิจหรือกิจกรรมของสถานศึกษา แสดงดังตารางที่ 1-3
9
ตารางที่ 1 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอก
มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
1 มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานที่ 1
คุณลักษณะของผูสําเร็จ คุณลักษณะของผูสําเร็จ
การศึกษาอาชีวศึกษา การศึกษาอาชีวศึกษา
ที่พึงประสงค ที่พึงประสงค
1.1 ดานความรู ตัวชี้วัดที่ 1.1 ความรู 1. การพัฒนาสมรรถนะ การวางแผน ผลผลิต รายงานผลสัมฤทธิ์
ของผูสําเร็จการศึกษา ผูสําเร็จการศึกษาในหมวด สถานศึกษามีการวางแผน จํานวนผูสําเร็จ ทางการเรียนใน
อาชีวศึกษา วิชาสมรรถนะแกนกลาง พัฒนาสมรรถนะผูส ําเร็จ การศึกษามีความรู หมวดวิชาสมรรถนะ
การศึกษาในหมวดวิชา ในหมวดวิชาสมรรถนะ แกนกลางในภาพรวม
สมรรถนะแกนกลาง แกนกลางตามเกณฑ ของสถานศึกษา
การดําเนินการตามแผน การการวัดและ และจําแนกตาม
สถานศึกษามีการพัฒนา ประเมินผลที่หลักสูตร ประเภทวิชา
สมรรถนะผูสําเร็จการศึกษา กําหนด สาขาวิชา และระดับ
ในหมวดวิชาสมรรถนะ ผลลัพธ การศึกษา
แกนกลาง รอยละของผูสําเร็จ
การติดตามและประเมินผล การศึกษาที่มี
สถานศึกษาติดตามและ ผลสัมฤทธิ์ทางการ
ประเมินผลการดําเนินการ เรียนในหมวดวิชา
10
ตารางที่ 1 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอก
มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
พั ฒ นาสมรรถนะผู สํ า เร็ จ สมรรถนะแกนกลาง
ก ารศึ ก ษ าใน ห ม ว ด วิ ช า ตามเกณฑการ
สมรรถนะแกนกลาง วัดและประเมินผล
การปรับปรุงและพัฒนา ไมต่ํากวา 2.00
สถานศึกษานําผลการพัฒนา ผลสะทอน
สมรรถนะผูสําเร็จการศึกษา ผลที่เกิดจากการ
ในหมวดวิชาสมรรถนะ ดําเนินการพัฒนา
แกนกลางไปใชในการพัฒนา สมรรถนะผูสําเร็จ
ผูสําเร็จการศึกษาใหมี การศึกษาในหมวดวิชา
คุณภาพสูงขึ้น สมรรถนะแกนกลาง
ที่ตอเนื่องจากการ
ดําเนินงานในเชิง
คุณภาพใน
- ดานนโยบาย
- ดานวิชาการ
- ดานเศรษฐกิจ
- ดานสังคม
11
ตารางที่ 1 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอก
มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
- ดานสิ่งแวดลอม หรือ
ด านอื่ น ๆ ตามบริ บ ท
ของสถานศึกษา
2.การประเมิ น มาตรฐาน การวางแผน ผลผลิต รายงานผลการ
วิชาชีพ สถานศึกษามีการวางแผน จํานวนผูสําเร็จ ประเมินมาตรฐาน
ในการประเมินมาตรฐาน การศึกษาที่เขารับ วิชาชีพในภาพรวม
วิชาชีพใหกับผูสําเร็จ การประเมินมาตรฐาน ของสถานศึกษา
การศึกษา วิชาชีพ และจําแนกตาม
การดําเนินการตามแผน ผลลัพธ ประเภทวิชา
สถานศึกษามีการดําเนินการ รอยละของผูสําเร็จ สาขาวิชา และระดับ
ประเมินมาตรฐานวิชาชีพ การศึกษาผานการ การศึกษา
ใหกับผูสําเร็จการศึกษา ประเมินมาตรฐาน
การติดตามและประเมินผล วิชาชีพครั้งแรก
สถานศึกษาติดตามและ ผลสะทอน
ประเมินผลการดําเนินการ ผลที่เกิดจากการ
ประเมินมาตรฐานวิชาชีพ ดําเนินการประเมิน
ของผูสําเร็จการศึกษา มาตรฐานวิชาชีพให
12
ตารางที่ 1 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอก
มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
การปรับปรุงและพัฒนา กับผูสําเร็จการศึกษา
สถานศึกษานําผลการประเมิน
ที่ตอเนื่องจากการ
มาตรฐานวิช าชี พ ไปพั ฒ นา
ดําเนินงานใน
ผูเรียนใหมีคุณภาพสูงขึ้น
เชิงคุณภาพ
- ดานนโยบาย
- ดานวิชาการ
- ดานเศรษฐกิจ
- ดานสังคม
- ดานสิ่งแวดลอม และ
ดานอื่น ๆ ตามบริบท
ของสถานศึกษา
3. การทดสอบหรือประเมิน การวางแผน ผลผลิต รายงานผลการ
สมรรถนะบุคคลของ สถานศึกษามีการวางแผน จํานวนผูสําเร็จ ทดสอบหรือ
ผูสําเร็จการศึกษาตาม ทดสอบหรือประเมิน การศึกษาที่ผานการ ประเมินผลสมรรถนะ
มาตรฐานอื่น ๆ (ถามี) สมรรถนะบุคคลของผูสําเร็จ ทดสอบหรือประเมิน บุคคลตามมาตรฐาน
การศึกษาตามมาตรฐาน สมรรถนะบุคคลตาม อื่น ๆ ที่บงชี้ถึง
อื่น ๆ มาตรฐานอื่น ๆ สมรรถนะของ
13
ตารางที่ 1 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภาย
นอกมาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
การดําเนินการตามแผน ผลลัพธ ผูสําเร็จการศึกษา
สถานศึกษามีการดําเนินการ รอยละของผูสําเร็จ (ถามี) เชน
ทดสอบหรือประเมิน การศึกษาทีผ่ านการ - สมรรถนะทาง
สมรรถนะบุคคลของผูสําเร็จ ทดสอบหรือประเมิน ดิจิทัล
การศึกษาตามมาตรฐาน สมรรถนะ บุคคลตาม - สมรรถนะทาง
อื่น ๆ มาตรฐานอื่น ๆ ภาษา
การติดตามและประเมินผล ผลสะทอน
สถานศึกษามีการติดตาม ผลที่เกิดจากการ
ประเมินผลการทดสอบหรือ ดําเนินการทดสอบ
ประเมินสมรรถนะบุคคล หรือประเมินสมรรถนะ
ของผูสําเร็จการศึกษาตาม บุคคลใหกับผูสําเร็จ
มาตรฐานอื่น ๆ การศึกษาที่ตอเนื่อง
การปรับปรุงและพัฒนา จากการดําเนินงานใน
สถานศึกษานําผลการ เชิงคุณภาพใน
ทดสอบหรือประเมิน - ดานนโยบาย
สมรรถนะบุคคลของผูสําเร็จ - ดานวิชาการ
การศึกษาตามมาตรฐาน - ดานเศรษฐกิจ
14
ตารางที่ 1 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอก
มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
อื่น ๆ ไปใชในการพัฒนา - ดานสังคม
ผูเรียนใหมีคุณภาพสูงขึ้น - ดานสิ่งแวดลอม
และดานอื่น ๆ ตาม
บริบทของสถานศึกษา
1.2 ดานทักษะและการ ตัวชี้วัดที่ 1.2 ทักษะและ 1. การพัฒนาสมรรถนะ การวางแผน ผลผลิต รายงานผลสัมฤทธิ์
ประยุกตใช การนําไปประยุกตใชของ ผูส ําเร็จการศึกษาใน สถานศึกษามีการวางแผน จํานวนผูสําเร็จ ทางการเรียนใน
ผูสําเร็จการศึกษา หมวดวิชาสมรรถนะอาชีพ พัฒนาสมรรถนะผูสําเร็จ การศึกษาที่มีสมรรถนะ หมวดวิชาสมรรถนะ
อาชีวศึกษา การศึกษาในหมวดวิชา อาชีพในหมวดวิชา อาชีพในภาพรวม
สมรรถนะอาชีพ สมรรถนะอาชีพ ของสถานศึกษา
การดําเนินการตามแผน ตามเกณฑการวัด และจําแนกตาม
สถานศึกษามีการดําเนินการ และประเมินผล ประเภทวิชา
พัฒนาสมรรถนะผูสําเร็จ ที่หลักสูตรกําหนด สาขาวิชา และระดับ
การศึกษาในหมวดวิชา ผลลัพธ การศึกษา
สมรรถนะอาชีพ รอยละของผูสําเร็จ
การติดตามและประเมินผล การศึกษาที่มี
สถานศึกษาติดตามและ ผลสัมฤทธิ์ทางการ
ประเมินผลการดําเนินการ
15
ตารางที่ 1 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอก
มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
พั ฒ นาสมรรถนะผู สํ า เร็ จ เรียนในหมวดวิชา
ก ารศึ ก ษ าใน ห ม ว ด วิ ช า สมรรถนะอาชีพ
สมรรถนะอาชีพ ตามเกณฑการวัด
การปรับปรุงและพัฒนา และประเมินผล
สถานศึกษานําผลการพัฒนา ไมต่ํากวา 2.00
สมรรถนะผูสําเร็จการศึกษา ผลสะทอน
ในหมวดวิชาสมรรถนะ ผลที่เกิดจากการ
อาชีพ ไปใชในการพัฒนา ดําเนินการพัฒนา
ผูสําเร็จการศึกษาใหมี คุณภาพผูสําเร็จ
คุณภาพสูงขึ้น การศึกษาใหมี
สมรรถนะอาชีพ
ที่ตอเนื่องจากการ
ดําเนินงานในเชิง
คุณภาพใน
- ดานนโยบาย
- ดานวิชาการ
- ดานเศรษฐกิจ
16
ตารางที่ 1 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอก
มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
- ดานสังคม
- ดานสิ่งแวดลอม
หรือดานอื่น ๆ
ตามบริบทของ
สถานศึกษา
2. การประกวดหรือแขงขัน การวางแผน ผลผลิต 1. รายงานผลการ
ทักษะวิชาชีพ สถานศึกษามีการวางแผน จํานวนผูสําเร็จ ประกวดหรือแขงขัน
สงเสริม สนับสนุนใหผูสําเร็จ การศึกษาที่ไดรับ ทักษะวิชาชีพ
การศึกษามีสมรรถนะ รางวัลจากการ ในภาพรวมของ
ดานทักษะวิชาชีพ ประกวดหรือแขงขัน สถานศึกษา และ
การดําเนินการตามแผน ทักษะวิชาชีพ จําแนกตามประเภท
สถานศึกษามีการดําเนินการ ผลลัพธ วิชา สาขาวิชา
สงเสริม สนับสนุน ให รางวัลที่ไดรับจาก และระดับที่เขารวม
ผูสําเร็จการศึกษามี การประกวดหรือ การประกวดหรือ
สมรรถนะดานทักษะวิชาชีพ แขงขันทักษะวิชาชีพ แขงขันและไดรับ
การติดตามและประเมินผล ในแตละระดับ รางวัลในแตละระดับ
สถานศึกษามีการติดตาม
17
ตารางที่ 1 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอก
มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
ประเมินผลการดําเนินการ ผลสะทอน 2. นวัตกรรมการ
สงเสริม สนับสนุนใหผูสําเร็จ ผลที่เกิดจากการ สงเสริม สนับสนุน
การศึกษามีสมรรถนะ ดําเนินการสงเสริม ใหผูสําเร็จการศึกษา
ดานทักษะวิชาชีพ สนับสนุน ใหผูสําเร็จ มีสมรรถนะดานทักษะ
การปรับปรุงและพัฒนา การศึกษามี วิชาชีพของสถานศึกษา
สถานศึกษานําผลการ สมรรถนะดานทักษะ
สงเสริม สนับสนุน วิชาชีพที่ตอเนื่องจาก
ใหผูสําเร็จการศึกษา การดําเนินงานในเชิง
มีสมรรถนะดานทักษะ คุณภาพใน
วิชาชีพไปใชในการพัฒนา - ดานนโยบาย
ผูสําเร็จการศึกษาใหมี - ดานวิชาการ
คุณภาพสูงขึ้น - ดานเศรษฐกิจ
- ดานสังคม
- ดานสิ่งแวดลอม
หรือดานอื่น ๆ
ตามบริบทของ
18
ตารางที่ 1 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอก
มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
3. สมรรถนะในการเปน การวางแผน ผลผลิต 1. รายงานผลการ
ผูประกอบการหรือ สถานศึกษามีการวางแผน จํานวนผูสําเร็จ ดําเนินงานการพัฒนา
ประกอบอาชีพอิสระ พัฒนาสมรรถนะ การศึกษาที่ไดรับการ คุณภาพผูสําเร็จ
ในการเปนผูประกอบการ พัฒนา ใหมี การศึกษาใหมี
หรือประกอบอาชีพอิสระ สมรรถนะในการเปน สมรรถนะในการเปน
การดําเนินการตามแผน ผูป ระกอบการหรือ ผูป ระกอบการหรือ
สถานศึกษามีการดําเนินการ ประกอบอาชีพอิสระ ประกอบอาชีพอิสระ
พัฒนาสมรรถนะในการเปน ผลลัพธ 2. รายงานผลการ
ผูป ระกอบการหรือประกอบ -รอยละของผูสําเร็จ ประเมินศูนยบมเพาะ
อาชีพอิสระ การศึกษาที่ไดรับการ ผูประกอบการ
การติดตามและประเมินผล พัฒนาใหมีสมรรถนะ อาชีวศึกษา
สถานศึกษาติดตามและ ในการเปน 3.รางวัลจากการ
ประเมินผลการดําเนินการ ผูประกอบการหรือ ประเมินศูนยบมเพาะ
พัฒนาสมรรถนะในการเปน ประกอบอาชีพอิสระ ผูประกอบการ
ผูป ระกอบการหรือประกอบ อาชีวศึกษาในแตละ
อาชีพอิสระ ระดับ
19
ตารางที่ 1 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอก
มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
การปรับปรุงและพัฒนา -รางวัลจากการ 4. น วั ต ก ร ร ม ก า ร
สถานศึกษานําการพัฒนา ประเมินศูนยบมเพาะ สงเสริม สนับสนุนและ
สมรรถนะในการเปน ผูประกอบการ พั ฒ น า ผู เรี ย น ให มี
ผูป ระกอบการหรือประกอบ อาชีวศึกษาใน สมรรถนะในการเป น
อาชีพอิสระมาไปใชในการ แตละดับ ผู ป ระกอบ การห รื อ
พัฒนาผูสําเร็จการศึกษาให ผลสะทอน ประกอบอาชี พ อิ ส ระ
มีคุณภาพสูงขึ้น ผลที่เกิดจากการ ของสถานศึกษา
ดําเนินการพัฒนา
สมรรถนะในการเปน
ผูป ระกอบการหรือ
ประกอบอาชีพอิสระ
ทีต่ อเนื่องจากการ
ดําเนินงานใน
เชิงคุณภาพ
- ดานนโยบาย
- ดานวิชาการ
20
ตารางที่ 1 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอก
มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
หรือประกอบอาชีพอิสระ - ดานเศรษฐกิจ
ที่สูงขึ้น - ดานสังคม
- ดานสิ่งแวดลอม
หรือดานอื่น ๆ
ตามบริบทของ
สถานศึกษา
4. การทดสอบหรือประเมิน การวางแผน ผลผลิต รายงานผลการทดสอบ
สมรรถนะบุคคลของ สถานศึกษามีการวางแผน จํานวนผูสําเร็จ หรือประเมินผล
ผูสําเร็จการศึกษาตาม ทดสอบหรือประเมิน การศึกษาที่ผานการ สมรรถนะบุคคลตาม
มาตรฐานอาชีพ สมรรถนะบุคคลของผูสําเร็จ ทดสอบหรือประเมิน มาตรฐานอาชีพ เชน
การศึกษาตามมาตรฐาน สมรรถนะบุคคล - การทดสอบ
อาชีพ ตามมาตรฐานอาชีพ สมรรถนะบุคคลตาม
การดําเนินการตามแผน ผลลัพธ มาตรฐานอาชีพของ
สถานศึกษามีการดําเนินการ รอยละของผูสําเร็จ สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ
ทดสอบหรือประเมิน การศึกษาผานการ
21
ตารางที่ 1 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอก
มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
สมรรถนะบุคคลของผูสําเร็จ ทดสอบหรือประเมิน - การทดสอบ
การศึกษาตามมาตรฐาน สมรรถนะบุคคลตาม มาตรฐานฝมือ
อาชีพ มาตรฐานอาชีพ แรงงานแหงชาติ
การติดตามและประเมินผล ผลสะทอน ของกรมพัฒนาฝมือ
สถานศึกษามีการติดตาม ผลที่เกิดจากการ แรงงาน
และประเมินผลการทดสอบ ดําเนินการทดสอบหรือ - อื่น ๆ
หรือประเมินสมรรถนะ ประเมินสมรรถนะ
บุคคลของผูสําเร็จการศึกษา บุคคลใหกับผูสําเร็จ
ตามมาตรฐานอาชีพ การศึกษา
การปรับปรุงและพัฒนา ที่ตอเนื่องจากการ
สถานศึกษานําผลการ ดําเนินงานใน
ทดสอบหรือประเมิน เชิงคุณภาพ
สมรรถนะบุคคลของผูสําเร็จ - ดานนโยบาย
การศึกษาตามมาตรฐาน - ดานวิชาการ
อาชีพมาใชในการพัฒนา - ดานเศรษฐกิจ
ผูสําเร็จการศึกษาใหมี - ดานสังคม
คุณภาพสูงขึ้น - ดานสิ่งแวดลอม และ
22
ตารางที่ 1 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอก
มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
ดานอื่น ๆ ตามบริบท
ของสถานศึกษา
5. การมีงานทําและศึกษาตอ การวางแผน ผลผลิต 1. รายงานผลการ
ของผูสําเร็จการศึกษา สถานศึกษามีการวางแผน จํานวนผูสําเร็จ มีงานทําและศึกษา
ติดตามภาวะการมี การศึกษาที่มีงานทํา ตอของผูสําเร็จ
งานทําและศึกษาตอ และศึกษาตอ การศึกษาในภาพรวม
ของผูสําเร็จการศึกษา ภายใน 1 ป ของสถานศึกษา
การดําเนินการตามแผน ผลลัพธ และจําแนกตาม
สถานศึกษาดําเนินงานตาม รอยละของผูสําเร็จ ประเภทวิชา
แผนการติดตามภาวการณ การศึกษาที่มีงานทํา สาขาวิชา และระดับ
มีงานทําและศึกษาตอของ และศึกษาตอภายใน การศึกษา
ผูสําเร็จการศึกษา 1 ป 2. นวัตกรรมการ
การติดตามและประเมินผล ผลสะทอน ติดตามการมีงานทํา
สถานศึกษาติดตามและ ผลที่เกิดจากการ และศึกษาตอของ
23
ตารางที่ 1 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอก
มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
ประเมินผลภาวะการมีงาน ดําเนินงานวางแผน ผูสําเร็จการศึกษา
ทําและศึกษาตอของ ในการติดตามภาวะ ของสถานศึกษา
ผูสําเร็จการศึกษา การมีงานทําและศึกษา
การปรับปรุงและพัฒนา ตอของผูสําเร็จ
สถานศึกษานําผลการ การศึกษาที่ตอเนื่อง
ประเมินภาวะการมีงานทํา จากการดําเนินงานใน
และศึกษาตอของผูสําเร็จ เชิงคุณภาพ
การศึกษามาใชใน - ดานนโยบาย
การพัฒนาการจัด - ดานวิชาการ
การศึกษาของสถานศึกษา - ดานเศรษฐกิจ
- ดานสังคม
- ดานสิ่งแวดลอม หรือ
ดานอื่น ๆ ตามบริบท
ของสถานศึกษา
24
ตารางที่ 1 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอก
มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
6. ความพึงพอใจของ การวางแผน ผลผลิต สถานประกอบการ
หนวยงาน สถานศึกษามีการวางแผน รายงานผลการศึกษา รายงานผลการศึกษา
สถานประกอบการ ศึกษาความพึงพอใจของ ความพึงพอใจของ ความพึงพอใจของ
หรือผูใชตอคุณภาพของ หนวยงาน หนวยงาน หนวยงาน หรือผูใช
ผูสําเร็จการศึกษา สถานประกอบการ สถานประกอบการ ตอคุณภาพของ
หรือผูใชตอคุณภาพของ หรือผูใชตอคุณภาพ ผูสําเร็จการศึกษา
ผูสําเร็จการศึกษา ของผูสําเร็จการศึกษา
การดําเนินการตามแผน ผลลัพธ
สถานศึกษาดําเนินการ รอยละของผูสําเร็จ
ศึกษาความพึงพอใจ การศึกษาที่หนวยงาน
ของหนวยงาน สถานประกอบการ
สถานประกอบการ หรือผูใชมีความ
หรือผูใชตอคุณภาพ พึงพอใจตอผูสําเร็จ
ของผูสําเร็จการศึกษา การศึกษาในระดับ
การติดตามและประเมินผล ดี ขึ้นไป
สถานศึกษาติดตาม ผลสะทอน
และประเมินผล ผลที่เกิดจากการ
25
ตารางที่ 1 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอก
มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
ความพึงพอใจของหนวยงาน ดําเนินงานใน
สถานประกอบการ หรือผูใช การศึกษาความ
ตอคุณภาพของผูสําเร็จ พึงพอใจของหนวยงาน
การศึกษา สถานประกอบการหรือ
การปรับปรุงและพัฒนา ผูใชตอคุณภาพ
สถานศึกษานําผลการ ของผูสําเร็จการศึกษา
ประเมินการศึกษา ที่ตอเนื่องจากการ
ความพึงพอใจของ ดําเนินงานใน
หนวยงาน เชิงคุณภาพ
สถานประกอบการ - ดานนโยบาย
หรือผูใชตอคุณภาพ - ดานวิชาการ
ของผูสําเร็จการศึกษา - ดานเศรษฐกิจ
มาพัฒนาคุณภาพ - ดานสังคม
ของผูสําเร็จการศึกษา - ดานสิ่งแวดลอม หรือ
ดานอื่น ๆ ตามบริบท
ของสถานศึกษา
26
ตารางที่ 1 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอก
มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
1.3 ดานคุณธรรม ตัวชี้วัดที่ 1.3 คุณธรรม 1. การพัฒนาคุณธรรม การวางแผน ผลผลิต 1. รายงานผลการ
จริยธรรม และ จริยธรรม และ จริยธรรม และคุณลักษณะ สถานศึกษามีการวางแผน จํานวนผูสําเร็จ พัฒนาคุณธรรม
คุณลักษณะที่พึงประสงค คุณลักษณะที่พึงประสงค ที่พึงประสงคของผูสําเร็จ พัฒนาคุณธรรม การศึกษาที่ไดรับการ จริยธรรม และ
ของผูสําเร็จการศึกษา การศึกษา จริยธรรม และคุณลักษณะ พัฒนาคุณธรรม คุณลักษณะที่พึง
อาชีวศึกษา ที่พึงประสงคของผูสําเร็จ จริยธรรม และ ประสงคของผูสําเร็จ
การศึกษา คุณลักษณะที่พึง การศึกษา
การดําเนินการตามแผน ประสงค 2. รางวัลที่ไดรับ
สถานศึกษามีการดําเนินการ ผลลัพธ จากการพัฒนา
พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม - รอยละของผูสําเร็จ ผูสําเร็จการศึกษา
และคุณลักษณะที่พึง การศึกษาที่ไดรับการ ใหมคี ุณธรรม
ประสงคของผูสําเร็จ พัฒนาพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และ
การศึกษา จริยธรรม และ คุณลักษณะ
การติดตามและประเมินผล คุณลักษณะที่พึง ที่พึงประสงค
สถานศึกษาติดตามและ ประสงค 3. น วั ต ก ร รม ก า ร
พัฒนาคุณธรรม
27
ตารางที่ 1 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอก
มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
ประเมินผลการดําเนินการ - รางวัลที่ไดรับจาก จริยธรรม และ
การพัฒนาคุณธรรม จากการพัฒนา คุณลักษณะที่พึง
การศึกษาใหมีคุณลักษณะ คุณธรรม ประสงคของผูสําเร็จ
ที่ พึ ง ประสงค ข องผู สํ า เร็ จ จริยธรรม และ การศึกษาของ
การศึกษา คุณลักษณะ สถานศึกษา
การปรับปรุงและพัฒนา ที่พึงประสงค
สถานศึกษานําการพัฒนา ผลสะทอน
คุณธรรม จริยธรรม และ ผลที่เกิดจากการ
คุณลักษณะที่พึงประสงคไป ดําเนินงานพัฒนา
ใชในการพัฒนาผูสําเร็จ คุณธรรม จริยธรรม
การศึกษาใหมีคุณภาพสูงขึ้น และคุณลักษณะที่พึง
ประสงคของผูสําเร็จ
การศึกษาตอเนื่อง
จากการดําเนินงาน
ในเชิงคุณภาพ
- ดานนโยบาย
- ดานวิชาการ
28
ตารางที่ 1 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอก
มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
- ดานเศรษฐกิจ
- ดานสังคม
- ดานสิ่งแวดลอม
หรือดานอื่น ๆ
ตามบริบทของ
สถานศึกษา
2. การประเมินคุณลักษณะ การวางแผน ผลผลิต รายงานผลการประเมิน
ที่พึงประสงคของผูสําเร็จ สถานศึกษามีการวางแผน จํานวนผูสําเร็จ คุณลักษณะ
การศึกษา ประเมินคุณลักษณะ การศึกษามี ที่พึงประสงคของ
ที่พึงประสงคของผูสําเร็จ คุณลักษณะ ผูสําเร็จการศึกษา
การศึกษา ที่พึงประสงคที่ผาน ในภาพรวมของ
การดําเนินการตามแผน เกณฑการวัด สถานศึกษาและ
สถานศึกษาดําเนินงานตาม และประเมินผล จําแนกตามประเภท
แผนพัฒนาคุณภาพผูสําเร็จ ที่สถานศึกษากําหนด วิชา สาขาวิชา
การศึกษาใหมีคุณลักษณะ ผลลัพธ และระดับการศึกษา
ที่พึงประสงคของผูสําเร็จ รอยละของผูสําเร็จ
การศึกษาตามเกณฑการวัด การศึกษามี
29
ตารางที่ 1 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอก
มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
และประเมินผล คุณลักษณะ
ที่สถานศึกษากําหนด ที่พึงประสงค
การติดตามและประเมินผล ผานเกณฑ
สถานศึกษาติดตามและ การวัดและ
ประเมินผลการพัฒนา ประเมินผล
คุณภาพผูสําเร็จการศึกษา ที่สถานศึกษากําหนด
ใหคุณลักษณะที่พึงประสงค ในระดับ ดี ขึ้นไป
ของผูสําเร็จการศึกษาตาม ผลสะทอน
เกณฑการวัดและ ผลที่เกิดจากการ
ประเมินผลที่สถานศึกษา ดําเนินงานประเมิน
กําหนด คุณลักษณะ
การปรับปรุงและพัฒนา ที่พึงประสงคของ
สถานศึกษานําผลประเมิน ผูสําเร็จการศึกษา
คุณลักษณะที่พึงประสงค ตามเกณฑการวัด
มาใชในการพัฒนาคุณภาพ และประเมินผลที่
ของผู สํ า เร็ จ การศึ ก ษาให มี สถานศึกษากําหนด
คุณลักษณะที่พงึ ประสงค ที่ตอเนื่องจากการ
30
ตารางที่ 1 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอก
มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
ดําเนินงานใน
เชิงคุณภาพ
- ดานนโยบาย
- ดานวิชาการ
- ดานเศรษฐกิจ
- ดานสังคม
- ดานสิ่งแวดลอม
หรือดานอื่น ๆ
ตามบริบท
ของสถานศึกษา
31
ตารางที่ 1 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอก
มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
3. การดูแลชวยเหลือและ การวางแผน ผลผลิต 1. รายงานผลการดูแล
แนะแนวผูสําเร็จการศึกษา สถานศึกษามีการวางแผน จํานวนผูสําเร็จ ชวยเหลือและ
ดูแลชวยเหลือและแนะแนว การศึกษาตาม แนะแนวผูสําเร็จ
ผูสําเร็จการศึกษา ระยะเวลาที่หลักสูตร การศึกษาของ
การดําเนินการตามแผน กําหนด สถานศึกษา
สถานศึกษาดําเนินการ ผลลัพธ 2. รายงานผลการออก
ตามแผนการดูแลชวยเหลือ รอยละของผูสําเร็จ กลางคันในภาพรวม
และแนะแนวผูสําเร็จ ระยะเวลาที่หลักสูตร ของสถานศึกษาและ
การศึกษา การศึกษาตามกําหนด จําแนกตาม
การติดตามและประเมินผล เทียบกับแรกเขา ประเภทวิชา
สถานศึกษามีการติดตาม ผลสะทอน สาขาวิชา และระดับ
และประเมินผลการดูแล ผลที่เกิดจากการ การศึกษา
ชวยเหลือและแนะแนว ดําเนินงานการ 3. รายงานขอมูล
ผูสําเร็จการศึกษา วางแผนดูแล ผูสําเร็จการศึกษา
การปรับปรุงและพัฒนา ชวยเหลือและ ของสถานศึกษา
สถานศึกษานําผลการ แนะแนวผูสําเร็จ 4. นวัตกรรมการ
ติดตามประเมินผลการดูแล แกปญหาการออก
32
ตารางที่ 1 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอก
มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
ชวยเหลือและแนะแนว การศึกษา กลางคันของ
ผูสําเร็จการศึกษาไปใชใน ที่ตอเนื่องจากการ สถานศึกษา
การดูแลชวยเหลือผูเรียน ดําเนินงานใน
ใหสําเร็จการศึกษาตาม เชิงคุณภาพ
ระยะเวลาที่หลักสูตร - ดานนโยบาย
กําหนด - ดานวิชาการ
- ดานเศรษฐกิจ
- ดานสังคม
- ดานสิ่งแวดลอม
หรือ
ดานอื่น ๆ ตามบริบท
ของสถานศึกษา
33
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
2 มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานที่ 2
การจัดการอาชีวศึกษา การจัดการอาชีวศึกษา
2.1 ดานหลักสูตร ตัวชี้วัดที่ 2.1 หลักสูตร 1. การพั ฒ นาหลั ก สู ต รฐาน การวางแผน ผลผลิต 1. ผลการศึกษาความ
อาชีวศึกษา อาชีวศึกษา สมรรถนะอยางเปนระบบ สถานศึกษามีการวางแผน - จํานวนสาขาวิชา ตองการของ
พัฒนาหลักสูตรฐาน ที่พัฒนาหลักสูตรฐาน ตลาดแรงงานเพื่อการ
สมรรถนะอยางเปนระบบ สมรรถนะอยางเปน พัฒนาหรือปรับปรุง
การดําเนินการตามแผน ระบบ หลักสูตร
สถานศึกษามีการดําเนินการ - รอยละของ 2. รายงานการพัฒนา
พัฒนาหลักสูตรฐาน สาขาวิชาที่พัฒนา หรือปรับปรุงหลักสูตร
สมรรถนะอยางเปนระบบ หลักสูตรฐาน ฐานสมรรถนะ
การติดตามและประเมินผล สมรรถนะอยางเปน 3. รายงานผลการนํ า
สถานศึกษาติดตามและ ระบบ หลักสูตรฐานสมรรถนะ
ประเมินผลการดําเนินการ ผลลัพธ ที่ไดรับ จากการพั ฒ นา
พัฒนาหลักสูตรฐาน -สถานศึกษามีการ หรือปรับปรุงไปใช
สมรรถนะอยางเปนระบบ ดําเนินการพัฒนา ในการจัดการเรียน
การปรับปรุงและพัฒนา หลักสูตรฐาน การสอน
สถานศึกษานําผลการพัฒนา
หลักสูตรฐานสมรรถนะ
34
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
อยางเปนระบบไปใชในการ สมรรถนะอยางเปน 4. ร า ย ง า น ผ ล ก า ร
ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร ระบบตาม ติดตามและประเมินผล
ฐานสมรรถนะของสถานศึกษา กระบวนการพัฒนา การใช ห ลั ก สู ต รฐาน
อยางตอเนื่อง หลักสูตรฐาน สมรรถนะ
สมรรถนะอยางเปน 5. รายงานผลการ
ระบบ ดังนี้ พัฒนาแผนการเรียน
1) ศึกษาความ ของสถานศึกษา
ตองการของ จําแนกตามประเภท
ตลาดแรงงานเพื่อ วิชา สาขาวิชา และ
การพัฒนาหรือการ สาขางานที่สถานศึกษา
ปรับปรุงหลักสูตร จัดการเรียนการสอน
2) พัฒนาหลักสูตร 6. น วั ต ก ร ร ม ก า ร
ฐานสมรรถนะใน พั ฒ นาหลั ก สู ต รฐาน
สาขาวิชาหรือสาขา สมรรถนะอย า งเป น
งานหรือรายวิชา ระบบของสถานศึกษา
รวมกับสถาน
35
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
สถานประกอบการหรือ
หนวยงานที่เกี่ยวของ
เพื่อใหผูเรียนมี
สมรรถนะอาชีพ
สอดคลองกับการ
เปลี่ยนแปลงของ
เทคโนโลยีและความ
ตองการของ
ตลาดแรงงาน
3) การนําหลักสูตร
ฐานสมรรถนะที่ไดจาก
การพัฒนาไปใชในการ
จัดการเรียนการสอน
4) การติดตาม และ
ประเมินผลการใช
หลักสูตรฐานสมรรถนะ
36
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
ผลสะทอน
ผลที่เกิดจากการ
พัฒนาหลักสูตรฐาน
สมรรถนะอยางเปน
ระบบทีต่ อเนื่องจาก
การดําเนินงาน
ในเชิงคุณภาพ
- ดานนโยบาย
- ดานวิชาการ
- ดานเศรษฐกิจ
- ดานสังคม
- ดานสิ่งแวดลอม
หรื อ ด า นอื่ น ๆ ตาม
บริบทของสถานศึกษา
37
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
2. การพั ฒ นาหลั ก สู ต รฐาน การวางแผน ผลผลิต 1. รายงานผลการ
ส ม รรถ น ะ โด ย ก าร ส ถ า น ศึ ก ษ า มี ก า ร ว า ง - จํ า นวนครู ผู ส อนที่ พั ฒ นาหลั ก สู ต รฐาน
ปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือ แผนการพัฒนาหลักสูตรฐาน พั ฒ นาหลั ก สู ต รฐาน สมรรถนะ โดยการ
กําหนดรายวิชาเพิ่มเติม สมรรถนะ โดยการปรับปรุง ส มรรถน ะ โด ยการ ปรับปรุงรายวิชาเดิม
รายวิ ช าเดิ ม หรื อ กํ า หนด ปรั บ ปรุ ง รายวิ ช าเดิ ม หรือกํ าหนดรายวิช า
รายวิชาเพิ่มเติม หรื อ กํ า หนดรายวิ ช า เพิ่มเติมของครูผูสอน
การดําเนินการตามแผน เพิ่มเติม ใน ภ า พ ร ว ม ข อ ง
สถานศึกษามีการดําเนินการ ผลลัพธ ส ถ าน ศึ ก ษ า แ ล ะ
การพั ฒ นาหลั ก สู ต รฐาน - รอยละของครูผู ส อน จําแนกตามประเภท
สมรรถนะ โดยการปรับปรุง ที่ พั ฒ นาหลั ก สู ต รฐาน วิ ช า สาขาวิ ช า และ
รายวิ ช าเดิ ม หรื อ กํ า หนด ส มรรถน ะ โด ยการ ระดับการศึกษา
รายวิชาเพิ่มเติม ปรั บ ปรุ ง รายวิ ช าเดิ ม 2. นวัตกรรมการ
การติดตามและประเมินผล หรื อ กํ า หนดรายวิ ช า พัฒนาหลักสูตรฐาน
สถานศึ ก ษ าติ ด ตามและ เพิ่มเติม สมรรถนะ โดยการ
ป ระ เมิ น ผ ล ก าร พั ฒ น า ผลสะทอน ปรับปรุงรายวิชาเดิม
หลักสูตรฐานสมรรถนะ โดย ผ ล ที่ เกิ ด จ า ก ก า ร หรือกําหนดรายวิชา
การปรั บ ปรุ ง รายวิ ช าเดิ ม ดํ า เนิ น ก า ร พั ฒ น า เพิ่มเติมของ
หรือกําหนดรายวิชาเพิ่มเติม หลักสูตรฐานสมรรถนะ สถานศึกษา
38
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
การปรับปรุงและพัฒนา โดยการปรับปรุง
สถานศึ ก ษานํ า ผลจากการ รายวิชาเดิม หรือ
ประเมิ น และติ ด ตามการ กําหนดรายวิชา
พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร ฐ า น เพิ่มเติมที่ตอเนื่องจาก
ส ม ร ร ถ น ะ ม า ใช ใน ก า ร การดําเนินงาน
พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร ฐ า น ในเชิงคุณภาพ
สมรรถนะอยางตอเนื่อง - ดานนโยบาย
- ดานวิชาการ
- ดานเศรษฐกิจ
- ดานสังคม
- ดานสิ่งแวดลอม
หรื อ ด า นอื่ น ๆ ตาม
บริบทของสถานศึกษา
39
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
2.2 ดานการจัดการเรียน ตัวชี้วัดที่ 2.2 การจัดการ 1. ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ การวางแผน ผลผลิต 1.ราย งาน ผ ล ก า ร
การสอนอาชีวศึกษา เรียนการสอนอาชีวศึกษา แผนการจัดการเรียนรู สถานศึ ก ษามี ก ารวางแผน -จํานวนครูผูสอนที่ จัดทําแผนการจัดการ
ที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ส ง เส ริ ม ส นั บ ส นุ น ให จัดทําแผนการจัดการ เรี ย นรู ที่ เ น น ผู เ รี ย น
ครู ผู ส อนจั ด ทํ า แผนการ เรียนรูที่เนนผูเรียนเปน เ ป น สํ า คั ญ ข อ ง
จั ด การเรี ย นรู ที่ เน น ผู เรี ย น สําคัญ ครูผู ส อนในภาพรวม
เปนสําคัญ ผลลัพธ ของสถานศึกษา และ
การดําเนินการตามแผน - รอยละของครูผูสอน จําแนกตามประเภท
สถานศึกษามีการดําเนินการ ที่จัดทําแผนการจัดการ วิ ช า สาขาวิ ช า และ
ส ง เส ริ ม ส นั บ ส นุ น ให เรียนรูที่เนนผูเรียนเปน ระดับการศึกษา
ครู ผู ส อนจั ด ทํ า แผนการ สําคัญ 2. รายงานผลการ
จั ด การเรี ย นรู ที่ เน น ผู เรี ย น - ครูผูสอนจัดทํา ป ร ะ เมิ น คุ ณ ภ า พ
เปนสําคัญ แผนการเรียนรูที่เนน แ ผ น ก า ร จั ด ก า ร
การติดตามและประเมินผล ผูเรียนเปนสําคัญที่มี เรี ย นรู ที่ เ น น ผู เ รี ย น
สถานศึ ก ษ าติ ด ตามและ คุณภาพตาม เ ป น สํ า คั ญ ข อ ง
ประเมิ น ผลการดํ าเนิ น การ กระบวนการจัดทํา ครูผูสอนในภาพ
สงเสริม สนับสนุนให
40
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
ครู ผู ส อนจั ด ทํ า แผนการ แผนการเรียนรู ดังนี้ รวมของสถานศึ ก ษา
จั ด การเรี ย นรู ที่ เน น ผู เรี ย น 1) ครูผูสอนวิเคราะห แ ล ะ จํ า แ น ก ต า ม
เปนสําคัญ หลักสูตรรายวิชา ป ร ะ เ ภ ท วิ ช า
การปรับปรุงและพัฒนา เพื่อกําหนดหนวย สาขาวิชา และระดั บ
ส ถ า น ศึ ก ษ า นํ า ผ ล ก า ร การเรียนรู การศึกษา
ติดตามและประเมิน ผลการ 2) แ ผ น ก ารจั ด ก าร 3. แผนการจั ด การ
ส ง เส ริ ม ส นั บ ส นุ น ให เรียนรูมีการบูรณาการ เรี ย นรู ที่ เ น น ผู เ รี ย น
ครู ผู ส อนจั ด ทํ า แผนการ คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม เปนสําคัญ
จั ด การเรี ย นรู ที่ เน น ผู เรี ย น ค า นิ ย ม คุ ณ ลั ก ษณะ
เป น สํ าคั ญ ไป ใช ใน ก า ร ที่พึงประสงค
พั ฒ นาคุ ณ ภ าพ แผนการ 3) แ ผ น ก ารจั ด ก าร
จัดการเรียนรู เรี ย นรู มี ก ารกํ า หนด
รูปแบบการเรียนรูและ
กิจกรรมการจัดการ
41
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
เรียนรูที่หลากหลาย
เชน PjBL, Active
Learning , STEM
Education , Work
based Learning,
Work integrated
Learning เปนตน
4) แผนการจัดการ
เรียนรูกําหนดการใช
สื่อ เครื่องมือ อุปกรณ
และเทคโนโลยีการ
จัดการเรียนรูที่เหมาะสม
และนํามาใชในการ
จัดการเรียนการสอน
5) แผนการจัดการ
เรียนรูกําหนด
42
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
แนวทางการวัดและ
ประเมินผลตามสภาพจริง
ดวยวิธีการที่หลากหลาย
ผลสะทอน
ผลที่เกิดจากการ
ดําเนินการสงเสริม
สนับสนุนใหครูผูสอน
จัดทําแผนการจัดการ
เรียนรูที่เนนผูเรียนเปน
สําคัญตอเนื่องจากการ
ดําเนินงาน
ในเชิงคุณภาพ
- ดานนโยบาย
- ดานวิชาการ
- ดานเศรษฐกิจ
- ดานสังคม
43
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
- ดานสิ่งแวดลอม
หรือดานอื่น ๆ ตาม
บริบทของถานศึกษา
2. การนําแผนการจัด การวางแผน ผลผลิต 1. รายงานผลการใช
การเรียนรูที่เนนผูเรียน สถานศึกษามีการวางแผน จํานวนครูผูสอนทีน่ ํา แผนการจัดการเรียนรู
เปนสําคัญไปใชใน การนําแผนการจัดการเรียนรู แผนการจัดการเรียนรู ที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ
การจัดการเรียนการสอน ที่เนนผูเรียนเปนสําคัญไปใช ที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ของครูผูสอนในภาพรวม
ในการจัดการเรียนการสอน ไปใชในการจัดการเรียน ของสถานศึกษา และ
การดําเนินการตามแผน การสอน จําแนกตามประเภท
สถานศึกษามีการดําเนินการ ผลลัพธ วิชา สาขาวิชา และ
ตามแผนการนําแผนการจัด รอยละของครูผูสอน ระดับการศึกษา
การเรียนรูที่เนนผูเรียน ที่นําแผนการจัดการ 2. รายงานผลการ
เปนสําคัญไปใชใน เรียนรูที่เนนผูเรียนเปน นิเทศ ติดตามการ
การจัดการเรียนการสอน สําคัญไปใชในการ จัดการเรียนการสอน
จัดการเรียนการสอน ตามแผนการจัดการ
เรียนรูที่เนนผูเรียนเปน
สําคัญ
44
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
การติดตามและประเมินผล ผลสะทอน
สถานศึกษามีการติดตามและ ผลที่เกิดจากการนํา
ประเมินผลการนําแผนการจัด แผนการจัดการเรียนรู
การเรียนรูที่เนนผูเรียน ที่เนนผูเรียน
เปนสําคัญไปใชในการจัด เปนสําคัญไปใชใน
การเรียนการสอน การจัดการเรียนการ
การปรับปรุงและพัฒนา สอนที่ตอเนื่องจากการ
สถานศึกษานําผลการ ติดตาม ดําเนินงานในเชิง
และประเมินผลการนํา คุณภาพ
แผนการจัดการเรียนรูที่เนน - ดานนโยบาย
ผูเรียนเปนสําคัญไปใชใน - ดานวิชาการ
การจัดการเรียนการสอน - ดานเศรษฐกิจ
- ดานสังคม
- ดานสิ่งแวดลอม
หรื อ ด า นอื่ น ๆ ตาม
บริบทของถานศึกษา
45
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
3. การสงเสริมใหผูเรียนได การวางแผน ผลผลิต 1. รายงานผลการ
ฝกประสบการณสมรรถนะ สถานศึกษามีการวางแผน จํานวนสาขาวิชาหรือ จัดทําแผนการฝก
วิชาชีพหรือฝกอาชีพ สงเสริมใหผูเรียนไดฝก สาขางานที่ผูเรียนได ประสบการณ
ประสบการณสมรรถนะ ฝกประสบการณ สมรรถนะวิชาชีพหรือ
วิชาชีพหรือฝกอาชีพ สมรรถนะวิชาชีพ ฝกอาชีพ
การดําเนินการตามแผน หรือฝกอาชีพ 2. รายงานผลการฝก
สถานศึกษามีการดําเนินการ ผลลัพธ ประสบการณ
สงเสริมใหผูเรียนได รอยละของสาขาวิชา สมรรถนะวิชาชีพหรือ
ฝกประสบการณสมรรถนะ หรือสาขางาน ฝกอาชีพ
วิชาชีพหรือฝกอาชีพตามที่ ที่ผูเรียนได 3. นวัตกรรมการ
หลักสูตรกําหนด ฝกประสบการณ สงเสริมใหผูเรียนไดฝก
การติดตามและประเมินผล สมรรถนะวิชาชีพ ประสบการณ
สถานศึกษาติดตามและ หรือฝกอาชีพ สมรรถนะวิชาชีพหรือ
ประเมินผลการดําเนินการ ผลสะทอน ฝกอาชีพ
สงเสริมใหผูเรียนได ผลที่เกิดจากการ
ฝกประสบการณสมรรถนะ สงเสริมใหผูเรียนได
วิชาชีพหรือฝกอาชีพ ฝกประสบการณ
46
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
การปรับปรุงและพัฒนา สมรรถนะวิชาชีพหรือ
สถานศึกษานําผลการ ฝกอาชีพที่ตอเนื่องจาก
สงเสริมใหผูเรียนฝก การดําเนินงาน
ประสบการณสมรรถนะ ในเชิงคุณภาพ
วิชาชีพหรือฝกอาชีพไปใช - ดานนโยบาย
ในการพัฒนาการฝก - ดานวิชาการ
ประสบการณสมรรถนะ - ดานเศรษฐกิจ
วิชาชีพหรือฝกอาชีพของ - ดานสังคม
ผูเรียน - ดานสิ่งแวดลอม
หรือดานอื่น ๆ ตาม
บริบทของถานศึกษา
47
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
4. การจัดการเรียนการสอน การวางแผน ผลผลิต 1. ร า ย ง า น ข อ มู ล
ดวยเทคนิควิธีการสอน สถานศึกษามีการวางแผน -จํานวนครูผูสอนที่ ครูผูสอนที่จัดการเรียน
ที่หลากหลาย สงเสริม สนับสนุนและ จัดการเรียนการสอน การส อน ต รงต าม
พัฒนาครูผูสอนใหมีความรู ดวยเทคนิควิธีการ แผนการจัดการเรีย นรู
ความสามารถในการ สอนที่หลากหลาย ดวยเทคนิควิธีการสอน
จัดการเรียนการสอนดวย ผลลัพธ ที่หลากหลาย มีการวัด
เทคนิควิธีการสอน - รอยละของ และประเมิ น ผลตาม
ที่หลากหลาย ครูผูสอนที่จัดการ สภาพจริง
การดําเนินการตามแผน เรียนการสอน 2. รายงานผลการใช
สถานศึกษามีการดําเนินการ ดวยเทคนิควิธีการ สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี
สงเสริม สนับสนุนและ สอนที่หลากหลาย ทางการศึ ก ษา และ
พัฒนาครูผูสอนใหมีความรู ผลสะทอน แห ล งเรี ย น รู ใ น ก าร
ความสามารถในการ ผลที่เกิดจากการ จั ด การเรี ย นการสอน
จัดการเรียนการสอนดวย ดําเนินการวางแผน ของครูผูสอน
เทคนิควิธีการสอน สงเสริม สนับสนุน 3. ร า ย ง า น ผ ล ก า ร
ที่หลากหลาย และพัฒนาครูผูสอน จัดทํารายงานการวิจั ย
การติดตามและประเมินผล ใหมีความรู เพื่อพัฒนาคุณภาพการ
สถานศึกษาติดตามและ ความสามารถในการ จัดการเรียนการสอน
48
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
ประเมินการดําเนินการ จัดการเรียนการสอน
สงเสริม สนับสนุนและ ดวยเทคนิควิธีการ
พัฒนาครูผูสอนใหมีความรู สอนที่หลากหลายที่
ความสามารถในการ ตอเนื่องจากการ
จัดการเรียนการสอนดวย ดําเนินงานในเชิง
เทคนิควิธีการสอน คุณภาพ
ที่หลากหลาย - ดานนโยบาย
การปรับปรุงและพัฒนา - ดานวิชาการ
สถานศึกษานําผลการ - ดานเศรษฐกิจ
ติดตามและประเมินผล - ดานสังคม
การสงเสริม สนับสนุน - ดานสิ่งแวดลอม
และพัฒนาครูผูสอนใหมี หรือดานอื่น ๆ ตาม
ความรู ความสามารถในการ บริบทของถานศึกษา
จัดการเรียนการสอนดวย
เทคนิควิธีการสอน
ที่หลากหลายไปใช
ในพั ฒ นาการจั ด การเรี ย น
การสอน
49
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
5. การบริหารจัดการชั้น การวางแผน ผลผลิต 1. รายงานผลการ
เรียนที่เหมาะสม สถานศึ ก ษามี ก ารวางแผน จํานวนครูผูสอน บริหารจัดการชั้นเรียน
บริ ห ารจั ด การชั้ น เรี ย นที่ ที่บริหารจัดการ ที่เหมาะสมของ
เหมาะสม ชั้นเรียนที่เหมาะสม ครูผูสอน
การดําเนินการตามแผน ดังนี้ 2. นวัตกรรมการ
สถานศึกษามีการดําเนินการ 1. การจัดทําขอมูล บริหารจัดการชั้นเรียน
บริหารจัดการชั้นเรียน ผูเรียนรายบุคคล ที่เหมาะสม
ที่เหมาะสม 2. การจัดทําเอกสาร
การติดตามและประเมินผล ประจําชั้นเรียนและ
สถานศึกษาติดตามและ รายวิชาเปนปจจุบัน
ประเมินผลการบริหาร 3. การใชเทคนิค
จัดการชั้นเรียนที่เหมาะสม วิธีการบริหารจัดการ
การปรับปรุงและพัฒนา ชั้นเรียนใหมี
สถานศึกษานําผลการ บรรยากาศที่เอื้อตอ
ติดตามและประเมินผล การเรียนรู
การบริหารจัดการชั้นเรียน 4. การเสริมแรงให
ที่เหมาะสมไปใชในการ ผูเรียนมีความมุงมั่น
50
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
พัฒนาบริหารจัดการ ตั้งใจในการเรียน
ชั้นเรียนชั้นเรียนไดอยาง 5. การดูแลชวยเหลือ
เหมาะสม ผูเรียนเปนรายบุคคล
ผลลัพธ
รอยละของครูผูสอน
ที่บริหารจัดการ
ชั้นเรียนที่เหมาะสม
ผลสะทอน
ผ ล ที่ เกิ ด จ า ก ก า ร
ดํ า เนิ น ก า ร กํ า กั บ
ติ ด ตามให ค รู ผู ส อน
บ ริ ห ารจั ด ก ารชั้ น
เรี ย นที่ เ หมาะสมที่
ต อ เนื่ อ ง จ า ก ก า ร
ดําเนินงานใน
51
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
เชิงคุณภาพ
- ดานนโยบาย
- ดานวิชาการ
- ดานเศรษฐกิจ
- ดานสังคม
- ดานสิ่งแวดลอม
หรื อ ด า นอื่ น ๆ ตาม
บริบทของถานศึกษา
6. การพัฒนาตนเองและ การวางแผน ผลผลิต 1. ร า ย ง า น ผ ล ก า ร
พัฒนาวิชาชีพ สถานศึ ก ษามี ก ารวางแผน -จํานวนครูผูสอน พัฒนาตนเอง
ส ง เส ริ ม ส นั บ ส นุ น ให ที่ไดรับการพัฒนา 2. รายงานผลการ
ครู ผู ส อนได รั บ การพั ฒ นา ผลลัพธ พัฒนาวิชาชีพ
ตนเองและพัฒนาวิชาชีพ -รอยละของครูผูสอน 3. นวั ต กรรมส ง เสริ ม
การดําเนินการตามแผน ที่ไดรับการพัฒนา การพั ฒ นาตนเองและ
สถานศึกษามีการดําเนินการ การพัฒนาวิชาชีพ
ส ง เส ริ ม ส นั บ ส นุ น ให
ครู ผู ส อนได รั บ การพั ฒ นา
ตนเองและพัฒนาวิชาชีพ
52
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
การติดตามและประเมินผล ผลสะทอน
สถานศึ ก ษาติ ด ตาม และ ผ ล ที่ เกิ ด จ า ก ก า ร
ประเมิ น ผลการดํ าเนิ น การ ดํ า เนิ น การส ง เสริ ม
ส ง เส ริ ม ส นั บ ส นุ น ให สนับสนุนใหครูผูสอน
ครู ผู ส อนได รั บ การพั ฒ นา ได รั บ ก า ร พั ฒ น า
ตนเองและพัฒนาวิชาชีพ ตน เองแล ะพั ฒ น า
การปรับปรุงและพัฒนา วิชาชีพที่ตอเนื่องจาก
ส ถ า น ศึ ก ษ า นํ า ผ ล ก า ร การดําเนินงานใน
ติดตาม และประเมินผล เชิงคุณภาพ
การพัฒนาตนเองและพัฒนา - ดานนโยบาย
วิชาชีพไปใชในการพัฒนาครู - ดานวิชาการ
อยางตอเนื่อง - ดานเศรษฐกิจ
- ดานสังคม
- ด าน สิ่ ง แวด ล อ ม
หรือดานอื่น ๆ
ตามบริบทของ
สถานศึกษา
53
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
7. การใชเทคโนโลยีดิจิทัล การวางแผน ผลผลิต 1. รายงานผลการใช
เพื่อการจัดการเรียน สถานศึ ก ษามี ก ารวางแผน จํานวนครูผูสอนที่ใช เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อ
การสอน การใชเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่ อ เทคโนโลยีดิจิทัล การจัดการเรียน
การจัดการเรียนการสอน เพื่อการจัดการเรียน การสอน
การดําเนินการตามแผน การสอน 2. นวัตกรรมการใช
สถานศึกษามีการดําเนินการ ผลลัพธ เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อ
ใชเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการ รอยละของครูผูสอน การจัดการเรียน
จัดการเรียนการสอน ที่ใชเทคโนโลยีดิจิทัล การสอน
การติดตามและประเมินผล เพื่อการจัดการเรียน
สถานศึกษาติดตามและ การสอน
ประเมินผลการใชเทคโนโลยี ผลสะทอน
ดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียน ผลที่เกิดจากการ
การสอน ดําเนินการใช
เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อ
การจัดการเรียนการ
54
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
การปรับปรุงและพัฒนา สอนที่ตอเนื่องจาก
สถานศึกษานําผลการ การดําเนินงานใน
ติดตามและประเมินผลการ เชิงคุณภาพ
ใชเทคโนโลยีดิจิทัลใชในการ - ดานนโยบาย
พัฒนาคุณภาพการจัดการ - ดานวิชาการ
เรียนการสอน - ดานเศรษฐกิจ
- ดานสังคม
- ดานสิ่งแวดลอม
หรือดานอื่น ๆ
ตามบริบทของ
สถานศึกษา
55
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
2.3 ดานการบริหาร ตัวชี้วัดที่ 2.3 การบริหาร 1. การบริหารจัดการ การวางแผน ผลผลิต 1. มาตรฐานการศึกษา
จัดการ จัดการสถานศึกษา สถานศึกษาแบบมีสวนรวม สถานศึ ก ษามี ก ารวางแผน คณะกรรมการ ของสถานศึกษา
บริห ารจั ด การสถานศึ ก ษา สถานศึกษา 2. แผนพัฒนาการจัด
แบบมีสวนรวม คณะกรรมการ การศึกษาของ
การดําเนินการตามแผน บริหารสถานศึกษา สถานศึกษา
สถานศึกษามีการดําเนินการ ครูและบุคลากร 3. แผนปฏิบัติการ
บริห ารจั ด การสถานศึ ก ษา ทางการศึกษามีสวน ประจําปงบประมาณ
แบบมีสวนรวม รวมในการบริหาร 4. นวัตกรรมการ
การติดตามและประเมินผล จัดการสถานศึกษา บริหารจัดการ
สถานศึ ก ษาติ ด ตาม และ ดังนี้ สถานศึกษาแบบมีสวน
ประเมิ น ผลการดํ าเนิ น การ 1. กําหนด รวม
บริห ารจั ด การสถานศึ ก ษา มาตรฐานการศึกษา
แบบมีสวนรวม ของสถานศึกษา
การปรับปรุงและพัฒนา 2. จัดทําแผน
ส ถ า น ศึ ก ษ า นํ า ผ ล ก า ร พัฒนาการจัด
ติดตามและประเมิน ผลการ การศึกษาของ
บริห ารจั ด การสถานศึ ก ษา สถานศึกษา
แบบมีสวนรวม
56
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
ไป ใช ใน ก ารพั ฒ น าก าร 3. จัดทําแผน
บ ริ ห ารจั ด ก ารคุ ณ ภ าพ ปฏิบัติการประจําป
การศึกษาของสถานศึกษา งบประมาณ
ผลลัพธ
ผูบริห ารสถานศึกษา
บ ริ ห า ร จั ด ก า ร
สถานศึกษาแบบ
มีสวนรวม
ผลสะทอน
ผ ล ที่ เกิ ด จ า ก ก า ร
บ ริ ห า ร จั ด ก า ร
สถานศึ ก ษาแบบมี
ส ว นร ว มที่ ต อ เนื่ อ ง
จากการดํ า เนิ น งาน
ในเชิงคุณภาพ
- ดานนโยบาย
57
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
- ดานวิชาการ
- ดานเศรษฐกิจ
- ดานสังคม
- ดานสิ่งแวดลอม
หรือดานอื่น ๆ
ตามของสถานศึกษา
2. การพัฒนาระบบดูแล การวางแผน ผลผลิต 1.การดําเนินการตาม
ชวยเหลือผูเรียน ส ถ า น ศึ ก ษ า มี ก า ร ว า ง -ระบบดูแลชวยเหลือ ระบบดูแลชวยเหลือ
แผนการพั ฒ นาระบบดู แ ล ผูเรียน ผูเรียนที่มีการ
ชวยเหลือผูเรียน -จํานวนครูที่ปรึกษา ดําเนินการอยาง
การดําเนินการตามแผน ที่ดําเนินการตาม มีประสิทธิภาพ ดังนี้
สถานศึกษามีการดําเนินการ ระบบดูแลชวยเหลือ 1.1 การจัดทําขอมูล
พัฒ นาระบบดู แลช วยเหลื อ ผูเรียน ผูเรียนเปนรายบุคคล
ผูเรียน ผลลัพธ 1.2 การคัดกรอง
การติดตามและประเมินผล -ระบบดูแลชวยเหลือ ผูเรียนเปนรายบุคคล
สถานศึ ก ษาติ ด ตาม และ ผูเรียนที่มีการ 1.3 การสงเสริม
ประเมินผลการพัฒนาระบบ ดําเนินการอยาง พัฒนาผูเรียน
ดูแลชวยเหลือผูเรียน มีประสิทธิภาพ
58
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
การปรับปรุงและพัฒนา -รอยละของครู 1.4 การป อ งกั น และ
ส ถ า น ศึ ก ษ า นํ า ผ ล ก า ร ที่ปรึกษาที่ดําเนินการ แกไขปญหา
ติดตามและประเมิน ผลการ ต า ม ร ะ บ บ ดู แ ล 1.5 การสงตอผูเรียน
พัฒ นาระบบดู แลช วยเหลื อ ช ว ยเหลื อ ผู เรี ย นที่ มี ที่มีปญหา
ผู เ รี ย นไปใช ในการพั ฒ นา ประสิทธิภาพ 2.นวัตกรรมระบบดูแล
ระบบดูแลชวยเหลือผูเรีย น ผลสะทอน ชวยเหลือผูเรียนของ
อยางตอเนื่อง ผลที่เกิดจากการ สถานศึกษา
ดําเนินการพัฒนา
ระบบดูแลชวยเหลือ
ผูเรียนที่ตอเนื่องจาก
การจากดําเนินงาน
ในเชิงคุณภาพ
- ดานนโยบาย
- ดานวิชาการ
- ดานเศรษฐกิจ
- ดานสังคม
- ดานสิ่งแวดลอม
59
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
หรือดานอื่น ๆ
ตามบริบท
ของสถานศึกษา
3. การบริหารจัดการระบบ การวางแผน ผลผลิต ระบบขอมูล และ
ขอมูลและสารสนเทศเพื่อ สถานศึ ก ษามี ก ารวางแผน สถานศึกษามีระบบ สารสนเทศเพื่อการ
การบริหารจัดการ บริ ห ารจั ด การระบบข อ มู ล ขอมูลและสารสนเทศ บริหารจัดการ
สถานศึกษา และสารสนเทศเพื่ อการ ที่จําเปนในการ สถานศึกษา
บริหารจัดการสถานศึกษา บริหารจัดการ
การดําเนินการตามแผน สถานศึกษา
สถานศึกษามีการดําเนินการ ผลลัพธ
บริ ห ารจั ด การระบบข อ มู ล สถานศึกษาใชระบบ
และสารสนเทศเพื่ อการ ขอมูลและสารสนเทศ
บริหารจัดการสถานศึกษา ในการบริหารจัดการ
การติดตามและประเมินผล สถานศึกษาอยางมี
สถานศึ ก ษาติ ด ตาม และ ประสิทธิภาพ
ประเมิ น ผลการดํ าเนิ น การ
บริ ห ารจั ด การระบบข อ มู ล
และสารสนเทศเพื่อการ
60
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
บริหารจัดการสถานศึกษา ผลสะทอน
การปรับปรุงและพัฒนา ผลที่เกิดจากการ
ส ถ า น ศึ ก ษ า นํ า ผ ล ก า ร บริหารจัดการระบบ
ติดตามและประเมิน ผลการ ขอมูล และ
บริ ห ารจั ด การระบบข อ มู ล สารสนเทศเพื่อการ
และสารสนเทศเพื่ อการ บริหารจัดการ
บริหารจัดการสถานศึกษาไป สถานศึกษาที่
ใช ใ น การบ ริ ห ารจั ด การ ตอเนื่องจากการ
สถานศึกษาอยางตอเนื่อง จากดําเนินงาน
ในเชิงคุณภาพ
- ดานนโยบาย
- ดานวิชาการ
- ดานเศรษฐกิจ
- ดานสังคม
- ดานสิ่งแวดลอม
หรือดานอื่น ๆ
ตามบริบทของ
สถานศึกษา
61
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
4. การพัฒนาอาคารสถานที่ การวางแผน ผลผลิต รายงานผลการพัฒนา
หองเรียน หองปฏิบัติการ สถานศึ ก ษามี ก ารวางแผน -จํานวนอาคาร อาคารสถานที่
โรงฝกงาน หรืองานฟารม พั ฒ น า อ า ค า ร ส ถ า น ที่ สถานที่ หองเรียน หองเรียน
ห อ งเรี ย น ห อ งปฏิ บั ติ ก าร หองปฏิบัติการ หองปฏิบัติการ
โรงฝ ก งาน หรื อ งานฟาร ม โรงฝกงาน หรือ โรงฝกงานหรืองาน
ของสถานศึกษา งานฟารมไดรับการ ฟารมที่ปลอดภัยและ
การดําเนินการตามแผน พัฒนาใหเพียงพอ เอื้อตอการจัดการ
สถานศึกษามีการดําเนินการ และปลอดภัย เอื้อ เรียนรู
พั ฒ น า อ า ค า ร ส ถ า น ที่ ตอการจัดการเรียนรู
ห อ งเรี ย น ห อ งปฏิ บั ติ ก าร
โรงฝ ก งาน หรื อ งานฟาร ม
ของสถานศึกษา
62
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
การติดตามและประเมินผล ผลลัพธ
สถานศึ ก ษาติ ด ตาม และ -รอยละของอาคาร
ป ระ เมิ น ผ ล ก าร พั ฒ น า สถานที่ หองเรียน
อาคารสถานที่ ห อ งเรี ย น หองปฏิบัติการ
ห อ งปฏิ บั ติ ก าร โรงฝ ก งาน โรงฝกงาน หรือ
ห รื อ ง า น ฟ า ร ม ข อ ง งานฟารมไดรับการ
สถานศึกษา พัฒนาใหเพียงพอ
การปรับปรุงและพัฒนา และปลอดภัย เอื้อ
สถานศึ ก ษานํ า ผลจากการ ตอการจัดการเรียนรู
ติดตามและประเมินผลการ
พั ฒ น า อ า ค า ร ส ถ า น ที่
ห อ งเรี ย น ห อ งปฏิ บั ติ ก าร
โรงฝ ก งานหรื อ งานฟาร ม
ของสถานศึกษาไปใชในการ
ป รั บ ป รุ ง แ ล ะ พั ฒ น า
สภาพแวดล อ มทั้ ง ภายใน
และภายนอกหองเรียน หอง
63
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
จัดการเรียนรูและปลอดภั ย ผลสะทอน
ห อ งปฏิ บั ติ ก าร โรงฝ ก งาน ผลที่เกิดจากการ
หรืองานฟารมใหเอื้อตอการ ดําเนินการพัฒนา
จั ด ก า ร เรี ย น รู อ ย า ง มี อาคารสถานที่
ประสิ ท ธิ ภ าพ ตามบริ บ ท หองเรียน
ของสถานศึกษา หองปฏิบัติการ โรง
ฝกงาน หรืองาน
ฟารมที่ตอเนื่องจาก
การดําเนินงานใน
เชิงคุณภาพ
- ดานนโยบาย
- ดานวิชาการ
- ดานเศรษฐกิจ
- ดานสังคม
ดานสิ่งแวดลอม หรือ
ดานอื่น ๆ ตามบริบท
ของสถานศึกษา
64
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
5. การพัฒนาระบบ การวางแผน ผลผลิต รายงานผลการ
สาธารณูปโภคพื้นฐาน สถานศึกษามีการวางแผน -สถานศึกษามีระบบ พัฒนาระบบ
พัฒนาระบบ สาธารณูปโภค สาธารณูปโภคพื้นฐาน
สาธารณูปโภคพื้นฐาน พื้นฐานเพียงพอ ไดแก
การดําเนินการตามแผน ผลลัพธ 1. ระบบไฟฟา
สถานศึกษามีการดําเนินการ สถานศึกษามีระบบ 2. ระบบน้ําเพื่อการ
พัฒนาระบบ สาธารณูปโภคที่ อุปโภค บริโภค
สาธารณูปโภคพื้นฐาน เพียงพอพรอมใชงาน 3. ระบบระบายน้ํา
และปลอดภัย และบําบัดน้ําเสียตาม
ผลสะทอน บริบทของสถานศึกษา
ผลที่เกิดจากการ 4. ระบบคมนาคม
ดําเนินการพัฒนา 5. ระบบการสื่อสาร
ระบบสาธารณูปโภค 6. ระบบรักษาความ
พื้นฐานที่ตอเนื่อง ปลอดภัย
จากการดําเนินงาน
ในเชิงคุณภาพ
- ดานนโยบาย
- ดานวิชาการ
65
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
- ดานเศรษฐกิจ
- ดานสังคม
- ดานสิ่งแวดลอม
หรือดานอื่น ๆ
ตามบริบทของ
สถานศึกษา
6. การพัฒนาแหลงเรียนรู การวางแผน ผลผลิต 1. รายงานผลการ
และศูนยวิทยบริการ ส ถ า น ศึ ก ษ า มี ก า ร ว า ง - จํานวนแหลงเรียนรู พัฒนาแหลงเรียนรูและ
แผนการพัฒนาแหลงเรียนรู และศูนยวิทยบริการ ศูนยวิทยบริการหรือ
และศูนยวิทยบริการ ที่ไดรับการพัฒนา หองสมุด
การดําเนินการตามแผน ผลลัพธ 2. รายงานผลการใช
สถานศึกษามีการดําเนินการ - รอยละของแหลง แหลงเรียนรูและศูนย
พั ฒ นาแหล ง เรี ย นรู และ เรียนรูและศูนยวิทย วิทยบริการหรือ
ศูนยวิทยบริการ บริการที่ไดรับการ หองสมุด
การติดตามและประเมินผล พัฒนา 3. นวัตกรรมการ
สถานศึ ก ษาติ ด ตาม และ ผลสะทอน พัฒนาแหลงเรียนรูและ
ประเมิ น ผลการดํ าเนิ น การ ผลที่เกิดจากการ ศูนยวิทยบริการ
พัฒนาแหลงเรียนรูและศูนย ดําเนินการพัฒนา
66
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
วิทยบริการ แหลงเรียนรูและศูนย
การปรับปรุงและพัฒนา วิทยบริการที่ตอเนื่อง
สถานศึ ก ษานํ า ผลติ ด ตาม จากการดําเนินงาน
และประเมิ น ผลการพั ฒ นา ในเชิงคุณภาพ
แหล ง เรี ย นรู แ ละศู น ย วิ ท ย - ดานนโยบาย
บริ ก ารไปใช ในการพั ฒ นา - ดานวิชาการ
แหล ง เรี ย นรู แ ละศู น ย วิ ท ย - ดานเศรษฐกิจ
บริการ - ดานสังคม
- ดานสิ่งแวดลอม
หรือดานอื่น ๆ
ตามบริบทของ
สถานศึกษา
67
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
7. การนําผลการประกัน การวางแผน ผลผลิต 1. รายงานผลการ
คุณภาพการศึกษาไปใช สถานศึ ก ษามี ก ารวางแผน แผนพัฒนาคุณภาพ ประเมินตนเอง (SAR)
ในการพัฒนาสถานศึกษา นํ า ผลการประกั น คุ ณ ภาพ การจัดการศึกษาของ 2. รายงานผลการ
อยางตอเนื่อง การศึกษาไปใชในการพัฒนา สถานศึกษา ปรับปรุงและพัฒนา
สถานศึกษาอยางตอเนื่อง ผลลัพธ คุณภาพการศึกษาจาก
การดําเนินการตามแผน ผลการพัฒนา ผลการประเมินตนเอง
สถานศึกษามีการดําเนินการ คุณภาพการศึกษา และตามขอเสนอแนะ
นํ า ผลการประกั น คุ ณ ภาพ ของสถานศึกษา ของหนวยงานตนสังกัด
การศึกษาไปใชในการพัฒนา เปนไปตามมาตรฐาน และผลการประเมิน
สถานศึกษาอยางตอเนื่อง การศึกษาของ คุณภาพภายนอกเพื่อ
การติดตามและประเมินผล สถานศึกษา นําไปสูการพัฒนา
สถานศึ ก ษาติ ด ตาม และ ผลสะทอน คุณภาพและมาตรฐาน
ประเมิ น ผลการดํ าเนิ น การ ผลที่เกิดจากการ การศึกษาของ
นํ า ผลการประกั น คุ ณ ภาพ ดําเนินการนําผลการ สถานศึกษา
การศึกษาไปใชในการพัฒนา ประกันคุณภาพ 3. นวัตกรรมการ
สถานศึกษาอยางตอเนื่อง การศึกษาไปใชใน พัฒนาคุณภาพ
การพัฒนา การศึกษาของ
สถานศึกษา สถานศึกษาตามระบบ
68
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
การปรับปรุงและพัฒนา ที่ตอเนื่องจากการ การประกั น คุ ณ ภาพ
สถานศึกษานําผลการ ดําเนินงานใน การศึกษา
ติดตามและประเมินผลการ เชิงคุณภาพ
ประกันคุณภาพการศึกษา - ดานนโยบาย
ไปใชในการพัฒนา - ดานวิชาการ
สถานศึกษาอยางตอเนื่อง - ดานเศรษฐกิจ
- ดานสังคม
- ดานสิ่งแวดลอม
หรือดานอื่น ๆ
ตามบริบท
ของสถานศึกษา
69
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
2.4 ดานการนํานโยบาย ตัวชี้วัดที่ 2.4 การนํา 1. การบริหารจัดการ การวางแผน ผลผลิต 1. รายงานผลการ
สูการปฏิบัติ นโยบายสูการปฏิบัติ สถานศึกษาตามนโยบาย สถานศึกษามีการวางแผน สถานศึกษามีการ ดําเนินงานตาม
ที่หนวยงานตนสังกัด บริหารจัดการสถานศึกษา ดําเนินการบริหาร นโยบายที่หนวยงาน
มอบหมาย ตามนโยบายที่หนวยงาน จัดการสถานศึกษา ตนสังกัดมอบหมาย
ตนสังกัดมอบหมาย ตามนโยบายสําคัญ ที่ประสบความสําเร็จ
การดําเนินการตามแผน ที่หนวยงานตนสังกัด อยางเปนรูปธรรม
สถานศึกษามีการดําเนินการ มอบหมาย เชน 2. นวัตกรรมการ
บริห ารจั ด การสถานศึ ก ษา 1.การจัดการ บริหารจัดการ
ตามนโยบายที่หนวยงาน อาชีวศึกษาระบบ สถานศึกษาตาม
ตนสังกัดมอบหมาย ทวิภาคี นโยบายที่หนวยงาน
การติดตามและประเมินผล 2. การจัดการเรียนรู ตนสังกัดมอบหมาย
สถานศึ ก ษาติ ด ตาม และ แบบตอเนื่อง (Block ของสถานศึกษา
ประเมิ น ผลการดํ าเนิ น การ Course)
บริห ารจั ด การสถานศึ ก ษา 3. การสรางและ
ตามนโยบายที่หนวยงาน พัฒนาผูประกอบการ
ตนสังกัดมอบหมาย 4. การพัฒนา
การปรับปรุงและพัฒนา สมรรถนะอาชีพที่
สถานศึกษานําผลการ สอดคลองกับความ
70
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
ติ ด ตามและประเมิ น การ ถนัด ความสนใจ โดย
บริห ารจั ด การสถานศึ ก ษา การ Re-Skill Up-
ตามนโยบายที่หนวยงานตน Skill และ New-Skill
สังกัดมอบหมายไปใชในการ พรอมทั้งสราง
บริหารจัดการสถานศึกษา ชองทางอาชีพใน
รูปแบบทีห่ ลากหลาย
ใหครอบคลุมผูเรียน
ทุกกลุมเปาหมาย
รวมทั้งผูสูงอายุ
ศูนยบมเพาะ
ผูประกอบการ
อาชีวศึกษา หรือกลุม
เกษตรกรอัจฉริยะ
(Smart Farmer)
หรือกลุมยุวเกษตรกร
อัจฉริยะ (Young
Smart Farmer)
71
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
5. การขับเคลื่อนการ
ผลิตและพัฒนา
กําลังคนตามกรอบ
คุณวุฒิแหงชาติ หรือ
กรอบคุณวุฒิอางอิง
อาเซียน หรือ
มาตรฐานสากล หรือ
มาตรฐานฝมือ
แรงงานแหงชาติ
6. การจัดการเรียน
การสอน Coding
ในสถานศึกษา
7. การจัดการศึกษา
เพื่อสรางโอกาสและ
ความเสมอภาค เชน
อาชีวะอยูประจํา
อาชีวะสรางชางฝมือ
ตามแนวทางโรงเรียน
72
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
พระดาบส อาชีวะ
เพื่อคนพิการ
8. การจัดกิจกรรม
เพื่อชวยเหลือชุมชน
และสังคม
9. นโยบายอื่น ๆ
ผลลัพธ
สถานศึกษามี
ความสําเร็จในการ
ดําเนินการบริหาร
จัดการสถานศึกษา
ตามนโยบายสําคัญ
ที่หนวยงานตนสังกัด
หรือหนวยงานที่
กํากับดูแล
สถานศึกษา
มอบหมาย โดยความ
รวมมือของผูบริหาร
73
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
ครู บุคลากรทางการ
ศึกษา และผูเรียน
รวมทั้งการชวยเหลือ
สงเสริม สนับสนุน
จากผูปกครอง ชุมชน
สถานประกอบการ
และหนวยงานที่
เกี่ยวของทั้งภาครัฐ
และภาคเอกชนอยาง
เปนรูปธรรมอยาง
นอย 3 เรื่อง
ผลสะทอน
ผลที่เกิดจากการ
ดําเนินการบริหาร
จัดการสถานศึกษา
ตามนโบบาย ที่
หนวยงานตนสังกัด
มอบหมายที่ตอเนื่อง
74
ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
จากการดําเนินงาน
ในเชิงคุณภาพ
- ดานนโยบาย
- ดานวิชาการ
- ดานเศรษฐกิจ
- ดานสังคม
- ดานสิ่งแวดลอม
หรือดานอื่น ๆ ตาม
บริบทของ
สถานศึกษา
75
ตารางที่ 3 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 3 การสรางสังคมแหงการเรียนรู
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
3 มาตรฐานที่ 3 การสราง มาตรฐานที่ 3 การสราง
สังคมแหงการเรียนรู สังคมแหงการเรียนรู
3.1 ดานความ ตัวชี้วัดที่ 3.1 ความ 1. การบริการชุมชนและ การวางแผน ผลผลิต 1.รายงานผลการจัด
รวมมือ ในการสรางสังคม รวมมือในการสรางสังคม จิตอาสา สถานศึกษามีการ - จํานวนผูบริหาร ครู กิจกรรมการใหบริการ
แหง การเรียนรู แหงการเรียนรู วางแผนการใหบริการ บุคลากรทางการ ชุมชน และจิตอาสา
ชุมชนและจิตอาสา ศึกษา และผูเรียน 2. นวัตกรรมการ
การดําเนินการตามแผน ที่รวมกิจกรรมการ บริการชุมชนและจิต
สถานศึกษามีการดําเนินการ บริการชุมชนและจิต อาสาของสถานศึกษา
บริการชุมชนและจิตอาสา อาสา
การติดตามและประเมินผล ผลลัพธ
สถานศึกษาติดตามและ รอยละของผูบริหาร
ประเมินผลการดําเนินการ ครู บุคลากรทางการ
ใหบริการชุมชนและจิตอาสา ศึกษา และผูเรียน
การปรับปรุงและพัฒนา ที่รวมกิจกรรมการ
สถานศึกษานําผลการ บริการชุมชน และจิต
ติดตามและประเมิน อาสา
บริการชุมชนและจิตอาสา ผลสะทอน
ไปใชในการบริการชุมชน ผลที่เกิดจากการ
76
ตารางที่ 3 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 3 การสรางสังคมแหงการเรียนรู (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
และจิตอาสา ดําเนินการใหบริการ
ชุมชนและจิตอาสา
ที่ตอเนื่องจากการ
ดําเนินงานใน
เชิงคุณภาพ
- ดานนโยบาย
- ดานวิชาการ
- ดานเศรษฐกิจ
- ดานสังคม
- ดานสิ่งแวดลอม
และดานอื่น ๆ
ตามบริบทของ
สถานศึกษา
77
ตารางที่ 3 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 3 การสรางสังคมแหงการเรียนรู (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
2. การจั ด การอาชี ว ศึ ก ษา การวางแผน ผลผลิต 1. รายงานผลการ
ระบบทวิภาคี สถานศึกษามีการวางแผน จํานวนผูเรียน จัดการอาชีวศึกษา
การจัดการอาชีวศึกษา อาชีวศึกษาระบบ ระบบทวิภาคี
ระบบทวิภาคี ทวิภาคีทั้งหมด 2. รายงานผลการ
การดําเนินการตามแผน ของสถานศึกษา ดําเนินการจัดการ
สถานศึกษามีการดําเนินการ ผลลัพธ อาชีวศึกษาระบบ
จัดการอาชีวศึกษา - รอยละของผูเรียน ทวิภาคีตามมาตรฐาน
ระบบทวิภาคี อาชีวศึกษาระบบ การจัดการอาชีวศึกษา
การติดตามและประเมินผล ทวิภาคีเมื่อเทียบกับ ระบบทวิภาคี
สถานศึกษาติดตามและ จํานวนผูเรียนทั้งหมด 3. นวัตกรรมการจัด
ประเมินผลการดําเนินการ ของสถานศึกษา การศึกษาอาชีวศึกษา
จัดการอาชีวศึกษา -การจัดการ ระบบทวิภาคี
ระบบทวิภาคี อาชีวศึกษาระบบ
การปรับปรุงและพัฒนา ทวิภาคีเปนไปตาม
สถานศึกษานําผลการ มาตรฐานการจัดการ
ติดตามและประเมินผล อาชีวศึกษาระบบ
จัดการอาชีวศึกษาระบบ ทวิภาคี
ทวิภาคีไปใชปรับปรุงและ
78
ตารางที่ 3 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 3 การสรางสังคมแหงการเรียนรู (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
พั ฒ นาการในการจั ด การ ผลสะทอน
อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ผลที่เกิดจากการ
ดําเนินการจัดการ
อาชีวศึกษาระบบ
ทวิภาคีที่ตอเนื่องจาก
การดําเนินงานใน
เชิงคุณภาพ
- ดานนโยบาย
- ดานวิชาการ
- ดานเศรษฐกิจ
- ดานสังคม
- ดานสิ่งแวดลอม
และดานอื่น ๆ
ตามบริบทของ
สถานศึกษา
79
ตารางที่ 3 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 3 การสรางสังคมแหงการเรียนรู (ตอ)

ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
3. การระดมทรัพยากร การวางแผน ผลผลิต 1. รายงานผลการ
เพื่อการจัดการเรียน สถานศึกษามีการวาง สถานศึกษามีการ ระดมทรัพยากรเพื่อ
การสอน แผนการระดมทรัพยากร ระดมทรัพยากรจาก การจัดการเรียนการ
เพื่อการจัดการเรียน ภาคีเครือขายความ สอน
การสอน รวมมือในการจัด 2. ขอมูลภาคีเครือขาย
การดําเนินการตามแผน การศึกษา ความรวมมือในการ
สถานศึกษามีการดําเนินการ ผลลัพธ ระดมทรัพยากรเพื่อ
ระดมทรัพยากรเพื่อการ ผลการระดม การจัดการศึกษา
จัดการเรียนการสอน ทรัพยากรเพื่อการ 3. นวัตกรรมการระดม
การติดตามและประเมินผล จัดการศึกษา เชน ทรัพยากรเพื่อการ
สถานศึกษาติดตามและ - ครูพิเศษ จัดการเรียนการสอน
ประเมินผลการดําเนินการ - ครูภูมิปญญา
ระดมทรัพยากรเพื่อการ ทองถิ่น
จัดการเรียนการสอน - ครูผูเชี่ยวชาญ
การปรับปรุงและพัฒนา - ครูแลกเปลี่ยน
สถานศึกษานําผลการ - ผูทรงคุณวุฒิ
ติดตามและประเมินการ - สถานประกอบการ
80
ตารางที่ 3 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 3 การสรางสังคมแหงการเรียนรู (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
ระดมทรัพยากรเพื่อการ - งบประมาณ
จัดการเรียนการการสอน - ทุนการศึกษา
ไปใชในการจัดการศึกษา - วัสดุ อุปกรณ
ของสถานศึกษา ครุภัณฑ
- อื่น ๆ
ผลสะทอน
ผลที่เกิดจากการ
ดําเนินการระดม
ทรัพยากรเพื่อการ
จัดการเรียนการสอน
ที่ตอเนื่องจากการ
ดําเนินงานใน
เชิงคุณภาพ
- ดานนโยบาย
- ดานวิชาการ
81
ตารางที่ 3 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 3 การสรางสังคมแหงการเรียนรู (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
- ดานเศรษฐกิจ
- ดานสังคม
- ดานสิ่งแวดลอม
และดานอื่น ๆ
ตามบริบทของ
สถานศึกษา
3.2 ดานนวัตกรรม ตัวชี้วัดที่ 3.2 นวัตกรรม 1. การสงเสริมและสนับสนุน การวางแผน ผลผลิต 1. รายงานผลการ
สิ่งประดิษฐ สิ่งประดิษฐ การพัฒนานวัตกรรม สถานศึกษามีการวางแผน - จํานวนนวัตกรรม สงเสริมและสนับสนุน
งานสรางสรรค งานวิจัย งานสรางสรรค สิ่งประดิษฐ งานสรางสรรค สงเสริมและสนับสนุนการ สิ่งประดิษฐ การพัฒนานวัตกรรม
และงานวิจัย และงานวิจัยโดยการมีสวน พัฒนานวัตกรรม งานสรางสรรค สิ่งประดิษฐ งาน
รวมของครู ผูเรียน หรือ สิ่งประดิษฐ งานสรางสรรค งานวิจัย สรางสรรค และ
บุคคล ชุมชน และองคกร และงานวิจัยโดยการมี - จํานวนครูที่มีสวน งานวิจัยโดยการมีสวน
ตาง ๆ สวนรวมของครู ผูเรียน หรือ รวมในการสงเสริม รวมของครู ผูเรียน
บุคคล ชุมชน และองคกร สนับสนุนการจัดทํา หรือบุคคล ชุมชน และ
ตาง ๆ องคกรตาง ๆ
การดําเนินการตามแผน 2. รายงานผลการนํา
สถานศึกษาดําเนินการ นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ
สงเสริม สนับสนุนดาน งานสรางสรรค
82
ตารางที่ 3 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 3 การสรางสังคมแหงการเรียนรู (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งาน นวัตกรรม งานวิจัยไปใชประโยชน
สรางสรรค งานวิจัยโดยการ สิ่งประดิษฐ ไดตามวัตถุประสงค
มีสวนของครู ผูเรียน หรือ งานสรางสรรค และเผยแพรสู
บุคคล ชุมชน และองคกร งานวิจัยของผูเรียน สาธารณชน
ตาง ๆ ผลลัพธ 3. นวัตกรรมการ
การติดตามและประเมินผล - รอยละของวัตกรรม สงเสริม สนับสนุน
สถานศึกษาติดตามและ สิ่งประดิษฐ ดานวัตกรรม
ประเมินผลการดําเนินการ งานสรางสรรค สิ่งประดิษฐ
สงเสริม สนับสนุน งานวิจัยที่นําไปใช งานสรางสรรค
ดานนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ ประโยชนไดตาม งานวิจัย
งานสรางสรรค งานวิจัยโดย วัตถุประสงคและ
การมีสวนของครู ผูเรียน เผยแพรสูสาธารณชน
หรือบุคคล ชุมชน และ ผลสะทอน
องคกรตาง ๆ ผลที่เกิดจากการ
การปรับปรุงและพัฒนา
สถานศึกษานําผลการ
ติดตามและประเมินผล
การสงเสริม สนับสนุน
83
ตารางที่ 3 ความเชื่อมโยงระหวางระบบการประกันคุณภาพภายในกับระบบการประกันคุณภาพภายนอกมาตรฐานที่ 3 การสรางสังคมแหงการเรียนรู (ตอ)
ภารกิจหรือกิจกรรม
ของสถานศึกษา
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพ แนวทางการพัฒนา ผลการพัฒนา
ที่เชื่อมโยงระหวางมาตรฐาน
พ.ศ. 2561 ภายนอกสถานศึกษา คุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา เอกสารหลักฐาน
ที่ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
3 มาตรฐาน ดานการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา ของสถานศึกษา เชิงประจักษ
และตัวชี้วัดการประกัน
9 ประเด็นการประเมิน 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา
ดานการอาชีวศึกษา
ดานนวัตกรรม ดําเนินการสงเสริมสนับสนุน
สิ่งประดิษฐ ดานนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ
งานสรางสรรค งานสรางสรรค งานวิจัยโดย
งานวิจัยโดย การมีสวนรวมของครู ผูเรียน
การมีสวนของครู หรือบุคคล ชุมชนและองคกร
ผูเรียน หรือบุคคล ตาง ๆ ที่ตอเนื่องจากการ
ชุมชน และองคกร ดําเนินงานใน
ตาง ๆ ไปใชในการ เชิงคุณภาพ
สงเสริมและสนับสนุน - ดานนโยบาย
การพัฒนานวัตกรรม - ดานวิชาการ
สิ่งประดิษฐ - ดานเศรษฐกิจ
งานสรางสรรค - ดานสังคม
และงานวิจัย - ดานสิ่งแวดลอม
และดานอื่น ๆ ตามบริบท
ของสถานศึกษา
84

6. ระบบการประกันคุณภาพภายนอก
พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562 มาตรา 47 มาตรา
49 และมาตรา 51 ไดกําหนดสาระสําคัญของการประกันคุณภาพภายนอกไว ดังนี้
6.1 ให มี สํ า นั ก งานรั บ รองมาตรฐานและการประเมิ น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา มี ฐ านะเป น องค ก ารมหาชน
ทํ า หน า ที่ พั ฒ นาเกณฑ วิ ธี ก ารประเมิ น คุ ณ ภาพภาบนอก และทํ า การประเมิ น ผลการจั ด การศึ ก ษา เพื่ อ ให มี
การตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา โดยคํานึงถึงความมุงหมาย หลักการ และแนวทางการจัดการศึกษาในแตละระดับ
ตามที่กําหนด
6.2 ให มี ก ารประเมิ น คุ ณ ภาพภายนอกของสถานศึ ก ษาทุ ก แห ง อย า งน อ ยหนึ่ ง ครั้ ง ในทุ ก ห า ป นั บ ตั้ ง แต
การประเมินครั้งสุดทาย และเสนอผลการประเมินตอหนวยงานที่เกี่ยวของและสารธารณชน
6.3 ในกรณีที่ผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาใดไมไดตามมาตรฐานที่กําหนด ใหสํานักงานรับรอง
มาตรฐานและประเมิ น คุ ณ ภ าพ การศึ ก ษาจั ด ทํ า ข อ เสนอแนะการปรั บ ปรุ ง แก ไ ขต อ หน ว ยงานต น สั ง กั ด
เพื่อใหสถานศึกษาปรับปรุงแกไขภายในระยะเวลาที่กําหนด
6.4 หากสถานศึกษามิไดดําเนินการปรับปรุงแกไขภายในระยะเวลาที่กําหนดใหสํานักงานรับรองมาตรฐานและ
ประเมินคุณภาพการศึกษารายงานตอคณะกรรมการการอาชีวศึกษาเพื่อดําเนินการใหมีการปรับปรุงแกไข
ระบบการประกันคุณภาพภายนอก แสดงดังภาพที่ 2

ภาพที่ 2 แสดงระบบการประกันคุณภาพภายนอก
85

7. ขั้นตอนการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษา
สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) ไดประกาศกรอบแนวทางการประกัน
คุณภาพภายนอกสถานศึกษา ดานการอาชีวศึกษา ลงวันที่ 28 เมษายน 2566 ไดกําหนดขั้นตอนการประกันคุณภาพภา
นอกสถานศึกษาดานการอาชีวศึกษา ดังนี้
7.1 หลักเกณฑการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษา
7.1.1 ให มี ก ารประเมิ น คุ ณ ภาพภายนอกสถานศึ ก ษาทุ ก แห งอย า งน อ ยหนึ่ ง ครั้ ง ในทุ ก ห า ป นั บ ตั้ ง แต
การประเมินครั้งสุดทาย และเสนอผลการประเมินตอหนวยงานที่เกี่ยวของและสาธารณชน
7.1.2 สถานศึ ก ษาที่ จ ะได รั บ การประกั น คุ ณ ภาพภายนอก ต อ งเป น สถานศึ ก ษาที่ จั ด ให มี ร ะบบ
การประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายในสถานศึ ก ษา มี ก ารรายงานการประเมิ น ตนเองของสถานศึ ก ษา (SAR)
ใหหนวยงานตนสังกัดหรือหนวยงานที่กํากับดูแลเพื่อพิจารณาสงรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ใหกับ
สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) และมีการดําเนินการตามหลักเกณฑวิธีการที่
กําหนดไวในกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561
7.1.3 สถานศึกษาที่จะไดรับการประกันคุณภาพภายนอกตองเปนสถานศึกษาที่ผานการวิเคราะหรับรองจาก
หนวยงานตนสังกัด
7.1.4 การตัดสินผลการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาดานการอาชีวศึกษา ใหเปนไปตามหลักเกณฑ
ดังนี้
1) กรณี ที่ ส ถานศึ ก ษามี ผ ลการดํ า เนิ น งานของสถานศึ ก ษาแต ล ะมาตรฐานครบถ ว นตามตั ว ชี้ วั ด
ที่กําหนด สามารถตรวจสอบโดยการประเมินจากเอกสารหลักฐานเชิงประจักษ ผลการประกันคุณภาพภายนอก ถือวา
"เปนไปตามมาตรฐาน"
2) กรณีที่สถานศึกษาที่มีผลการดําเนินงานของสถานศึกษาแตละมาตรฐานยังไมสามารถดําเนินการ
ตามตัวชี้วัดได อยางครบถวน หรือไมมีรองรอยการดําเนิน งานที่ต รวจสอบไดจากหลั กฐานเชิงประจักษ ผลการประกั น
คุณภาพภายนอกถือวา "อยูระหวางการพัฒนา"
7.2 ขั้นตอนการดําเนินการ
7.2.1 สมศ. แตงตั้งคณะผูประเมินภายนอก ทําการประเมินและวิเคราะหรายงานผลการประเมินตนเองของ
สถานศึกษาที่ไดรับจากหนวยงานตันสังกัดหรือหนวยงานที่กํากับดูแลสถานศึกษา ในกรณีที่มีการจัดสงประเด็นตาง ๆ ที่
ตองการใหมีการประเมินและตรวจสอบจากหนวยงานตนสังกัด หนวยงานที่กํากับดูแลหนวยงานที่เกี่ยวของหรือผูมีสวนได
เสียกับสถานศึกษานั้น ใหคณะผูประเมินภายนอกนํามาใชเปนขอมูลประกอบการประเมินดวย
7.2.2 คณะผู ป ระเมิ น ภายนอกเสนอผลการวิ เคราะห ร ายงานผลการประเมิ น ตนเองของสถานศึ กษาต อ
สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) และสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) เสนอตอคณะกรรมการพัฒนาระบบเพื่อพิจารณาเลือกรูปแบบการลงพื้นที่ตรวจเยี่ยม
สถานศึกษา
7.2.3 คณะผูประเมินภายนอกลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมสถานศึกษาตามรูปแบบที่คณะกรรมการพัฒนาระบบได
เลื อ กและเมื่ อตรวจเยี่ ย มสถานศึ ก ษาแล ว ให จั ด ทํ ารายงานผลการประกั น คุ ณ ภาพภายนอกของสถานศึ ก ษาภายใน
86

ระยะเวลาที่ สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) กําหนดแลวสงใหสถานศึกษานั้น


ยืนยันหรือไมยนื ยันผลการประกันคุณภาพภายนอก
7.2.4 เมื่อสถานศึกษาไดรับรายงานผลการประกันคุณภาพภายนอกแลว ใหดําเนินการตามขั้นตอนที่ สมศ.
กําหนด ในการยืนยันและรับรองผล โดยดําเนินการภายในกรอบระยะเวลาไมเกินสามสิบวันคณะผูประเมินภายนอกสง
รายงานผลการประกันคุณภาพภายนอกใหกับสถานศึกษา ดังตอไปนี้
1) หากสถานศึกษาพิจารณายืนยันผลการประกันคุณภาพภายนอกแลวเห็นวา เปนไปตามบริบทของ
สถานศึกษา สถานศึกษาสงหนังสือยืนยันผลการประกันคุณภาพภายนอกใหกับคณะผูประเมินภายนอกและคณะผูประเมิน
ภายนอกจัดสงการยืนยันไปยัง สมศ. เพื่อเสนอรายงานผลการประกันคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาตอคณะกรรมการ
พั ฒ นาระบบพิจ ารณากลั่ น กรองและให ความเห็ น ชอบกอนเสนอตอคณะกรรมการเพื่ อรับ รองคุณ ภาพการศึ กษาของ
สถานศึกษานั้นตอไป
2) กรณี สถานศึ ก ษาตรวจสอบแล ว ไม ยื น ยั น ผลรายงานการประกั น คุ ณ ภาพภายนอกและ
ขอทบทวนผลการประกั น คุณ ภาพภายนอก คณะผู ป ระเมิน ภายนอกพิ จารณาการขอทบทวนผลการประกั น คุณ ภาพ
ภายนอกแล ว หากเห็ นด วยคณะผูป ระเมิ น ภายนอกดําเนิน การแกไขใหถูกตองหรือเปน ไปตามที่ส ถานศึกษาเสนอขอ
ทบทวน และหากไมเห็นดวยและยังคงยืนยันผลการประกันคุณภาพภายนอก คณะผูประเมินภายนอกแจงสถานศึกษาและ
สงเรื่องให สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) เพื่อนําเขาสูการพิจารณาทบทวน
ผลการประกันคุณภาพภายนอกของคณะทํางานซึ่งแตงตั้งโดยคณะกรรมการพัฒนาระบบ เปนรายกรณี
7.2.5 เมื่อคณะทํางานซึ่งแตงตั้งโดยคณะกรรมการพัฒนาระบบพิจารณาแลว นําผลการพิจารณาเสนอตอ
คณะกรรมการพัฒนาระบบเพื่อพิจารณาใหความเห็นชอบ กอนเสนอตอคณะกรรมการเพื่อพิจารณารับรองหรือไมรับรอง
ผลการประกันคุณภาพภายนอก
ขั้นตอนการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษา แสดงดังภาพที่ 3-4

ภาพที่ 3 แสดงขั้นตอนการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษา
หลักเกณฑการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษา
87

ภาพที่ 4 แสดงขั้นตอนการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาขั้นตอนการดําเนินงาน

8. การรายงานผลการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
สถานศึกษารายงานผลการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โดยการระบุแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ของสถานศึกษาอาชีวศึกษา และผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ดังนี้
8.1 แนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา
แนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษาในแตละมาตรฐานหรือประเด็นการประเมิน
หรือตัวชี้วัด ในแตละภารกิจหรือกิจกรรมของสถานศึกษาตามวงจรคุณภาพ ไดแก
8.1.1 การวางแผน
8.1.2 การดําเนินการตามแผน
8.1.3 การติดตามและประเมินผล
8.1.4 การปรับปรุงและพัฒนา
8.2 ผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
ผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาที่เกิดผลสัมฤทธิ์ ในแตละมาตรฐานหรือประเด็นการประเมิน
หรือตัวชี้วัด ในแตละภารกิจหรือกิจกรรมของสถานศึกษา ประกอบดวย
8.2.1 ผลผลิต (Output) หมายถึง ผลทีเ่ กิดจาการดําเนินงานในเชิงปริมาณของการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ของสถานศึกษา
8.2.2 ผลลัพธ (Outcome) หมายถึง ผลที่เกิดจากการดําเนินงานในเชิงคุณภาพของการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาของสถานศึกษา
88

8.2.3 ผลสะทอน (Impact) หมายถึง ผลที่เกิดจากการดําเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ สถานศึกษา


ที่ตอเนื่องจากผลลัพธในดานนโยบาย ดานวิชาการ ดานเศรษฐกิจ ดานสังคม ดานสิ่งแวดลอม และดานอื่น ๆ
8.3 เกณฑการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและภารกิจหรือกิจกรรมของ
สถานศึกษา
สถานศึกษาประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและภารกิจหรือกิจกรรมของสถานศึกษา
ตามเกณฑการประเมิน ดังนี้
8.3.1 สถานศึกษาพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษาในแตละมาตรฐานหรือประเด็นการ
ประเมิ น หรื อ ตั ว ชี้ วั ด ในแต ล ะภารกิ จ หรื อ กิ จ กรรมของสถานศึ ก ษาตามวงจรคุ ณ ภาพครบถ ว นทุ ก ขั้ น ตอน ได แ ก
การวางแผน การดําเนินการตามแผน การติดตามและประเมินผล และการปรับปรุงและพัฒนา
8.3.2 สถานศึกษามีผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาที่เกิดผลสัมฤทธิ์ ในแตละมาตรฐานหรือ
ประเด็นการประเมิน หรือตัวชี้วัด ในแต ละภารกิจหรือกิจกรรมของสถานศึกษา ประกอบดวย ผลผลิต ผลลัพธ และ
ผลสะทอน
8.3.3 สถานศึกษามีผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาที่เปนแบบอยางที่ดี (Best Practice) และ
มีการเผยแพรสูสาธารณชน
สถานศึกษาที่ดําเนินการตามระบบการประกันคุณภาพการศึกษาตามเกณฑการประเมิน ขอ 8.3.1 ขอ 8.3.2
และสามารถตรวจสอบโดยการประเมิ น จากเอกสารหลั ก ฐานเชิ งประจั กษ ถื อ ว ามี ผ ลการดํ าเนิ น งาน “เป น ไปตาม
มาตรฐาน”

9. การวิเคราะหประเด็นของรายงานผลการประเมินตนเอง
กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ขอที่ 4 ระบุไววา เมื่อหนวยงานตนสังกัดไดรับรายงาน
ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาแลว ใหหนวยงานตนสังกัดหรือหนวยงานที่กํากับดูแลสถานศึกษาจัดสงรายงาน
ดังกล าว พรอมกั บ ประเด็ น ต าง ๆ ที่ ตองการใหมีการประเมิน ผลและติดตามตรวจสอบ ซึ่งรวบรวมไดจ ากหนว ยงาน
ที่เกี่ ย วข องหรือ ผู มี ส ว นได ส ว นเสี ย กั บ สถานศึ กษา ให แ กสํ านั กงานรับ รองมาตรฐานและประเมิน คุ ณ ภาพการศึกษา
(องคการมหาชน) เพื่อใชเปนขอมูลและแนวทางในการประเมินคุณภาพภายนอก สาระสําคัญของการวิเคราะหประเด็น
การรายงานผลการประเมินตนเอง แสดงดังตารางที่ ๙.๑-๙.๒
89

ตารางที่ 9.1 การวิเคราะหประเด็นจากระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา


ผลการวิเคราะหประเด็นของรายงานผลการประเมินตนเอง
ระบบการประกันคุณภาพภายใน แนวทางการพัฒนาคุณภาพ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ที่ สถานศึกษาตามกฎกระทรวงการประกัน ของสถานศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
การศึกษาของสถานศึกษา
คุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561
อาชีวศึกษา
1 การกําหนดมาตรฐานการศึกษาของ  มีการวางแผน  ดานผลผลิต
สถานศึกษาใหเปนไปตามมาตรฐานการศึกษา  มีการดําเนินการตามแผน  ดานผลลัพธ
แตละระดับและประเภทการศึกษาที่  มีการติดตามและประเมินผล  ดานผลสะทอน
รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการประกาศ  มีการปรับปรุงและพัฒนา
กําหนด
2 การจัดทําแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ  มีการวางแผน  ดานผลผลิต
สถานศึกษาที่มุงคุณภาพตามมาตรฐาน  มีการดําเนินการตามแผน  ดานผลลัพธ
การศึกษา  มีการติดตามและประเมินผล  ดานผลสะทอน
 มีการปรับปรุงและพัฒนา
3 การดําเนินการตามแผนพัฒนาการจัด  มีการวางแผน  ดานผลผลิต
การศึกษาของสถานศึกษา  มีการดําเนินการตามแผน  ดานผลลัพธ
 มีการติดตามและประเมินผล  ดานผลสะทอน
 มีการปรับปรุงและพัฒนา
4 การประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพ  มีการวางแผน  ดานผลผลิต
การศึกษาภายในสถานศึกษา  มีการดําเนินการตามแผน  ดานผลลัพธ
 มีการติดตามและประเมินผล  ดานผลสะทอน
 มีการปรับปรุงและพัฒนา
5 การติดตามผลการดําเนินการเพื่อพัฒนา  มีการวางแผน  ดานผลผลิต
สถานศึกษาใหมีคุณภาพตามมาตรฐาน  มีการดําเนินการตามแผน  ดานผลลัพธ
การศึกษา  มีการติดตามและประเมินผล  ดานผลสะทอน
 มีการปรับปรุงและพัฒนา
6 การจัดสงรายงานผลการประเมินตนเองใหแก  มีการวางแผน  ดานผลผลิต
หนวยงานตนสังกัดหรือหนวยงานที่กํากับดูแล  มีการดําเนินการตามแผน  ดานผลลัพธ
สถานศึกษาเปนประจําทุกป  มีการติดตามและประเมินผล  ดานผลสะทอน
 มีการปรับปรุงและพัฒนา
90

ตารางที่ 9.1 การวิเคราะหประเด็นจากระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา (ตอ)


ระบบการประกันคุณภาพภายใน ผลการวิเคราะหรายงานผลการประเมินตนเอง
ที่ สถานศึกษาตามกฎกระทรวงการประกัน การดําเนินงานระบบการประกัน การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
คุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 คุณภาพภายในสถานศึกษา ของสถานศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
7 ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาจากผล  มีการวางแผน  ดานผลผลิต
การประเมินตนเองตามขอเสนอแนะของ  มีการดําเนินการตามแผน  ดานผลลัพธ
หนวยงานตนสังกัด และผลการประเมิน  มีการติดตามและประเมินผล  ดานผลสะทอน
คุณภาพภายนอกเพื่อนําไปสูการพัฒนา  มีการปรับปรุงและพัฒนา
คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา

จุดเดนของการขับเคลื่อนระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
จุดที่ควรพัฒนาของการขับเคลื่อนระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนาของการขับเคลื่อนระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ผลของการขับเคลื่อนระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาสงผลตอการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ
สถานศึกษาทีเ่ ปนแบบอยางที่ดี (Best Practice) และมีการเผยแพรสูสาธารณชน
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
91

ตารางที่ 9.2 การวิเคราะหประเด็นจากผลการดําเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและภารกิจหรือกิจกรรม


ของสถานศึกษา
ผลการวิเคราะหประเด็นของรายงานผลการประเมินตนเอง
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา แนวทางการพัฒนาคุณภาพ ผลการพัฒนาคุณภาพ
ที่
และภารกิจหรือกิจกรรมของสถานศึกษา การศึกษาของสถานศึกษา การศึกษาของสถานศึกษา
อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษา
อาชีวศึกษาที่พึงประสงค
1.1 ดานความรู
1.1.1 การพัฒนาสมรรถนะผูสําเร็จการศึกษา  มีการวางแผน  ดานผลผลิต
ในหมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง  มีการดําเนินการตามแผน  ดานผลลัพธ
 มีการติดตามและประเมินผล  ดานผลสะทอน
 มีการปรับปรุงและพัฒนา
1.1.2 การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ  มีการวางแผน  ดานผลผลิต
 มีการดําเนินการตามแผน  ดานผลลัพธ
 มีการติดตามและประเมินผล  ดานผลสะทอน
 มีการปรับปรุงและพัฒนา
1.1.3 การทดสอบหรือประเมินสมรรถนะ  มีการวางแผน  ดานผลผลิต
บุคคลของผูสําเร็จการศึกษาตาม  มีการดําเนินการตามแผน  ดานผลลัพธ
มาตรฐานอื่น ๆ (ถามี)  มีการติดตามและประเมินผล  ดานผลสะทอน
 มีการปรับปรุงและพัฒนา
1.2 ดานทักษะและการประยุกตใช
1.2.1 การพัฒนาสมรรถนะผูสําเร็จการศึกษา  มีการวางแผน  ดานผลผลิต
ในหมวดวิชาสมรรถนะอาชีพ  มีการดําเนินการตามแผน  ดานผลลัพธ
 มีการติดตามและประเมินผล  ดานผลสะทอน
 มีการปรับปรุงและพัฒนา
1.2.2 การประกวดหรือแขงขันทักษะวิชาชีพ  มีการวางแผน  ดานผลผลิต
 มีการดําเนินการตามแผน  ดานผลลัพธ
 มีการติดตามและประเมินผล  ดานผลสะทอน
 มีการปรับปรุงและพัฒนา
1.2.3 สมรรถนะในการเปนผูป ระกอบการ  มีการวางแผน  ดานผลผลิต
หรือประกอบอาชีพอิสระ  มีการดําเนินการตามแผน  ดานผลลัพธ
 มีการติดตามและประเมินผล  ดานผลสะทอน
 มีการปรับปรุงและพัฒนา
92

ตารางที่ 9.2 การวิเคราะหประเด็นจากผลการดําเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและภารกิจหรือกิจกรรม


ของสถานศึกษา (ตอ)
ผลการวิเคราะหประเด็นของรายงานผลการประเมินตนเอง
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา แนวทางการพัฒนาคุณภาพ ผลการพัฒนาคุณภาพ
ที่
และภารกิจหรือกิจกรรมของสถานศึกษา การศึกษาของสถานศึกษา การศึกษาของสถานศึกษา
อาชีวศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
1.2.4 การทดสอบหรือประเมิน สมรรถนะบุคคล  มีการวางแผน  ดานผลผลิต
ของผูสําเร็จการศึกษาตามมาตรฐานอาชีพ  มีการดําเนินการตามแผน  ดานผลลัพธ
 มีการติดตามและประเมินผล  ดานผลสะทอน
 มีการปรับปรุงและพัฒนา
1.2.5 การมีงานทําและศึกษาตอของผูสําเร็จ  มีการวางแผน  ดานผลผลิต
การศึกษา  มีการดําเนินการตามแผน  ดานผลลัพธ
 มีการติดตามและประเมินผล  ดานผลสะทอน
 มีการปรับปรุงและพัฒนา
1.2.6 ความพึงพอใจของหนวยงาน สถาน  มีการวางแผน  ดานผลผลิต
ประกอบการ หรือผูใชตอคุณภาพของ  มีการดําเนินการตามแผน  ดานผลลัพธ
ผูสําเร็จการศึกษา  มีการติดตามและประเมินผล  ดานผลสะทอน
 มีการปรับปรุงและพัฒนา
1.3 ดานคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึง
ประสงค
1.3.1 การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และ  มีการวางแผน  ดานผลผลิต
คุณลักษณะที่พึงประสงคของผูสําเร็จ  มีการดําเนินการตามแผน  ดานผลลัพธ
การศึกษา  มีการติดตามและประเมินผล  ดานผลสะทอน
 มีการปรับปรุงและพัฒนา
1.3.2 การประเมินคุณลักษณะที่พึงประสงคของ  มีการวางแผน  ดานผลผลิต
ผูสําเร็จการศึกษา  มีการดําเนินการตามแผน  ดานผลลัพธ
 มีการติดตามและประเมินผล  ดานผลสะทอน
 มีการปรับปรุงและพัฒนา
1.3.3 การดูแลชวยเหลือและแนะแนวผูสําเร็จ  มีการวางแผน  ดานผลผลิต
การศึกษา  มีการดําเนินการตามแผน  ดานผลลัพธ
 มีการติดตามและประเมินผล  ดานผลสะทอน
 มีการปรับปรุงและพัฒนา
93

จุดเดนของมาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
จุดที่ควรพัฒนาของมาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนาของมาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานที่ 1 ที่เปนแบบอยางที่ดี (Best Practice)
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
94

ตารางที่ 9.2 การวิเคราะหประเด็นจากผลการดําเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและภารกิจหรือกิจกรรม


ของสถานศึกษา (ตอ)

ผลการวิเคราะหรายงานผลการประเมินตนเอง
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา แนวทางการพัฒนาคุณภาพ ผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ที่
และภารกิจหรือกิจกรรมของสถานศึกษา การศึกษา ของสถานศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
ของสถานศึกษาอาชีวศึกษา
มาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา
2.1 ดานหลักสูตรอาชีวศึกษา
2.1.1 การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ  มีการวางแผน  ดานผลผลิต
อยางเปนระบบ  มีการดําเนินการตามแผน  ดานผลลัพธ
 มีการติดตามและประเมินผล  ดานผลสะทอน
 มีการปรับปรุงและพัฒนา
1.2.2 การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ  มีการวางแผน  ดานผลผลิต
โดยการปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือ  มีการดําเนินการตามแผน  ดานผลลัพธ
กําหนดรายวิชาเพิ่มเติม  มีการติดตามและประเมินผล  ดานผลสะทอน
 มีการปรับปรุงและพัฒนา
2.2 ดานการจัดการเรียนการสอน
อาชีวศึกษา
2.2.1 การพัฒนาคุณภาพแผนการจัดการ  มีการวางแผน  ดานผลผลิต
เรียนรู ที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ  มีการดําเนินการตามแผน  ดานผลลัพธ
 มีการติดตามและประเมินผล  ดานผลสะทอน
 มีการปรับปรุงและพัฒนา
2.2.2 การนําแผนการจัดการเรียนรูที่เนน  มีการวางแผน  ดานผลผลิต
ผูเรียนเปนสําคัญไปใชในการจัดการ  มีการดําเนินการตามแผน  ดานผลลัพธ
เรียนการสอน  มีการติดตามและประเมินผล  ดานผลสะทอน
 มีการปรับปรุงและพัฒนา
2.2.3 การสงเสริมใหผูเรียนไดฝก  มีการวางแผน  ดานผลผลิต
ประสบการณสมรรถนะวิชาชีพหรือ  มีการดําเนินการตามแผน  ดานผลลัพธ
ฝกอาชีพ  มีการติดตามและประเมินผล  ดานผลสะทอน
 มีการปรับปรุงและพัฒนา
2.2.4 การจัดการเรียนการสอนดวยเทคนิค  มีการวางแผน  ดานผลผลิต
วิธีการสอนที่หลากหลาย  มีการดําเนินการตามแผน  ดานผลลัพธ
 มีการติดตามและประเมินผล  ดานผลสะทอน
 มีการปรับปรุงและพัฒนา
95

ตารางที่ 9.2 การวิเคราะหประเด็นจากผลการดําเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและภารกิจหรือกิจกรรม


ของสถานศึกษา (ตอ)

ผลการวิเคราะหรายงานผลการประเมินตนเอง
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา แนวทางการพัฒนาคุณภาพ ผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ที่
และภารกิจหรือกิจกรรมของสถานศึกษา การศึกษา ของสถานศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
ของสถานศึกษาอาชีวศึกษา
2.2.5 การบริหารจัดการชั้นเรียนที่เหมาะสม  มีการวางแผน  ดานผลผลิต
 มีการดําเนินการตามแผน  ดานผลลัพธ
 มีการติดตามและประเมินผล  ดานผลสะทอน
 มีการปรับปรุงและพัฒนา
2.2.6 การพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ  มีการวางแผน  ดานผลผลิต
 มีการดําเนินการตามแผน  ดานผลลัพธ
 มีการติดตามและประเมินผล  ดานผลสะทอน
 มีการปรับปรุงและพัฒนา
2.2.7 การใชเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดการ  มีการวางแผน  ดานผลผลิต
เรียนการสอน  มีการดําเนินการตามแผน  ดานผลลัพธ
 มีการติดตามและประเมินผล  ดานผลสะทอน
 มีการปรับปรุงและพัฒนา
2.3 ดานการบริหารจัดการ
2.3.1 การบริหารจัดการสถานศึกษาแบบ  มีการวางแผน  ดานผลผลิต
มีสวนรวม  มีการดําเนินการตามแผน  ดานผลลัพธ
 มีการติดตามและประเมินผล  ดานผลสะทอน
 มีการปรับปรุงและพัฒนา
2.3.2 การพัฒนาระบบดูแลชวยเหลือผูเรียน  มีการวางแผน  ดานผลผลิต
 มีการดําเนินการตามแผน  ดานผลลัพธ
 มีการติดตามและประเมินผล  ดานผลสะทอน
 มีการปรับปรุงและพัฒนา
2.3.3 การบริหารจัดการระบบขอมูลและ  มีการวางแผน  ดานผลผลิต
สารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ  มีการดําเนินการตามแผน  ดานผลลัพธ
สถานศึกษา  มีการติดตามและประเมินผล  ดานผลสะทอน
 มีการปรับปรุงและพัฒนา
96

ตารางที่ 9.2 การวิเคราะหประเด็นจากผลการดําเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและภารกิจหรือกิจกรรม


ของสถานศึกษา (ตอ)

ผลการวิเคราะหรายงานผลการประเมินตนเอง
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา แนวทางการพัฒนาคุณภาพ ผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ที่
และภารกิจหรือกิจกรรมของสถานศึกษา การศึกษา ของสถานศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
ของสถานศึกษาอาชีวศึกษา
2.3.4 การพัฒนาอาคารสถานที่ หองเรียน  มีการวางแผน  ดานผลผลิต
หองปฏิบัติการ โรงฝกงาน หรืองานฟารม  มีการดําเนินการตามแผน  ดานผลลัพธ
 มีการติดตามและประเมินผล  ดานผลสะทอน
 มีการปรับปรุงและพัฒนา
2.3.5 การพัฒนาระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน  มีการวางแผน  ดานผลผลิต
 มีการดําเนินการตามแผน  ดานผลลัพธ
 มีการติดตามและประเมินผล  ดานผลสะทอน
 มีการปรับปรุงและพัฒนา
2.3.6 การพัฒนาแหลงเรียนรูและ  มีการวางแผน  ดานผลผลิต
ศูนยวิทยบริการ  มีการดําเนินการตามแผน  ดานผลลัพธ
 มีการติดตามและประเมินผล  ดานผลสะทอน
 มีการปรับปรุงและพัฒนา
2.3.7 การนําผลการประกันคุณภาพการศึกษาไป  มีการวางแผน  ดานผลผลิต
ใชในการพัฒนาสถานศึกษาอยางตอเนื่อง  มีการดําเนินการตามแผน  ดานผลลัพธ
 มีการติดตามและประเมินผล  ดานผลสะทอน
 มีการปรับปรุงและพัฒนา
2.4 ดานการนํานโยบายสูการปฏิบัติ
2.4.1 การบริหารจัดการสถานศึกษาตามนโยบาย  มีการวางแผน  ดานผลผลิต
ที่หนวยงานตนสังกัดมอบหมาย  มีการดําเนินการตามแผน  ดานผลลัพธ
 มีการติดตามและประเมินผล  ดานผลสะทอน
 มีการปรับปรุงและพัฒนา

จุดเดนของมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
97

จุดที่ควรพัฒนาของมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนาของมาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานที่ 2 ที่เปนแบบอยางที่ดี (Best Practice)
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
98

ตารางที่ 9.2 การวิเคราะหประเด็นจากผลการดําเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและภารกิจหรือกิจกรรม


ของสถานศึกษา (ตอ)

ผลการวิเคราะหรายงานผลการประเมินตนเอง
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา แนวทางการพัฒนาคุณภาพ ผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ที่
และภารกิจหรือกิจกรรมของสถานศึกษา การศึกษาของสถานศึกษา ของสถานศึกษา (ผลสัมฤทธิ์)
อาชีวศึกษา
มาตรฐานที่ 3 การสรางสังคมแหงการเรียนรู
3.1 ดานความรวมมือในการสรางสังคมแหง
การเรียนรู
3.1.1 การบริการชุมชนและจิตอาสา  มีการวางแผน  ดานผลผลิต
 มีการดําเนินการตามแผน  ดานผลลัพธ
 มีการติดตามและประเมินผล  ดานผลสะทอน
 มีการปรับปรุงและพัฒนา
3.1.2 การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี  มีการวางแผน  ดานผลผลิต
 มีการดําเนินการตามแผน  ดานผลลัพธ
 มีการติดตามและประเมินผล  ดานผลสะทอน
 มีการปรับปรุงและพัฒนา
3.1.3 การระดมทรัพยากรเพื่อการจัดการ  มีการวางแผน  ดานผลผลิต
เรียนการสอน  มีการดําเนินการตามแผน  ดานผลลัพธ
 มีการติดตามและประเมินผล  ดานผลสะทอน
 มีการปรับปรุงและพัฒนา
3.2 ดานนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งาน
สรางสรรค งานวิจัย
3.2.1 การสงเสริมและสนับสนุนการพัฒนา  มีการวางแผน  ดานผลผลิต
นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานสรางสรรค  มีการดําเนินการตามแผน  ดานผลลัพธ
และงานวิจัยโดยการมีสวนรวมของครู  มีการติดตามและประเมินผล  ดานผลสะทอน
ผูเรียน หรือบุคคล ชุมชน และองคกร  มีการปรับปรุงและพัฒนา
ตาง ๆ

จุดเดนของมาตรฐานที่ 3 การสรางสังคมแหงการเรียนรู
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
99

จุดที่ควรพัฒนาของมาตรฐานที่ 3 การสรางสังคมแหงการเรียนรู
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนาของมาตรฐานที่ 3 การสรางสังคมแหงการเรียนรู
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานที่ 3 ที่เปนแบบอยางที่ดี (Best Practice)
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
100

เอกสารอางอิง

สํานักงานรับรองมาตรฐานและการประเมินคุณภาพการศึกษา. (2566). ประกาศคณะกรรมการสํานักงานรับรอง


มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา เรื่อง กรอบแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษา
การศึกษาปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และดานการ
อาชีวศึกษา.ประกาศ ณ วันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2566.
ราชกิจจานุเบกษา. (2562). พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562. ใหไว ณ วันที่ 1 พฤษภาคม
พ.ศ. 2562.
ราชกิจจานุเบกษา. (2561). กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2551. ใหไว ณ วันที่ 20 กุมภาพันธ
พ.ศ. 2561.
ราชกิจจานุเบกษา. (2561). ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561. ประกาศ
ณ วันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2561.
101

ภาคผนวก
คําสั่งสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ที่ 138 /๒๕66
เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
_____________________
ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ขอ ๓ กําหนดใหสถานศึกษา
แตละแหง จัดใหมีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยการกําหนดมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึ ก ษาให เ ป น ไปตามมาตรฐานการศึ ก ษาแต ล ะระดั บ และประเภทการศึ ก ษาที่ รั ฐ มนตรี ว า การ
กระทรวงศึกษาธิการประกาศกําหนด พรอมทั้งจัดทําแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ที่มุงคุณภาพ
ตามมาตรฐานการศึ ก ษาและดํ า เนิ น การตามแผนที่ กํ า หนดไว และตามประกาศกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร
เรื่ อง มาตรฐานการอาชี ว ศึ ก ษา พ.ศ. 2561 ลงวัน ที่ 21 มิถุน ายน 2561 เพื่อใชในการจั ด การศึ ก ษา
และการประกันคุณภาพการศึกษาดานอาชีวศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ชั้นสูง และการฝกอบรมวิชาชีพ นั้น
เพื่อใหการจัดการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษาดานอาชีวศึกษาเกิดประสิทธิภาพ
และประสิทธิผลในการดําเนินงาน สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาจึงแตงตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อน
การประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ประกอบดวย
ผูมีรายนามและดํารงตําแหนงดังตอไปนี้
คณะกรรมการที่ปรึกษา
1. วาที่รอยตรี ธนุ วงษจินดา เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
2. เรืออากาศโท สมพร ปานดํา รองเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
3. นายสงา แตเชื้อสาย ผูชวยเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
4. นายวิทวัต ปญจมะวัต ที่ปรึกษาดานนโยบายและแผน
5. นายนิติ นาชิต ที่ปรึกษาดานมาตรฐานอาชีวศึกษาธุรกิจและบริการ
6. นายประชาคม จันทรชิต ผูทรงคุณวุฒิ
คณะกรรมการดําเนินงาน
1. เรืออากาศโท สมพร ปานดํา รองเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ประธานกรรมการ
2. นายประชาคม จันทรชิต ผูทรงคุณวุฒิ รองประธานกรรมการ
3. นางทิพวรรณ วงศวิเชียร รักษาราชการแทน ผูอํานวยการ กรรมการ
สํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ
4. นางสมฤดี ฉิมมุสิก ปฏิบัติหนาที่ ผูอํานวยการสํานักบริหาร กรรมการ
การอาชีวศึกษาเอกชน
5. นายจรูญ เตชะเจริญกิจ หัวหนาหนวยศึกษานิเทศก กรรมการ
6. นางสุดสาย ศรีศักดา ผูอํานวยการศูนยสงเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษา กรรมการ
ภาคเหนือ
7. นางอโนทยา...
-2-

7. นางอโนทยา เรืองศรี ผูอํานวยการศูนยสงเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษา กรรมการ


ภาคตะวันออกและกรุงเทพมหานคร
8. นางภรพิพัด มูลไชย ผูอํานวยการศูนยสงเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษา กรรมการ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
9. นางบุษยมาศ นิ่มนวล ผูอํานวยการศูนยสงเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษา กรรมการ
ภาคกลาง
10. นายอภิชาติ เนินพรหม ผูอํานวยการศูนยสงเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษา กรรมการ
ภาคใต
11. นายพงษศักดิ์ นุยเจริญ ผูอํานวยการวิทยาลัยอาชีวศึกษาสุราษฎรธานี กรรมการ
12. จาสิบเอก สมพร ชูทอง ผูอํานวยการวิทยาลัยเทคนิคสมุทรปราการ กรรมการ
13. นายประสิทธิ์ วัชรินทรพร ผูอํานวยการวิทยาลัยการอาชีพหลังสวน กรรมการ
14. นายพิมนศิลป ทัพนันตกุล ผูอํานวยการวิทยาลัยศิลปหัตถกรรม กรรมการ
นครศรีธรรมราช
15. นางสาวจิตราวรรณ บุตราช ผูอํานวยการวิทยาลัยการอาชีพพนมทวน กรรมการ
16. นางสาวสุกัญญา สุขสถาน ผูอํานวยการวิทยาลัยเทคนิคนครนายก กรรมการ
17. นายพีรพงษ พันธโสดา ผูอํานวยการวิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยี กรรมการ
ฐานวิทยาศาสตร (ชลบุรี)
18. นายสุชาติ จินดาแจง ผูอํานวยการวิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี กรรมการ
19. นายเรวัตร แกวทองมูล ผูอํานวยการวิทยาลัยเทคนิคเวียงปาเปา กรรมการ
20. นายรังสรรค บางรักนอย ผูอํานวยการวิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก กรรมการ
สมุทรปราการ
21. นางสาวสุนทรผไท จันทระ ผูอํานวยการวิทยาลัยการอาชีพอุดรธานี กรรมการ
22. นางเมษา ลิ่มศิลา รองผูอํานวยการวิทยาลัยการอาชีพกระบุรี กรรมการ
23. นางประกาย ใสสะอาด รองผูอํานวยการวิทยาลัยการอาชีพไชยา กรรมการ
24. นางสมพิศ โยมา รองผูอํานวยการวิทยาลัยสารพัดชาง กรรมการ
นครศรีธรรมราช
25. นายแสงอาทิตย เจงวัฒนพงศ รองผูอํานวยการวิทยาลัยพณิชยการเชตุพน กรรมการ
26. นางสาวดรุณี รอดจินดา วิทยาลัยพณิชยการเชตุพน กรรมการ
27. นายธนาคาร คุมภัย วิทยาลัยเทคนิคฉะเชิงเทรา กรรมการ
28. นางสาวทัศนวรรณ หอมผล วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี กรรมการ
29. นายพิชัย ปญญาอาวุธ วิทยาลัยสารพัดชางพระนคร กรรมการ
30. นายสัมฤทธิ์ ทองพัฒน วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุราษฎรธานี กรรมการ
31. นายณัฏฐ หอมสุวรรณ สํานักบริหารการอาชีวศึกษาเอกชน กรรมการ
32. นางภคพร เพชรรัตน สํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ กรรมการ
33. นางสาวกนกพร เพชรสุวรรณ สํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ กรรมการ
34. นายศิวาวุธ แสงสวาสดิ์ สํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ กรรมการ
35. นายศรัทธา บุญรอด สํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ กรรมการ
36. นายวรท ศรีขาว สํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ กรรมการ
37. นางสาวพลอยพัชชา...
-3-

37. นางสาวพลอยพัชชา มีสุวรรณเดชา สํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ กรรมการ


38. นางสาวชลลดา จิรัตฐิวรุตมกุล สํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ กรรมการ
39. นางธิติยาภรณ จั่นบํารุง สํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ กรรมการ
40. นางวัลยา นอยนาม สํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ กรรมการ
41. นางสาวอัจฉราภรณ เสมคํา สํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ กรรมการ
42. นางสาวนลินี แกวสุกใส สํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ กรรมการ
43. นายพิศาล บุญมาวาสนาสง สํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ กรรมการ
44. นายพิเชษฐ มีทองคํา สํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ กรรมการ
45. นางสาวปณิตา สดใส สํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ กรรมการ
46. นายเพ็ชร กาญจนกังวาฬกุล สํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ กรรมการ
47. นางสาวพิมลพรรณ ลอมสุขา สํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ กรรมการ
48. นางสาวเบญจมาศ อึ้งเจริญ สํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ กรรมการ
49. นายอธิษฐ มากระดี สํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ กรรมการ
50. นางสาวกุลริศา รัชตะวุฒิ สํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ กรรมการ
51. นายอนุทัย พรเลิศรังสรรค สํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ กรรมการ
52. นายธีรวัฒน เกตุมณี สํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ กรรมการ
53. นายณัฐพงศ แดงหลา สํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ กรรมการและ
เลขานุการ
54. นางสาวปุณรส เชยสุขจิตต สํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ กรรมการและ
ผูชวยเลขานุการ
55. นายไพชยนต จันทร สํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ กรรมการและ
ผูชวยเลขานุการ
มีหนาที่ ดังนี้
๑. กํ า หนดแนวทางในการขั บ เคลื่ อ นการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายในสถานศึ ก ษา
สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาใหสอดคลองและเชื่อมโยงกับมาตรฐานการประกั นคุ ณภาพ
ภายนอกและมาตรฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ
๒. จัดทําคูมือการขับเคลื่อนการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาสังกัดสํานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา
3. กําหนดแนวทางในการรายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report: SAR)
4. จัดทําคูมือการรายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report: SAR)
ทั้งนี้ ตั้งแตบัดนี้เปนตนไป
สั่ง ณ วันที่ มิถนุ ายน พ.ศ. 2566
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

จัดทำโดย
กลุมงานประกันคุณภาพการอาชีวศึกษา สำนักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

You might also like