(ฉบับแก้ไข) ข้อสอบสายอำนายการ สงป.แก้ไขล่าส

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 26

ขอสอบในสายอำนวยการ

(งานงบประมาณ การเงิน และการบัญชี

1. งบประมาณมีความสำคัญและประโยชนตอการบริหารอยางไร
ก. เปนเครื่องมือในการพัฒนาหนวยงาน
ข. เปนเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยูอยางจำกัดใหมีประสิทธิภาพ
ค. เปนเครื่องมือกระจายทรัพยากร และเงินงบประมาณที่เปนธรรม
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบขอ ง. (ก. เปนเครื่องมือในการพัฒนาหนวยงาน ถาหนวยงานจัดงบประมาณการใชจายอยางถูกตอง
และมีประสิทธิภาพ จะสามารถพัฒนาใหเกิดความเจริญกาวหนาแกหนวยงานและสังคมโดยหนวยงานตอง
พยายามใชจายและจัดสรรงบประมาณใหเกิดประสิทธิผลไปสูโครงการที่จําเปน โครงการลงทุนเพื่อกอใหเกิด
ความกาวหนาของหนวยงาน/ ข. เปนเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยูจำกัดใหมีประสิทธิภาพ เนื่องจาก
ทรัพยากรหรืองบประมาณของหนวยงานมีจำกัด ดังนั้นจึงจำเปนที่จะตองใชงบประมาณเปนเครื่องมือในการ
จัดสรรทรัพยากรหรือใชจายเงินใหมีประสิทธิภาพ โดยมีการวางแผนในการใชและจัดสรรเงินงบประมาณไปใน
แตละดาน และมีการวางแผนการปฏิบัติงานในการใชจายทรัพยากรนั้น ๆ ดวย เพื่อที่จะกอใหเกิดประโยชน
สูงสุดในเวลาที่เร็วที่สุด และใชทรัพยากรนอยที่สุด/ ค. เปนเครื่องมือกระจายทรัพยากร และเงินงบประมาณที่
เปนธรรม งบประมาณสามารถใชเปนเครื่องมือในการจัดสรรงบประมาณที่เปนธรรมไปสูจุดที่มีความจําเปน
และทั่วถึงที่จะทําใหหนวยงานนั้นสามารถดําเนินไปไดอยางมีประสิทธิภาพ

2. ระบบงบประมาณของประเทศไทยในปจจุบันคือระบบงบประมาณแบบใด
ก. แบบแสดงรายการ
ข. แบบแสดงแผนงาน
ค. แบบมุงเนนแผนงานตามยุทธศาสตร
ง. แบบมุงเนนผลงานตามยุทธศาสตร
(ตอบขอ ง. (สำนักงบประมาณไดมีการปรับเปลี่ยนระบบงบประมาณแบบแผนงาน เปนระบบมุงเนน
ผลงานตามยุทธศาสตร ตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ.2546 เพื่อใหการจัดสรรงบประมาณ การบริหารจัดการ
งบประมาณสามารถขับเคลื่อนยุทธศาสตรของรัฐบาลใหบรรลุตามเปาหมายที่กำหนดไวและเกิดประโยชน
อยางแทจริง

3. จำนวนเงินอยางสูงที่อนุญาตใหจายหรือใหกอหนี้ผูกพันไดตามวัตถุประสงคและภายในระยะเวลาที่
กำหนดไวในกฎหมายวาดวยงบประมาณรายจาย เปนความหมายของขอใด
ก. งบประมาณรายจาย
ข. งบประมาณรายจายขามป
ค. งบประมาณเหลื่อมป
ง. งบประมาณจัดสรร
(ตอบขอ ก. (พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 มาตรา 4
2

4. หนวยหลักในการจัดทำงบประมาณประจำปคือ
ก. กระทรวงการคลัง
ข. สำนักงบประมาณ
ค. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
ง. ธนาคารแหงประเทศไทย
(ตอบขอ ข. (พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 หมวด 4 การจัดทำงบประมาณ มาตรา 24

5. พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 บัญญัติใหการบริหารงบประมาณรายจาย ตองสอดคลอง


ตามกฎหมายใด
ก. พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502
ข. พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 และที่แกไขเพิ่มเติม
ค. พระราชบัญญัติเงินคงคลัง พ.ศ. 2491
ง. พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561
(ตอบขอ ง. (พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 หมวด 1 บททั่วไป มาตรา 6

6. การกำหนดกรอบประมาณการรายจาย ประมาณการรายรับ และฐานะการคลังของรัฐบาล ตองทำ


ลวงหนาเปนระยะเวลาเทาใด
ก. ไมนอยกวา 1 ป
ข. ไมนอยกวา 3 ป
ค. ไมนอยกวา 5 ป
ง. ไมนอยกวา 7 ป
(ตอบขอ ข. (พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ.2561 หมวด 2 นโยบายการเงินการคลัง
สวนที่ 2 การดำเนินการทางการคลังและงบประมาณ มาตรา 13

7. ผูอำนวยการตามบทนิยามศัพทแหงพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 หมายถึงใคร


ก. ผูอำนวยการสำนักบูรณาการและยุทธศาสตรชาติ
ข. ผูอำนวยการสำนักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
ค. ผูอำนวยการสำนักงบประมาณ
ง.ผูอำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง
(ตอบขอ ค. (พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 มาตรา 4

8. หนวยงานของรัฐที่ขอรับหรือไดรับจัดสรรงบประมาณรายจาย และใหหมายความรวมถึง สภากาชาดไทย


ดวย คือความหมายของคำใด
ก. สวนราชการ
ข. รัฐวิสาหกิจ
ค. หนวยงานของรัฐ
ง. หนวยรับงบประมาณ
(ตอบขอ ง. (พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 มาตรา 4
3

9. การนับปงบประมาณเริ่มจากวันใดถึงวันใด
ก. ม.ค. – 31 ธ.ค.
ข. ก.ย.ปปจจุบัน – 31 ส.ค. ปถัดไป
ค. ต.ค. ปปจจุบัน – 30 ก.ย. ปถัดไป
ง. ธ.ค. ปปจจุบัน – 30 พ.ย. ปถัดไป
(ตอบขอ ค. (พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 มาตรา 4

10. มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใชจายงบประมาณรายจายประจำปงบประมาณ พ.ศ.2565 กำหนดให


งบรายจายประจำจะตองเบิกจายสะสมเมื่อสิ้นไตรมาสที่ 4 รอยละเทาใด
ก. รอยละ 100
ข. รอยละ 98
ค. รอยละ 90
ง. เบิกเทาใดก็ได
(ตอบขอ ข. (หนังสือ กรมบัญชีกลาง ดวนที่สุดที่ กค 0412.4/ว1299 ลง 30 ธันวาคม 2564
เรื่องมาตรการเรงรัดการเบิกจายงบประมาณและการใชจายภาครัฐ ประจำปงบประมาณ พ.ศ.2565

11. แผนงานใดที่หนวยจัดทำขอเสนองบประมาณเบื้องตนเพื่อเปนคาใชจายในการดำเนินการตามหนาที่ความ
รับผิดชอบเปนปกติประจำตามภารกิจ และกฎหมายจัดตั้งของหนวยงานนั้นๆ ซึ่งเปนกลุมงบประมาณรายจาย
กระทรวง/หนวยงาน (Function
ก. แผนงานยุทธศาสตร
ข. แผนงานบูรณาการเพื่อพัฒนาพื้นที่ระดับภาค
ค. แผนงานบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ
ง. แผนงานพื้นฐาน
(ตอบข อ ง. (คู  มื อการปฏิ บ ั ติ การจั ด ทำคำของบประมาณรายจายประจำปงบประมาณ ของสำนัก
งบประมาณ

12. งบประมาณ รายการเงินเดือน คาจางประจำ คาเชาบาน ตองจัดทำงบประมาณไวในแผนงานใด


ก. แผนงานบุคลากรภาครัฐ
ข. แผนงานพื้นฐาน
ค. แผนงานยุทธศาสตร
ง. แผนงานบูรณาการ
(ตอบขอ ก. (แผนงานบุคลาการภาครัฐหมายถึง แผนงานที่แสดงรายจายเพื่อการบริหารงานบุคลากร
ภาครัฐ ที่กำหนดไวในงบบุคลากร งบดำเนินงาน รวมทั้งงบเงินอุดหนุน และงบรายจายอื่น ซึ่งเบิกในลักษณะ
งบดังกลาว เกณฑการพิจารณารายการคาใชจายตามแผนบุคลากรภาครัฐ ใหใชจายสำหรับบุคลากรภาครัฐ
จัดสรรงบประมาณโดยมีอัตราคาใชจายเปนรายเดือน หรือจายควบกับเงินเดือน มีจำนวน และอัตราคาใชจาย
ตามกฎหมาย และระเบียบกำหนด
4

13. ตามแนวทางการบริหารงบประมาณรายจายประจำปงบประมาณ พ.ศ.2565 ถาหนวยงานของ ตร.


มีความจำเปนตองขอโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณที่ไดรับจัดสรรขามงบรายจาย หนวยจะตองดำเนินการ
อยางไรกอน
ก. ใชอำนาจ ผบช. ปรับแผนโอนเปลี่ยนแปลงไปรายการอื่นไดทันที
ข. ใหหนวยขอรับความเห็นขอบจาก ตร. กอนดำเนินการทุกกรณี
ค. ใหสงคืนเงินมาที่ ตร. (ผาน งป.สงป. เพื่อดำเนินการโอนเปลี่ยนแปลงให
ง. ใหขอรับความเห็นชอบไปยังสำนักงบประมาณทุกกรณี
(ตอบขอ ข. (หนังสือ ตร.ดวนที่สุดที่ 0010.181/ว 27 ลง 30 กันยายน 2564 เรื่องแนวทางการ
บริหารงบประมาณรายจายประจำปงบประมาณ พ.ศ.2565 ของ ตร. ขอ 3.2

14. หนวยรับงบประมาณจัดทำแผนการปฏิบัติงานและแผนการใชจายงบประมาณ สงใหสำนักงบประมาณให


ความเห็นชอบเมื่อใด
ก.กอนวันเริ่มปงบประมาณไมนอยกวา 15 วัน
ข.เมื่อเริ่มตนการใชจายงบประมาณไมนอยกวา 15 วัน
ค.ภายใน 15 วันนับแตสิ้นไตรมาส
ง.ภายใน 15 วันนับแตสิ้นเดือน
(ตอบขอ ก. (ระเบียบวาดวยการบริหารงบประมาณ พ.ศ.2562 หมวด 2 แผนการปฏิบัติงานและ
แผนการใชจายงบประมาณ ขอ 9

15. หลักเกณฑวาดวยการใชงบประมาณรายจาย การโอนเงินจัดสรรหรือการเปลี่ยนแปลงเงินจัดสรร


พ.ศ. 2562 จำแนกประเภทงบประมาณรายจายเปนกี่งบรายจาย
ก. 4 งบรายจาย
ข. 5 งบรายจาย
ค. 6 งบรายจาย
ง. 7 งบรายจาย
(ตอบขอ ข. (หลักเกณฑ วาดวยการใชงบประมาณรายจาย การโอนเงินจัดสรรหรือการเปลี่ยนแปลงเงิน
จัดสรร พ.ศ.2562 ขอ 3

16. รายการในขอใด ที่ไมไดเบิกจายโดยตรงกับกรมบัญชีกลาง


ก. คารักษาพยาบาลของขาราชการ
ข. เงินชวยเหลือการศึกษาของบุตรของขาราชการ
ค. เงินบำเหน็จ บำนาญ
ง. เงินเลื่อนเงินเดือนและเงินปรับวุฒิขาราชการ
(ตอบขอ ง. (ระเบียบวาดวยการบริหารงบประมาณ พ.ศ.2562 หมวด 5 การบริหารงบประมาณ
รายจายงบกลาง ขอ 30
5

17. รายจายที่กำหนดใหจายเพื่อการบริหารงานประจำไดแกรายจายในลักษณะใด
ก. คาตอบแทนใชสอย และวัสดุ
ข. คาสาธารณูปโภค
ค. คาครุภัณฑ
ง. ถูกทั้งขอ ก. และ ข.
(ตอบขอ ง. (รายจายประจำหมายถึง รายจายที่รัฐบาลจายเพื่อใหไดรับสิ่งตอบแทนเปนบริการหรือ
สิ่งของที่ไมใชทรัพยสินประเภททุน

18. งบประมาณรายจายที่ตั้งไวเพื่อจัดสรรใหแกหนวยรับงบประมาณใชจาย โดยแยกตางหากจากงบประมาณ


รายจายของหนวยรับงบประมาณ และใหมีรายการเงินสำรองจายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเปนดวย คือความหมายในขอใด
ก.งบประมาณรายจายบูรณาการ
ข.งบประมาณรายจายขามป
ค.งบประมาณรายจายงบกลาง
ง. งบประมาณรายจายบุคลากร
(ตอบขอ ค. (พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 มาตรา 15

19. ระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวยการรับเงินผลประโยชนเปนเช็ค พ.ศ. 2537 แบงเช็คที่จะรับชำระเงิน


ผลประโยชนเปนกี่ประเภท
ก. 2 ประเภท
ข. 3 ประเภท
ค. 4 ประเภท
ง. 5 ประเภท
(ตอบขอ ค.) ระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวยการรับเงินผลประโยชนเปนเช็ค พ.ศ. 2537 หมวด 2
ขอ 8

20. การขยายเวลาขอเบิกเงินจากคลังในกรณีที่ไมสามารถเบิกเงินจากคลังไดภายในปงบประมาณ สามารถ


ดำเนินการไดตอเมื่อ
ก. ไดกอหนี้ผูกพันไวกอนสิ้นปงบประมาณ และมีการกันเงินไวตามระเบียบ
ข. ไดกอหนี้ผูกพันไวกอนสิ้นปงบประมาณ และไมไดกันเงินไวตามระเบียบ
ค. ไดกอหนี้ผูกพันไวกอนสิ้นปงบประมาณ และมีเงินเหลือจายเพียงพอ
ง. ไดกอหนี้ผูกพันไวกอนสิ้นปงบประมาณ และมีความจำเปนเรงดวน
(ตอบขอ ก. (พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 หมวด 6 การควบคุมงบประมาณ มาตรา 43

21. จากคำตอบในขอขางตน หากมีความจำเปนตองขอเบิกเงินจากคลังภายหลังเวลาดังกลาว ตองดำเนินการอยางไร


ก. ขอทำความตกลงกั บ กระทรวงการคลั ง เพื ่ อ ขอขยายเวลาออกไปได อ ี ก ไม เ กิ น 6 เดื อ น
ข. ขอทำความตกลงกับสำนักงบประมาณและกระทรวงการคลัง เพื่อขอขยายเวลาออกไปไดอีกไมเกิน 3 เดือน
ค. ขอทำความตกลงกับสำนักงบประมาณและกระทรวงการคลัง เพื่อขอขยายเวลาออกไปไดอีกไมเกิน 6 เดือน
6

ง. ขอทำความตกลงกับสำนักงบประมาณ กระทรวงการคลังและคณะรัฐมนตรี เพื่อขอขยายเวลาออกไป


ไดอีกไมเกิน 6 เดือน
(ตอบขอ ก. (พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 หมวด 6 การควบคุมงบประมาณ มาตรา
43

22. งบประมาณที่ ม ี ว งเงิ น ตั ้ ง แต 1,000 ล า นบาท ขึ ้ น ไป จะต อ งดำเนิ น การอย า งไรจึ ง จะเป น ไปตาม
พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561
ก. รัฐมนตรีเจาสังกัดเสนอผูอำนวยการสำนักงบประมาณตั้งงบประมาณ
ข. รั ฐ มนตรี เ จ า สั ง กั ด เสนอผู  อ ำนวยการสำนั ก งบประมาณเพื ่ อ เสนอคณะรั ฐ มนตรี อ นุ ม ั ติ
ค. หน ว ยรั บ งบประมาณเสนอผู  อ ำนวยการสำนั ก งบประมาณเพื ่ อ เสนอคณะรั ฐ มนตรี อ นุ ม ั ติ
ง. หนวยรับงบประมาณเสนอคณะรัฐมนตรีอนุมัติกอนยื่นคำขอตั้งงบประมาณตอผูอำนวยการสำนักงาน
ประมาณ
(ตอบขอ ง. (พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 สวนที่ 1 การขอตั้งงบประมาณรายจาย
มาตรา 26

23. การให ใช งบประมาณรายจ า ยประจำปงบประมาณที่ล ว งแลว ไปพลางก อน จะกระทำไดในกรณี ใ ด


ก. คณะรัฐมนตรีบริหารการงบประมาณผิดพลาด
ข. รัฐสภาไมรับกฎหมายไวพิจารณา
ค. มีความจำเปนในสถานการณฉุกเฉิน
ง. พระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจำปออกใชไมทันปงบประมาณใหม
(ตอบขอ ง. (รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย มาตา 141 พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.
2561 มาตรา 12

24. งบประมาณรายจายของหนวยรับงบประมาณที่กำหนดไวตามกฎหมายวาดวยงบประมาณรายจาย จะ
โอนหรือนำไปใชสำหรับหนวยรับงบประมาณอื่นมิได เวนแต
ก. มีพระราชบัญญัติใหโอนหรือนำไปใชได
ข. การโอนงบประมาณรายจายบูรณาการภายใตแผนงานบูรณาการเดียวกัน
ค. การโอนงบประมาณรายจายบุคลากรภายใตแผนงานบุคลากรภาครัฐ
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบขอ ง. (พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 หมวด 5 การบริหารงบประมาณรายจาย
มาตรา 35

25. ขอใดไมใชระบบการติดตามประเมินผลทางอิเล็กทรอนิกสของสำนักงบประมาณ
ก. ระบบการวางแผนและจัดทำงบประมาณ(e-Budgeting
ข. การวิเคราะหระดับความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใชจายงบประมาณ (PART
ค. ระบบติดตามและรายงานความกาวหนาในการใชจายงบประมาณ (BB EvMIS
ง. ระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส (GFMIS
7

(ตอบข อ ข. (ระบบการวางแผนและจัด ทำงบประมาณ (e-Budgeting เปน เครื่องมือสำคัญ ในการ


ขับเคลื่อนกระบวนการงบประมาณของทุกหนวยงาน ใหเปนไปตามยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศของรัฐบาล
อยางมีการบูรณาการในมิติหนวยงาน (Function มิตินโยบายสำคัญ (Agenda และมิติพื้นที่ ( Area / ระบบ
ติดตามและรายงานความกาวหนาในการใชจายงบประมาณ (BB EvMIS เปนเครื่องมือในการติดตามผลการ
ปฏิบัติงานและผลการใชจายงบประมาณ / ระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส (GFMIS
เปนเครื่องมือ ในการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานการคลัง ภาครัฐ /การวิเคราะหระดับความสำเร็จของ
การดำเนินงานจากการใชจายงบประมาณ (PART เปนเครื่องมือประเมินตนเองของหนวยงาน

26. สิ่งของที่จัดเปนครุภัณฑโดยสภาพ
ก.สิ่งของที่โดยสภาพมีลักษณะคงทนแตตามปกติมีอายุการใชงานไมยืนนาน หรือเมื่อนำไปใชงานแลวเกิด
ความชำรุดเสียหาย ไมสามารถซอมแซมใหใชงานไดดังเดิม หรือซอมแซมแลวไมคุมคา
ข. สิ่งของที่โดยสภาพมีลักษณะคงทนถาวร มีอายุการใชงานยืนนาน เมื่อชำรุดเสียหายแลวสามารถ
ซอมแซมใหใชงานไดดังเดิม
ค. สิ่งของที่โดยสภาพมีลักษณะเมื่อใชแลวยอมสิ้นเปลืองหมดไป แปรสภาพ หรือเปลี่ยนสภาพไปใน
ระยะเวลาอันสั้นหรือไมคงสภาพเดิม
ง. สิ่งของที่ใชเปนอุปกรณประกอบหรืออะไหลสำหรับการซอมแซมบำรุงรักษาทรัพยสินใหกลับคืนสภาพ
ดังเดิมที่มีลักษณะเปนการซอมบำรุงปกติหรือซอมกลาง
(ตอบขอ ข. (หนังสือสำนักงบประมาณ ดวนที่สุดที่ นร 0704/ว 68 ลง 29 เมษายน 58 เรื่อง การปรับปรุง
หลักการจำแนกประเภทรายจายตามงบประมาณ และหนังสือสำนักงบประมาณ ที่ นร 0704/ว 37 ลง 6 ม.ค.59
เรื่องแนวทางการพิจารณาสิ่งของที่จัดเปนวัสดุและครุภัณฑตามหลักการจำแนกประเภทรายจายตามงบประมาณ

27. หนวยรับงบประมาณตองรายงานผลการใชจายงบประมาณ และผลการปฏิบัติงานตอผูอำนวยการสำนัก


งบประมาณอยางไร
ก. ภายใน 30 วัน นับแตวันสิ้นปงบประมาณ เพื่อผูอำนวยการสำนักงบประมาณจัดทำรายงานเสนอ
คณะรัฐมนตรีภายใน 60 วัน นับแตวันสิ้นปงบประมาณ
ข. ภายใน 45 วัน นับแตวันสิ้นปงบประมาณ เพื่อผูอำนวยการสำนักงบประมาณจัดทำรายงานเสนอ
คณะรัฐมนตรีภายใน 90 วัน นับแตวันสิ้นปงบประมาณ
ค. ภายใน 60 วัน นับแตวันสิ้นปงบประมาณ เพื่อผูอำนวยการสำนักงบประมาณจัดทำรายงานเสนอ
คณะรัฐมนตรีภายใน 90 วัน นับแตวันสิ้นปงบประมาณ
ง. ภายใน 60 วัน นับแตวันสิ้นปงบประมาณ เพื่อผูอำนวยการสำนักงบประมาณจัดทำรายงานเสนอ
คณะรัฐมนตรีภายใน 120 วัน นับแตวันสิ้นปงบประมาณ
(ตอบขอ ข. (พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 หมวด 7 การประเมินและการรายงาน สวน
ที่ 2 การรายงาน มาตรา 50

28. การโอนหรือเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณรายจายเพื่อจัดหาครุภัณฑหรือสิ่งกอสรางจะตองมีวงเงินตอ
หนวยต่ำกวาเทาใดโดยไมตองขอทำความตกลงกับสำนักงบประมาณ
ก.ต่ำกวา 10 ลานบาทและต่ำกวา 1 ลานบาทตามลำดับ
ข.ต่ำกวา1 ลานบาทและต่ำกวา 10 ลานบาทตามลำดับ
8

ค.ต่ำกวา1 แสนบาทและต่ำกวา 1 ลานบาทตามลำดับ


ง.ต่ำกวา 5 ลานบาทและต่ำกวา 10 ลานบาทตามลำดับ
(ตอบขอ ข. (หลักเกณฑวาดวยการใชจายงบประมาณ การโอนจัดสรร หรือการเปลี่ยนแปลงเงินจัดสรร
พ.ศ. 2562 ขอ.8

29. คาใชจายตามแผนงานบุคลากรภาครัฐขอใดไมถูกตอง
ก. เงินเพิ่มพิเศษสำหรับการสูรบ
ข. คาตอบแทนพนักงานราชการ
ค. คาจางประจำ
ง. คารักษาพยาบาล
(ตอบขอ ง. (เกณฑการพิจารณารายการคาใชจายตามแผนบุคลากรภาครัฐ ใหใชจายสำหรับบุคลากร
ภาครัฐ จัดสรรงบประมาณโดยมีอัตราคาใชจายเปนรายเดือน หรือจายควบกับเงินเดือน มีจำนวนและอัตรา
คาใชจายตามกฎหมาย และระเบียบกำหนด

30. งบดำเนินงาน คือ


ก. คาครุภัณฑ ที่ดินและสิ่งกอสราง
ข. คาตอบแทน ใชสอย วัสดุ และคาสาธารณูปโภค
ค. เงินเดือนและคาจางประจำ
ง. รายจายอื่นๆ
(ตอบข อ ข. (หลั กการจำแนกประเภทรายจ า ยตามงบประมาณ แกไขปรั บ ปรุ งตามหนั งสื อ สำนั ก
งบประมาณ ที่ นร 0704/ว33 ลง 18 ม.ค.53 และหนังสือสำนักงบประมาณ ดวนที่สุด ที่ นร 0704/ว68 ลง 29
เม.ย.58 (1.2 งบดำเนินงาน

31. คาใชจายในการเดินทางไปตางประเทศชั่วคราว เปนงบประมาณประเภทใด


ก. งบรายจายอื่น
ข. งบกลาง
ค. งบดำเนินงาน
ง. งบเงินอุดหนุน
(ตอบขอ ก. (หลักการจำแนกประเภทรายจายตามงบประมาณ แกไขปรับปรุงตามหนังสือสำนัก
งบประมาณ ที่ นร 0704/ว33 ลง 18 ม.ค.53 และหนังสือสำนักงบประมาณ ดวนที่สุด ที่ นร 0704/ว68 ลง
29 เม.ย.58 (1.5 งบรายจายอืน่ (4

32. งบดำเนินงานรายการใดที่หนวยไมสามารถเอาไปใชเปนรายการอื่นได แตสามารถเอารายการอื่นมาใช


ในรายการนี้ได
ก. คาเบี้ยเลี้ยง
ข. คาสาธารณูปโภค
ค. คาซอมแซมยานพาหนะ
ง. คาจางเหมาบริการ
9

(ตอบขอ ข. (หนังสือ ตร.ดวนที่สุดที่ 0010.181/ว 27 ลง 30 ก.ย.64 เรื่องแนวทางการบริหาร


งบประมาณรายจายประจำปงบประมาณ พ.ศ.2565 ของ ตร. ขอ 2.3

33. เงินคาเชาบานขาราชการ จัดอยูในงบรายจายใด


ก. งบบุคลากร
ข. งบดำเนินงาน
ค. งบเงินอุดหนุน
ง. งบอื่นๆ
(ตอบขอ ข. (หลักการจำแนกประเภทรายจายตามงบประมาณ แกไขปรับปรุงตามหนังสือสำนัก
งบประมาณ ที่ นร 0704/ว33 ลง 18 ม.ค.53 และหนังสือสำนักงบประมาณ ดวนที่สุด ที่ นร 0704/ว68 ลง
29 เม.ย.58 (1.2.1 (1

34. รายจายเพื่อติดตั้งระบบไฟฟาหรือระบบประปา รวมถึงอุปกรณตางๆ ซึ่งเปนการติดตั้งครั้งแรกในอาคาร


เปนรายจายประเภทใด
ก. งบลงทุน
ข. งบดำเนินงาน
ค. งบรายจายอื่น
ง. งบคาใชสอย
(ตอบข อ ก. (หลั กการจำแนกประเภทรายจ ายตามงบประมาณ แกไขปรับ ปรุ งตามหนังสื อ สำนั ก
งบประมาณที่ นร 0704/ว33 ลง 18 ม.ค.53 และหนังสือสำนักงบประมาณ ดวนที่สุด ที่ นร 0704/ว68 ลง
29 เม.ย.58 (1.3.2 คาที่ดินและสิ่งกอสราง (3

35. คาเบี้ยเลี้ยงเดินทางไปราชการในประเทศ อยูในงบรายจายใด


ก. งบดำเนินงาน
ข. งบลงทุน
ค. งบอุดหนุน
ง. งบบุคลากร
(ตอบขอ ก. (หลักการจำแนกประเภทรายจายตามงบประมาณ แกไขปรับปรุงตามหนังสือสำนัก
งบประมาณ ที่ นร 0704/ว33 ลง 18 ม.ค.53 และหนังสือสำนักงบประมาณ ดวนที่สุด ที่ นร 0704/ว68
ลง 29 เม.ย.58 (1.2.2 คาใชสอย(1

36. การจายเงินเดือนขาราชการประจำเดือน ใหจายในวันใด


ก. วันทำการกอนวันทำการสุดทายของเดือนสามวันทำการ
ข. วันทำการสุดทายของเดือน
ค. กอนวันสุดทายของเดือนสามวัน
ง. วันสิ้นเดือน
(ตอบขอ ก.) (ตามพระราชกฤษฎีกาการจายเงินเดือน เงินป บำเหน็จ บำนาญ และเงินอื่นในลักษณะ
เดียวกัน พ.ศ.2535 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 4 พ.ศ.2549 มาตรา 20
10

37. ร.ต.ท.มานะ วองไว ไมมาปฏิบัติราชการ ในเดือนธันวาคม รวมแลว 14 วันทำการ แตมิไดชี้แจงเหตุผล


ความจำเปนใหผูบังคับบัญชาทราบถึงสาเหตุที่ไมมาปฏิบัติราชการแตอยางใดอยากทราบในเดือนธันวาคม
ร.ต.ท.มานะ มีสิทธิไดรับเงินเดือนหรือไมอยางไร
ก. มีสิทธิไดรับเต็มเดือนเนื่องจากขาดราชการไมเกิน 15 วันทำการ
ข. มีสิทธิไดรับเงิน 17 วัน เนื่องจากขาดราชการ 14 วัน
ค. ไมมีสิทธิไดรับเงินเดือน
ง. ไมมีขอใดถูก
(ตอบขอ ข.) (ตามพระราชกฤษฎีกาการจายเงินเดือน เงินป บำเหน็จ บำนาญ และเงินอื่นในลักษณะ
เดียวกัน พ.ศ.2535 มาตรา 16

38. กรณีที่บุตรไปยื่นคำรองตอศาลสั่งเปนบุตรโดยชอบดวยกฎหมาย จะตองยื่นคำรองตอศาลภายในกี่ ป


นับแตวันที่บิดาถึงแกความตายหรือนับแตวันที่ไดรูหรือไดรูถึงความตายของบิดา
ก. 1 ป
ข. 2 ป
ค. 3 ป
ง. 4 ป
(ตอบขอ ก.) (ตามพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญขาราชการ พ.ศ.2494 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่
14 พ.ศ.2526 มาตรา 4

39. การจายเงินบำนาญจะจายในวันใดของเดือน
ก. กอน 5 วันทำการสุดทายของเดือน
ข. กอน 3 วันทำการสุดทายของเดือน
ค. วันทำการสุดทายของเดือน
ง. ไมมีขอถูก
(ตอบขอ ก.) (ตามพระราชกฤษฎีกาการจายเงินเดือน เงินป บำเหน็จ บำนาญ และเงินอื่นในลักษณะ
เดียวกัน พ.ศ.2535 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 4 พ.ศ.2549 มาตรา 43

40. ความหมายของครุภัณฑ คืออะไร


ก. มีความคงทนและมีอายุการใชงานเกินกวา 1 ป
ข. มีความคงทนและมีอายุการใชงานไมยืนนาน
ค. มีเพื่อใชในการดำเนินงาน มีสภาพเปลี่ยนไปในเวลาอันสั้น
ง. เปนสิ่งของที่เมื่อซอมแซมแลวไมคุมคา
(ตอบขอ ก.)

41. การบันทึกใบสั่งซื้อสั่งจางในระบบ NEW GFMIS Thai สิ่งใดที่สามารถบงบอกไดวาเปนคาครุภัณฑ


ก. รหัสงบประมาณ
ข. แหลงของเงิน
ค. รหัสกิจกรรม
11

ง. ถูกทั้ง ก และ ข
(ตอบขอ ง.)

40. การกอสรางอาคารที่ทำการสำหรับสวนราชการตามสถานที่ตางนั้น โดยรวมความหมายของ “อาคาร”


ประกอบดวยอะไรบาง
ก. อาคาร,รั้ว,เครื่องปรับอากาศ ฯลฯ
ข. อาคาร,เครื่องปรับอากาศ,คาติดตั้งแอร ฯลฯ
ค. อาคาร,ลิฟท,คาปูสนามหญารอบอาคาร ฯลฯ
ง. อาคาร,สนามกีฬา,คาตอทอรางน้ำ ฯลฯ
(ตอบขอ ก. (ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจางและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มาตรา 4

41. การแตงตั้งคณะกรรมการตรวจรับพัสดุในรายงานผลการตรวจรับ/ตรวจการจาง หัวหนาสวนราชการตอง


ทราบตามรายงานผลการตรวจรับ รายการคาครุภัณฑ ตามระเบียบพระราชบัญญัติ การจัดซื้อจัดจางและการ
บริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 ขอใด
ก. ขอ 175(1
ข. ขอ 175(4
ค. ขอ 176(1
ง. ขอ 176(4
(ตอบข อ ข. (ตามระเบี ย บกระทรวงการคลังวาดว ย การจัดซื้อจัดจางและการบริห ารพัส ดุภ าครัฐ
พ.ศ.2560 ขอ 175 (4

42. ขอใด ไมใช การเดินทางไปราชการในราชอาณาจักร


ก. การเดินทางไปราชการประจำในตางประเทศ
ข. การเดินทางไปราชการชั่วคราวในประเทศ
ค. การเดินทางกลับภูมิลำเนาเดิม
ง. การเดินทางไปราชการประจำในประเทศ
(ตอบขอ ก.) (คาใชจายในการเดินทางไปราชการในราชอาณาจักร ประกอบดวย ไปราชการชั่วคราว ไป
ราชการประจำ กลับภูมิลำเนา

43. ขอใด ไมใช คาใชจายในการเดินทางไปราชการชั่วคราว


ก. คาเชาที่พัก
ข. คาเบี้ยเลี้ยงเดินทาง
ค. คาพาหนะ
ง. คาการศึกษาบุตร
(ตอบขอ ง.) (คาใชจายในการเดินทางชั่วคราวประกอบดวย คาเบี้ยเลี้ยงเดินทาง คาเชาที่พัก คาพาหนะ
12

44. คาเบี้ยเลี้ยงเดินทาง เบิกในลักษณะใด


ก. รายเดือน
ข. รายวัน
ค. เหมาจาย
ง. แลวแตจะเบิก
(ตอบขอ ค.) (มาตรา 15 เบี้ยเลี้ยงเดินทางใหเบิกไดในลักษณะเหมาะจายภายในวงเงินและเงื่อนไขที่
กระทรวงการคลังกำหนด ตามพระราชกฤษฎีกาคาใชจายเดินทางไปราชการ พ.ศ.2526 และที่แกไขเพิ่มเติม

45. การเบิกจายคาใชจายในการบริหารงานของสวนราชการ กำหนด ใหเบิกจายจากแหลงของเงินใด


ก. งบบุคลากร
ข. งบกลาง
ค. งบลงทุน
ง. งบดำเนินงาน
(ตอบขอ ง.) (ระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการเบิกจายคาใชจายในการบริหารงานของสวนราชการ
พ.ศ.2553 ขอ 4 รายการคาใชจาย

46. ตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจายเงิน การเก็บรักษาเงินและ


การนำเงินสงคลัง พ.ศ.2562 กำหนดการจายเงินในปจจุบันนี้ ขอไหนถูกตอง
ก. การจายเงินผาน e-payment หรือ เช็ค หรือเงินสด ก็ได
ข. การจายเงินเปนเงินสดหรือเช็ด ก็ได กรณีวงเงินไมเกิน 5,000 บาท
ค. การจายเงินใหผาน e-payment ใหแกผูมีสิทธิรับเงิน
ง. การจายเงินใหแกผูมีสิทธิรับเงิน ผาน e-payment หรือ เช็ค ก็ได
(ตอบขอ ค.) (ขอ 52 วิธีปฏิบัติในการจายเงิน

47. ขอใดกลาวไมถูกตองในการนำเงินสงคลังและฝากคลัง
ก. เงินเบิกจากคลัง ไมไดจายหรือจายไมหมด ใหสงคืนคลังภายใน 15 วันทำการ
ข. เงินนอกงบประมาณ ฝากคลังอยางนอยเดือนละ 1 ครั้ง
ค. เงินรายไดแผนดิน นำสงอยางนอยเดือนละ 1 ครั้ง วันใดรับเงินเกิน 5,000 บาท นำสงโดยดวนอยาง
ชาไมเกิน 3 วันทำการ
ง. ใหหัวหนาหนวยงานหรือผูไดรับมอบหมายเปนผูนำเงินสงคลัง
(ตอบขอ ค.) (ตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจายเงิน การเก็บ
รักษาเงิน และการนำเงินสงคลัง พ.ศ.2562 ขอ 101 (2

48. เงินที่ขอเบิกจากคลังใชไมหมดสงคืนภายในปงบประมาณเรียกวา
ก. เงินเหลือจายปเกาสงคืน
ข. เงินรายไดแผนดิน
ค. เงินเบิกเกินสงคืน
ง. เงินกันไวเบิกเหลื่อมป
13

(ตอบขอ ค.) (ตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจายเงิน การเก็บ


รักษาเงิน และการเงินสงคลัง พ.ศ.2562 ขอ 4

49. คาใชจายในตรวจเยี่ยมบำรุงขวัญขาราชการตำรวจที่ไดรับบาดเจ็บที่พักรักษาตัว ณ รพ.ตร. และ


สถานพยาบาลอื่นๆ สามารถเบิกไดครั้งละเทาไร
ก. 2,000 บาท
ข. 3,000 บาท
ค. 4,000 บาท
ง. 5,000 บาท
(ตอบขอ ง.) (หลักเกณฑการจายเงินชวยเหลือขาราชการตำรวจที่เสียชีวิตหรือไดรับบาดเจ็บจากการ
ปฏิบัติหนาที่ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการสวัสดิการ ตร. ครั้งที่ 2/2560 เมื่อวันที่ 2 มิ.ย.2560

50. รายไดใดที่ไมใชรายไดของกองทุนเพื่อการสืบสวนและสอบสวนคดีอาญา
ก. เงินอุดหนุนจากรัฐบาล
ข. เงินคาปรับตามคำพิพากษาของศาล
ค. เงินที่ไดรับการสนับสนุนจากองคกรปกครองสวนทองถิ่น
ง. ดอกผลของกองทุน
(ตอบขอ ข.) (ตามพระราชบัญญัติตำรวจแหงชาติ พ.ศ.2547 มาตรา 113

51. คาใชจายใด ไมสามารถเบิกจากกองทุนเพื่อการสืบสวนและสอบสวนคดีอาญาได


ก. คาตอบแทนบุคคลภายนอกที่ใหขอมูลขาวสารในการติดตามจับกุมผูตองหาตามหมายจับ
ข. เงินรางวัลเจาหนาที่ผูจับ
ค. เงินคาใชจายในการเดินทางไปสงตัวผูตองหา
ง. เงินสินบนแกผูใหเบาะแสจนจับกุมผูตองหาตามประกาศสืบจับและใหสินบนของตำรวจได
(ตอบขอ ข.) (ตามระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุนเพื่อการสืบสวนและสอบสวนคดีอาญา วาดวย
หลักเกณฑการจายเงินกองทุนเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของขาราชการตำรวจในการทำหนาที่เกี่ยวกับการ
สืบสวนและสอบสวนคดีอาญา พ.ศ.2563 ขอ 14

52. การจายเงินยืมเพื่อเปนคาใชจายในการเดินทางไปราชการ ในราชอาณาจักรใหจายไดสำหรับระยะเวลา


การเดินทางที่ไมเกินกี่วัน
ก. สิบหาวัน
ข. สามสิบวัน
ค. หกสิบวัน
ง. เกาสิบวัน
(ตอบขอ ง.) (ระเบียบ กค วาดวยการเบิกเงิน การรับเงิน การจายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการนำเงิน
สงคลัง พ.ศ.2562 ขอ 64
14

53. สวนราชการใดมีเงินรายไดแผนดินเก็บรักษาในวันใดเปนเงินสดเกินหนึ่งหมื่นบาท ใหนำสงเงินภายใน


กำหนดเวลาขอใด
ก. นำเงินสงภายในวันที่ไดรับเงิน
ข. นำเงินสงโดยเร็ว ภายในวันทำการถัดไป
ค. นำเงินสงโดยดวน แตไมเกินสามวันทำการถัดไป
ง. ผิดทุกขอ
(ตอบขอ ค.) (ระเบียบ กค วาดวยการเบิกเงิน การรับเงิน การจายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการนำเงิน
สงคลัง พ.ศ.2562 ขอ 101 (2

54. ขอใดตอไปนี้เปนโครงการของ Nation e-Payment Master Plan


ก. การใหความรูและสงเสริมการใชธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส
ข. การขยายการใชบัตรอิเล็กทรอนิกส โดยเฉพาะบัตรเดบิต
ค. e-Payment ภาครัฐ
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบขอ ง.) (แผนยุทธศาสตรการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานระบบการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกสแหงชาติ
(National e-Payment Master Plan

55. การกำหนดสิทธิและหนาที่ในการทำรายการใหผูใชในงานระบบ KTB Corporate Online เปนหนาที่ของ


ผูใด
ก. Company Administrator Maker
ข. Company Administrator Authorizer
ค. ถูกทั้งขอ ก. และ ข.
ง. ผิดทุกขอ
(ตอบขอ ก.) (อำนาจหนาที่ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ดวนที่สุด ที่ กค 0402.2/ว 109 ลง 9 ก.ย.
59 เรื่อง การกำหนดตัวบุคคลผูมีสิทธิเขาใชงานในระบบ KTB Corporate Onlineขอ 1.1 (1

56. การจายเงินผานระบบ KTB Corporate Online กรณีการจายเงินเพื่อชำระหนี้บุคคลที่สามที่มีกฎหมาย


อนุญาตใหจายได ขอใดถูกตอง
ก. เงินคาน้ำประปา/คาไฟฟา
ข. หนี้ธนาคาร/หนี้สหกรณ
ค. หนี้ กยศ.
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบขอ ค.) (หนี้กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา – กยศ. เปนหนี้ที่จะตองชดใชคืนตาม พ.ร.บ.กองทุน
เงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ.2560

57. การรับเงินผานบริการชำระเงิน (Bill Payment) ผานระบบ KTB Corporate Online ขอใดถูกตอง


ก. สวนราชการใหผูชำระเงินใชใบนำฝากเงิน (Pay-In Slip) ซึ่งปรากฏรหัสหนวยงานผูเบิกที่ใชสำหรับทำ
รายการชำระเงินในการชำระเงินผานชองทางการใหบริการของสาขาธนาคาร
15

ข. สวนราชการที่รับชำระเงินตองออกใบเสร็จรับเงินใหกับผูชำระเงินทุกครั้ง
ค. การรับเงินของสวนราชการใหใชบัญชีเงินฝากธนาคารชื่อบัญชี “...ชื่อสวนราชการ... เพื่อการนำเงินสง
คลังหรือฝากคลัง”
ง. ผิดทุกขอ
(ตอบขอ ง. (ขอ ก.ที่ถูกตอง สวนราชการกำหนดแบบใบแจงการชำระเงินเพื่อใหผูชำระเงินใชในการ
ชำระเงินเขาบัญชีเงินฝากธนาคารตามที่สวนราชการกำหนด ขอ ข. ที่ถูกตอง เวนแตกรณีที่ผูชำระเงินตองการ
ใบเสร็จรับเงิน ขอ ค. ที่ถูกตอง “...ชื่อสวนราชการ...เพื่อการรับเงินทางอิเล็กทรอนิกส”

58. การนำเงินสงคลังและฝากคลังผานระบบ KTB Corporate Online ขอใดไมถูกตอง


ก. ใหสวนราชการทำรายการนำเงินสงคลังหรือฝากคลัง ในวันทำการถัดจากวันที่มีการรับเงินกอน
ข. ใหทุกสวนราชการนำเงินสงคลัง หรือฝากคลัง ผานระบบอิเล็กทรอนิกส (e-Payment)
ค. กรณีสวนราชการโอนเงินจากบัญชีธนาคารพาณิชยอื่นที่ไมใชธนาคารกรุงไทยฯ ใหทำผานระบบ
Internet Banking ของแตละธนาคาร เขาบัญชีเงินฝากธนาคารกรุงไทยฯ ที่เปดไวสำหรับนำเงินสงคลังหรือ
ฝากคลัง
ง. ทุกสิ้นวันทำการ ใหสวนราชการตรวจสอบการนำเงินสงคลัง หรือฝากคลัง จากเอกสารที่พิมพจาก
หนาจอการทำรายการสำเร็จ กับรายการสรุปความเคลื่อนไหวทางบัญชี ที่เรียกจากระบบ KTB Corporate
Online ใหถูกตองตรงกัน
(ตอบขอ ข (ไมใชทุกสวนราชการ ใหเฉพาะสวนราชการผูเบิก นำเงินสงคลัง หรือฝากคลัง ผานระบบ
อิเล็กทรอนิกส (e-Payment หนังสือ กค ดวนที่สุด ที่ กค 0402.2/ว 140 ลง 19 ส.ค.63 ขอ 3 (3.1

59. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับการปดงวดบัญชีในระบบ GFMIS


ก. ตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ.2563 เปนตนไป การบัญชีและรายงานการเงินในระบบ GFMIS งวดบัญชี
1 – 12 ระบบ GFMIS จะปดงวดบัญชีของทุกเดือน ในวันที่ 10 ของเดือนนั้น
ข. ตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ.2563 เปนตนไป การบัญชีและรายงานการเงินในระบบ GFMIS งวดบัญชี
1– 12 ระบบ GFMIS จะปดงวดบัญชีของทุกเดือน ในวันที่ 15 ของเดือนนั้น
ค. ตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ.2563 เปนตนไป การบัญชีและรายงานการเงินในระบบ GFMIS งวดบัญชี
1 – 12 ระบบ GFMIS จะปดงวดบัญชีของทุกเดือน ในวันที่ 10 ของเดือนถัดไป
ง. ตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ.2563 เปนตนไป การบัญชีและรายงานการเงินในระบบ GFMIS งวดบัญชี
1 – 12 ระบบ GFMIS จะปดงวดบัญชีของทุกเดือน ในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป
(ตอบขอ ค. (ตามหนังสือ กรมบัญชีกลาง ที่ กค 0410.3/ว 36 ลง 3 ก.พ.2563

60. ขอใดกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับการรับรูสินทรัพยของหนวยงาน
ก. สินทรัพยที่ไดมาในปงบประมาณ พ.ศ.2563 เปนตนไป มีการรับรูสินทรัพยที่มีมูลคาขั้นต่ำตั ้งแต
10,000 บาทขึ้นไป
ข. สินทรัพยที่ไดมากอนปงบประมาณ พ.ศ.2563 มีการรับรูสินทรัพยที่มีมูลคาขั้นต่ำตั้งแต 5,000 บาท
ขึ้นไป
ค สินทรัพยที่ไดมาในปงบประมาณ พ.ศ.2562 มีการรับรูสินทรัพยที่มีมูลคาขั้นต่ำตั้งแต 5,000 บาท
ขึ้นไป
16

ง. สินทรัพยที่ไดมาในปงบประมาณ พ.ศ.2563 เปนตนไป มีการรับรูสินทรัพยที่มีมูลคาขั้นต่ำตั้ งแต


5,000 บาทขึ้นไป
(ตอบขอ ง. (ตามหนังสือ กระทรวงการคลัง ที่ กค 0410.3/ว43 ลง 29 ม.ค.2562

61. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับการสงรายงานงบทดลองประจำเดือน ของสวนราชการที่เปนหนวยเบิกจาย


สวนกลาง
ก. ตองดำเนินการจัดสงให สำนักงานการตรวจเงินแผนดิน ภายในวันที่ 10 ของเดือนนั้น
ข. ตองดำเนินการจัดสงให สำนักงานการตรวจเงินแผนดิน ภายในวันที่ 15 ของเดือนนั้น
ค. ตองดำเนินการจัดสงให สำนักงานการตรวจเงินแผนดิน ภายในวันที่ 10 ของเดือนถัดไป
ง. ตองดำเนินการจัดสงให สำนักงานการตรวจเงินแผนดิน ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป
(ตอบขอ ง. (ตามหนังสือ กรมบัญชีกลาง ที่ กค 0423.3/ว 264 ลง 29 ก.ค.2558

62. ขอใดกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับการขอกันเงินไวเบิกเหลื่อมปและการขยายเวลาขอเบิกเงินของหนวยงาน
ก. การขอเบิกเงินจากคลังตามงบประมาณรายจายประจำปงบประมาณใด ใหกระทำไดแตเฉพาะภายใน
ปงบประมาณนั้น หากไมสามารถเบิกเงินจากคลังไดภายในปงบประมาณ ใหขยายเวลาขอเบิกเงินจากคลังได
ในกรณีไดกอหนี้ผูกพันไวกอนสิ้นปงบประมาณหรือไดกันเงินไวแลว
ข. การขยายเวลาขอเบิ กเงินจากคลัง ใหขยายออกไปได อีกไม เกิน 6 เดือนของปงบประมาณถั ด ไป
เวนแตมีความจำเปนตองขอเบิกเงินจากคลังภายหลังเวลาดังกลาว ใหขอทำความตกลงกับกระทรวงการคลัง
เพื่อขอขยายเวลาออกไปไดอีกไมเกิน 6 เดือน
ค. การขอเบิกเงินจากคลังตามงบประมาณรายจายประจำปงบประมาณใด ใหกระทำไดแตเฉพาะภายใน
ปงบประมาณนั้น หากไมสามารถเบิกเงินจากคลังไดภายในปงบประมาณ ใหขยายเวลาขอเบิกเงินจากคลังได
ทุกกรณี ทั้งกรณีกอหนี้ผูกพันและไมมีหนี้ผูกพัน
ง. การขอกันเงินไวเบิกเหลื่อมป หนวยงานตองดำเนินการกอนสิ้นปงบประมาณ โดยปฏิบัติตามวิธีการ
ที่กระทรวงการคลังกำหนด
(ตอบขอ ค. (การขอขยายเวลาขอเบิกเงินจากคลังจะทำไดกรณีที่หนวยรับงบประมาณไดกอหนี้ผูกพันไว
กอนสิ้นปงบประมาณและไดมีการกันเงินไวตามระเบียบเกี่ยวกับการเบิกจายเงินจากคลังแลวเทานั้น

63. เงินประเภทใดที่สวนราชการไมสามารถนำไปใชจายได
ก. เงินงบประมาณ
ข. เงินนอกงบประมาณ
ค. เงินรายไดแผนดิน
ง. เงินอุดหนุนทุนวิจัย
(ตอบขอ ค.) (ตามระเบียบ กค. วาดวยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจายเงิน การเก็บรักษาเงิน
และการนำเงินสงคลัง พ.ศ.2562 ขอ 4 “เงินรายไดแผนดิน” หมายความวา เงินทั้งปวงที่หนวยงานของรัฐ
จัดเก็บหรือไดรับไวเปนกรรมสิทธิ์ตามกฎหมายระเบียบ ขอบังคับ หรือจากนิติกรรมหรือนิติเหตุและกฎหมาย
วาดวยเงินคงคลัง และกฎหมายวาดวยวินัยการเงินการคลังของรัฐ บัญญัติไมใหหนวยงานของรัฐนั้น นำไปใช
จายหรือหักไวเพื่อการใด ๆ
17

64. เงินงบประมาณรายจายที่สวนราชการเบิกจากคลังไปแลว แตไมไดจายหรือจายไมหมด หรือจายไปแลวแต


ถูกเรียกคืน และไดนำสงคลังภายหลังสิ้นปงบประมาณ หรือภายหลังระยะเวลาเบิกเงินที่กันไวเบิกเหลื่ อป
หมายถึงขอใด
ก. เงินนอกงบประมาณ
ข. เงินเหลือจายปเกาสงคืน
ค. เงินเบิกเกินสงคืน
ง. เงินจากการหักรายรับจายขาดและการถอนคืนเงินรายรับ
(ตอบขอ ข.) ตามระเบียบ กค. วาดวยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจายเงิน การเก็บรักษาเงิน และ
การนำเงินสงคลัง พ.ศ.2562 ขอ 4 “เงินเหลือจายปเกาสงคืน” หมายความวา เงินงบประมาณรายจายที่สวน
ราชการเบิกจากคลังไปแลว แตไมไดจายหรือจายไมหมด หรือจายไปแลวแตถูกเรียกคืน และไดนำสงคลัง
ภายหลังสิ้นปงบประมาณหรือภายหลังระยะเวลาเบิกเงินที่กันไวเบิกเหลื่อมป

65. การเบิกเงินของสวนราชการ จะเบิกจายไดก็ตอเมื่อ


ก. หนี้ถึงกำหนดชำระ หรือใกลจะถึงกำหนดชำระเบิกจายเงินตอนไหนก็ได
ข. เมื่อมีคาใชจายที่เกิดขึ้น เบิกจายไดตลอดทั้งปงบประมาณ
ค. หนวยงานยอยสงคำขอเบิกไปยังกรมบัญชีกลางโดยตรง
ง. หนวยงานผูเบิกจะจายเงินหรือกอหนี้ผูกพันไดแตเฉพาะที่กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ คำสั่ง กำหนดไว
หรือมติ ครม.ใหจายไดหรือตามที่ไดรับอนุญาตจากกระทรวงการคลังและมีเงินงบประมาณรองรับ
(ตอบขอ ง.)

66. หลักฐานการจาย ตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจายเงิน การ


เก็บรักษาเงิน และการนำเงินสงคลัง พ.ศ.2562
ก. หลักฐานที่แสดงวาไดมีการจายเงินใหแกผูรับหรือเจาหนี้ตามขอผูกพันโดยถูกตองแลว
ข. เงินที่สวนราชการจายใหแกบุคคลใดบุคคลหนึ่งยืมเพื่อเปนคาใชจายในการเดินทางไปราชการ
ค. หลักฐานรายงานการเดินทางไปราชการ คำขออนุมัติเดินทางไปราชการ
ง. หลักฐานคำขอรับเงินผานธนาคาร หรือหลักฐานการโอนเงินผานธนาคาร
(ตอบขอ ก.)

65. สวนราชการจะใชจายหรือกอหนี้ผูกพันก็ตอเมื่อ
ก. หนีส้ ินถึงกำหนดชำระ หรือใกลจะถึงกำหนดชำระเบิกจายเงินตอนไหนก็ได
ข. เมื่อมีคาใชจายที่เกิดขึ้น เบิกจายไดตลอดทั้งปงบประมาณ
ค. หนวยงานยอยสงคำขอเบิกไปยังกรมบัญชีกลางโดยตรง
ง. หนวยงานผูเบิกจะจายเงินหรือกอหนี้ผูกพันไดแตเฉพาะที่กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ คำสั่ง กำหนดไว
หรือมติ ครม. ใหจายไดหรือตามที่ไดรับอนุญาตจากระทรวงการคลังและมีเงินงบประมาณรองรับ
(ตอบขอ ง. (ตามระเบียบ กค.วาดวยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจายเงิน การเก็บรักษาเงิน และ
การนำเงินสงคลัง พ.ศ.2562 ขอ 18 หนวยงานผูเบิกจะจายเงินหรือกอหนี้ผูกพันไดแตเฉพาะที่กฎหมาย
ระเบียบ ขอบังคับ คำสั่ง กำหนดไวหรือมติ ครม. อนุญาตใหจายได หรือตามที่ไดรับอนุญาตจาก กค.
18

66. ขอใดถือเปนหลักฐานการจาย
ก. ใบสำคัญรับเงินซึ่งผูรับเงินเปนผูออกให ใบเสร็จรับเงิน
ข. เงินที่สวนราชการจายใหแกบุคคลใดบุคคลหนึ่งยืมเพื่อเปนคาใชจายในการเดินทางไปราชการ
ค. หลักฐานรายงานการเดินทางไปราชราชการ คำขออนุมัติเดินทางไปราชการ
ง. หลักฐานคำขอรับเงินผานธนาคาร
(ตอบขอ ก. (ตามระเบียบ กค. วาดวยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจายเงิน การเก็บรักษาเงิน
และการนำเงินสงคลัง พ.ศ.2562 ขอ 44 การจายเงินของสวนราชการ ใหใชใบเสร็จรับเงินหรือใบสำคัญรับ
เงิน ซึ่งผูรับเงินเปนผูออกให หรือรายงานการจายเงินจากระบบอิเล็กทรอนิกส (e-Payment หรือใบรับรอง
การจายเงิน หรือเอกสารอื่นใดที่กระทรวงการคลังกำหนดเปนหลักฐานการจาย

67. การยืมเงินราชการ เพื่อเปนคาใชจายในการเดินทางไปราชการ ตองสงใบสำคัญอยางไร


ก. ผูยืมสงเอกสารใบสำคัญชดใชเงินยืมราชการ ภายใน 30 วันนับแตเดินทางกลับมาถึง
ข. ผูยืมสงเอกสารใบสำคัญชดใชเงินยืมราชการ ภายใน 15 วันนับแตไดรับเงินยืม
ค. ผูยืมรีบดำเนินการสงใบสำคัญชดใชเงินยืมราชการ ภายใน 15 วัน นับแตเดินทางกลับมาถึง
ง. ผูยืมทำเอกสารใบสำคัญเรียบรอยแลวจึงสงชดใช ไมตองรีบดำเนินการ
(ตอบขอ ค.) (ตามระเบียบ กค.วาดวยการเบิกเงินจากคลัง การับเงิน การจายเงิน การเก็บรักษาเงิน และ
การนำเงินสงคลัง พ.ศ.2562 ขอ 65 (2 ดังนี้ ขอ 65 ใหผูยืมสงหลักฐานการจายและเงินเหลือจายที่ยืมไป
(ถามี ภายในกำหนดระยะเวลาดังนี้ (2 กรณีเดินทางไปราชการอื่น รวมทั้งการเดินทางไปราชการต างประเทศ
ชั่วคราว ใหสงแกสวนราชการผูใหยืมภายในสิบหาวันนับแตวันกลับมาถึง

68. ขอใดตอไปนี้เปนหลักการและนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับคาใชจาย ตามเกณฑการรับรูคาใชจายตาม


มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ (ฉบับที่ 2)
ก. ไมสามารถวัดมูลคาของคาใชจายไดอยางมีเหตุผลนาเชื่อถือ
ข. มีความเปนไปไดคอนขางแนในการเกิดขึ้นของคาใชจายและสามารถวัดมูลคาของคาใชจายไดอยางมี
เหตุผลนาเชื่อถือ
ค. ไมมีความแนนอนในการเกิดขึ้นของคาใชจาย
ง. สามารถกำหนดอัตรารอยละของคาใชจายไดอยางมีเหตุและผล
(ตอบขอ ข.) (มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2564 หนา 23)

69. ขอใดไมจัดอยูในประเภทของรายไดตามมาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ (ฉบับที่ 2)


พ.ศ.2564
ก. รายไดรอการรับรู
ข. รายไดจากเงินงบประมาณ
ค. รายไดแผนดิน
ง. รายไดจากเงินกูรัฐบาล
(ตอบขอ ก.) (มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2564 หนา 21)
19

70. คาใชจายคางจาย จัดอยูในบัญชีหมวดใด


ก. หมวด 1 สินทรัพย
ข. หมวด 2 หนี้สิน
ค. หมวด 4 รายได
ง. หมวด 5 คาใชจาย
(ตอบขอ ข.) (มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2564 หนา 16)

71. ขอใดคือ วัตถุประสงคของหลักการและนโยบายการบัญชีภาครัฐ ตามมาตรฐานการบัญชีภาครัฐ และ


นโยบายการบัญชีภาครัฐ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2564
ก. เพื่อใหหนวยงานของรัฐใชเป นแนวทางในการกำหนดระบบบั ญชี และจัดทำรายงานการเงิน เพื่ อ
วัตถุประสงคทั่ว ไปตามเกณฑ คงค างไดอยางถูกตองเหมาะสมและเป นไปในกรอบมาตรฐานเดียวกั น เพื่ อ
ประโยชนในการจัดทำรายงานการเงินรวมภาครัฐ
ข. เปนแนวทางสำหรับผูตรวจสอบบัญชีในการตรวจสอบรายงานการเงินของหนวยงานของรัฐเพื่อแสดง
ความคิ ด เห็ น ว า ได จ ั ด ทำขึ ้ น ภายใต ก รอบมาตรฐานการบั ญ ชี ภ าครั ฐ และนโยบายการบั ญ ชี ภ าครั ฐ ที่
กระทรวงการคลังกำหนด
ค. เพื่อชวยใหผูใชรายงานการเงินสามารถเขาใจความหมายของขอมูลที่แสดงในรายงานการเงินซึ่งจัดทำ
ขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐที่กระทรวงการคลังกำหนดและสามารถนำ
รายงานการเงินมาวิเคราะหเปรียบเทียบกันได
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบขอ ง.) (มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2564 หนา 4)

72. ขอใดหมายถึง สวนทุน/สินทรัพยสุทธิ


ก. มูลคาของสินทรัพยทั้งสิ้นของหนวยงาน
ข. มูลคาสวนไดเสียคงเหลือในสินทรัพยของหนวยงานหลังจากหักหนี้สิน
ค. มูลคาสวนไดเสียคงเหลือในสินทรัพยของหนวยงานหลังจากหักสวนทุน
ง. มูลคาของสินทรัพยทั้งสิ้นของหนวยงานหลังจากหักสวนทุน
(ตอบขอ ข.) (มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2564 หนา 6)

73. รายการที่เปนเงินตราตางประเทศบันทึกรายการครั้งแรกดวยอัตราใด
ก. อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ
ข. อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ไดมา
ค. อัตราแลกเปลี่ยน ณ ขณะที่กำหนดมูลคายุติธรรม
ง. อัตราแลกเปลี่ยน ณ มูลคายุติธรรม
(ตอบขอ ก.) (มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2564 หนา 9)

74. ขอใดไมใชสินทรัพย
ก. เงินทดรองราชการ
ข. เงินฝากคลัง
20

ค. รายไดแผนดินรอนำสงคลัง
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบขอ ค.) (มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2564 หนา 11)

75. รายไดคางรับ จัดอยูในบัญชีหมวดใด


ก. หมวด 1 สินทรัพย
ข. หมวด 2 หนี้สิน
ค. หมวด 4 รายได
ง. หมวด 5 คาใชจาย
(ตอบขอ ก.) (มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2564 หนา 11)

76. การตัดจำหนายสินทรัพยรายตัวในระบบ GFMIS มีกรณีใดบาง


ก. สูญหาย
ข. ชำรุด
ค. เสื่อมสภาพ
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบขอ ง.) (อางอิง คูมือการบัญชีภาครัฐ เรื่อง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ (หนา 3

77. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับครุภัณฑมูลคาต่ำกวาเกณฑ
ก. อายุการใชงานมากกวา 1 ป
ข. ครุภัณฑที่ไดมาในปงบประมาณ พ.ศ.2563 มูลคาไมถึง 10,000 บาท
ค. รับรูเปนบัญชีคาใชจาย ชื่อบัญชี “คาครุภัณฑมูลคาต่ำกวาเกณฑ”
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบขอ ง.) (อางอิง คูมือการบัญชีภาครัฐ เรื่อง ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ (หนา 3

78. ตามคูมือการบัญชีภาครัฐ เรื่อง ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ การบันทึกรายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณ


ที่เกิดขึ้นเริ่มแรกเพื่อใหไดมาซึ่งสินทรัพย มีกี่กรณี อะไรบาง
ก. กรณีเดียว จากการจัดซื้อจัดจาง
ข. 2 กรณี จากการจัดซื้อจัดจางและการรับบริจาค
ค. 3 กรณี จากการจัดซื้อจัดจาง การรับบริจาค และการแลกเปลี่ยน
ง. ไมมีขอใดทุกขอ
(ตอบขอ ค.) (อางอิง คูมือการบัญชีภาครัฐ เรื่อง ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ (หนา 22

79. สำนักงานตำรวจแหงชาติ ใชวิธีการคำนวณคาเสื่อมราคาสินทรัพยถาวร ดวยวิธีใด


ก. วิธีเสนตรง
ข. วิธีถัวเฉลี่ย
ค. วิธียอดลดลงทวีคูณ
ง. วิธีจำนวนผลผลิต
21

(ตอบขอ ก.) (อางอิง คูมือการบัญชีภาครัฐ เรื่อง ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ (บทที่ 5

80. ขอใดดำเนินการไดถูกตองเกี่ยวกับสินทรัพยรับบริจาค
ก. ปรับปรุงลดยอดบัญชีรายไดรอการรับรู เขาบัญชีรายไดจากการรับบริจาค ทุกสิ้นเดือน
ข. ตามมูลคาคาเสื่อมราคาประจำเดือนของสินทรัพยนั้น
ค. เมื่อสินทรัพยรับบริจาคหมดอายุการใชงานมีราคาซากคงเหลือไว 1 บาท แตบัญชีรายไดรอรับรู
ปรับปรุงเปนศูนยบาท
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบขอ ง.) (คูมือการปฏิบัติงานระบบสินทรัพยถาวรในระบบ GFMIS ของสำนักงานตำรวจแหงชาติ
(กองบัญชี มีนาคม 2553 (หนา 5

81. การรับโอนสินทรัพยระหวางกรม หมายถึง


ก. การรับโอนสินทรัพยรายตัวที่มีอยูในระบบ GFMIS แลวระหวางหนวยเบิกจาย ภายในกรมเดียวกัน
ข. การรับโอนสินทรัพยรายตัวที่มีอยูในระบบ GFMIS แลวระหวางสวนราชการ กับสวนราชการ
ค. การรับโอนสินทรัพยรายตัวที่มีอยูในระบบ GFMIS แลวระหวางศูนยตนทุนภายในหนวยเบิกจาย
เดียวกัน
ง. การรับบริจาคสินทรัพยจากสวนราชการอื่น
(ตอบขอ ข.) (อางอิง คูมือการปฏิบัติงานระบบสินทรัพยถาวรในระบบ GFMIS ของสำนักงานตำรวจ
แหงชาติ (หนา 6

82. การโอนสินทรัพยระหวางกรม หนวยงานทีท่ ำหนาที่บันทึกโอนสินทรัพยในระบบ GFMIS คือหนวยงานใด


ก. หนวยงานผูโอน
ข. หนวยงานผูรับโอน
ค. กรมบัญชีกลาง
ง. กรมธนารักษ
(ตอบขอ ค.) (อางอิง คูมือการปฏิบัติงานระบบสินทรัพยถาวรในระบบ GFMIS ของสำนักงานตำรวจ
แหงชาติ (กองบัญชี มีนาคม 2553 (หนา 6

83. สำนักงานตำรวจแหงชาติ กำหนดอายุการใชงานครุภัณฑยานพาหนะและขนสง ใหมีอายุการใชงานกี่ป


ก. 3 ป
ข. 4 ป
ค. 5 ป
ง. 5 ป (สำหรับหนวยปฏิบัตกิ าร และ 8 ป (สำหรับหนวยธุรการ
(ตอบขอ ง.) (คูมือการปฏิบัติงานระบบสินทรัพยถาวรในระบบ GFMIS ของสำนักงานตำรวจแหงชาติ
(กองบัญชี มีนาคม 2553 ภาคผนวก (หนา 145
22

84. ตนทุนในขอใดถือเปนสวนประกอบของราคาทุน ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ


ก. ตนทุนการเตรียมสถานที่
ข. ตนทุนการขนสง เริ่มแรกและการเก็บรักษา
ค. ตนทุนการติดตั้ง และการประกอบ
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบขอ ง.) (อางอิง มาตรฐานการบัญชีภาครัฐ ฉบับที่ 17 เรื่อง ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ (หนา 9/32
ขอ 24

85. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับระบบการประเมินผลคุณภาพการบัญชีภาครัฐของกรมบัญชีกลาง
ก. ประเมินดานบัญชีการเงิน และดานบัญชีบริหาร
ข. ประเมินดานเบิกจาย และดานพลาธิการ
ค. ประเมินดานความถูกตอง และประเมินดานความโปรงใส
ง. ไมมีขอใดถูกตอง
(ตอบขอ ก.) (อางอิง เกณฑการประเมินผลการปฏิบัติงานดานบัญชีภาครัฐ ประจำปงบประมาณ พ.ศ.
2564 หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0410.3/ว160 ลง 23 มี.ค.64 (หนา 3

86. ตามหลักเกณฑการประเมินผลการปฏิบัติดานบัญชีภาครัฐของกรมบัญชีกลาง จะประเมินสวนราชการ


ระดับใด
ก. ประเมินภาพรวมระดับกรม
ข. ประเมินภาพรวมระดับหนวยเบิกจาย
ค. ประเมินระดับกรม และประเมินระดับหนวยเบิกจาย
ง. ประเมินระดับกรม ระดับหนวยเบิกจาย และระดับศูนยตนทุน
(ตอบขอ ค.) (อางอิง เกณฑการประเมินผลการปฏิบัติงานดานบัญชีภาครัฐ ประจำปงบประมาณ พ.ศ.
2564 หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0410.3/ว160 ลง 23 มี.ค.64 (หนา 4

87. การนำส งรายงานงบทดลองประจำเดือนให สตง. หรือสำนักงานการตรวจเงินแผนดิน สวนภูมิภาค


ทุกเดือน ตองจัดสงใหทันภายในวันที่เทาใด
ก. วันสิ้นเดือน
ข. วันที่ 5 ของเดือนถัดไป
ค. วันที่ 10 ของเดือนถัดไป
ง. วันที่ 15 ของเดือนถัดไป
(ตอบขอ ง.) (อางอิง แนวทางการประเมินผลตามเกณฑการประเมินผลการปฏิบัติงานดานบัญชีของ ตร.
ประจำปงบประมาณ พ.ศ.2564 (หนา 5

88. มีการซื้อวัสดุเปนคาใชจาย และสิ้นปงบประมาณมีการตรวจนับพัสดุปรากฏวามีวัสดุคงเหลือจะต อง


ปรับปรุงบัญชีอยางไร
ก. เดบิต วัสดุคงคลัง เครดิต คาวัสดุ
ข. เดบิต คาวัสดุ เครดิต วัสดุคงคลัง
23

ค. เดบิต คาวัสดุ เครดิต รายไดรับลวงหนา


ง. เดบิต วัสดุคงคลัง เครดิต คาใชจายรับลวงหนา
(ตอบขอ ก.) (หนังสือ ตร. ที่ 0010.32/2743 ลง 16 ก.ย.64 เรื่องการปรับปรุงรายการทางบัญชี การปด
บัญชี และการจัดทำรายงานการเงิน ประจำปงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ตร. แนวทางปฏิบัติใ นการ
ปรับปรุงรายการบัญชี การปดบัญชี และการจัดทำรายงานการเงิน ขอ 2.4

89. บัญชีคาเบี้ยประกันภัยรถยนตจายลวงหนาอยูในบัญชีหมวดใด
ก.สินทรัพย
ข.หนี้สิน
ค.ทุน
ง.รายได
(ตอบขอ ก.) (หนังสือ ตร. ที่ 0010.322/ว14 ลง 18 พ.ค.60 เรื่องผังบัญชีของสำนักงานตำรวจ
แหงชาติ หนาที่ 5 รหัสบัญชี 1106010103 ชื่อบัญชี คาใชจายจายลวงหนา

90. คาใชจายคางจาย คืออะไร


ก. จำนวนเงินคาใชจายที่เกิดขึ้นแลวในรอบระยะเวลาบัญชีปจจุบันแตยังไมไดมีการจายเงินการจายเงินจะ
กระทำในรอบระยะเวลาบัญชีถัดไป
ข. จำนวนเงินที่หนวยงานไดรับลวงหนาเปนคาสินทรัพย หรือบริการที่หนวยงาน ยังไมไดสงมอบสินทรัพย
หรือบริการใหในขณะนั้นแตจะสงมอบใหในอนาคต
ค. จำนวนเงินที่หนวยงานไดรับ หรือจัดเก็บแทนรัฐบาล และมีภาระผูกพัน ที่จะตองนำสงคลังเป น
รายไดของแผนดิน
ง. ไมมีขอใดถูก
(ตอบขอ ก.) (ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่องมาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ (ฉบับ
ที่2 พ.ศ.2564 หนา 16

91. รายไดแผนดินรอนำสง อยูในบัญชีหมวดใด


ก. สินทรัพย
ข. หนี้สิน
ค. ทุน
ง. คาใชจาย
(ตอบขอ ข.) (หนังสือ ตร. ที่ 0010.322/ว 14 ลง 18 พ.ค.60 เรื่องผังบัญชีของสำนักงานตำรวจ
แหงชาติ หนาที่16 รหัสบัญชี 2104010101 ชื่อบัญชีรายไดแผนดินรอนำสงคลัง

92. ขอใดไมใชหมวดบัญชีรายได
ก. รายไดรอรับรู
ข. รายไดเงินนอกงบประมาณ
ค. รายไดคาปรับอื่น
ง. รายไดไมใชภาษีอื่น
24

(ตอบขอ ก.) (หนังสือ ตร. ที่ 0010.322/ว 14 ลง 18 พ.ค.60 เรื่องผังบัญชีของสำนักงานตำรวจ


แหงชาติ หนาที่19 รหัสบัญชี 2213010101 ชื่อบัญชีรายไดรอการรับรู

93. การนำสงเงินเบิกเกินสงคืนประเภทเงินนอกงบประมาณฝากคลัง ตองเลือกประเภทเงินใดใน pay in slip


ของสวนราชการ
ก. รายไดแผนดิน
ข. เงินฝากคลัง
ค. เบิกเกินสงคืน
ง. เงินสด
(ตอบขอ ข.) (หนังสือ ที่ กค 0409.3/ว 358 ลง 4 ต.ค.54 เรื่องคูมือการปฏิบัติงานกระบวนการ
เบิกเกินสงคืนผาน GFMIS Web Online หนา 3-33

94. กรณีไดรับดอกเบี้ยที่เกิดจากการนำเงินทดรองราชการฝากธนาคาร สวนราชการจะตองนำสงคลังเปนเงิน


ประเภทใด
ก. รายไดแผนดิน
ข. เงินฝากคลัง
ค. เงินทุนหมุนเวียน
ง. ถูกทุกขอ
(ตอบขอ ก.) (ระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวยเงินทดรองราชการ พ.ศ.2562 หมวด 3 การเก็บรักษา
เงิน ทดรองราชการ ขอ 12

95. เงินที่เบิกจากคลัง ถาไมไดจายหรือจายไมหมด สวนราชการผูเบิกจะตองนำสงคืนคลังภายในกี่วันทำการ


นับแตวันรับเงินจากคลัง
ก. 15 วัน
ข. 30 วัน
ค. 45 วัน
ง. 60 วัน
(ตอบขอ ก.) (ระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจายเงิน การเก็บ
รักษาเงิน และการนำสงเงิน พ.ศ.2562 หนา 26 หมวด 8 การนำเงินสงคลังและฝากคลัง สวนที่ 1 การนำ
เงินสงคลังและฝากคลังของสวนราชการ ขอ 99

96. รายการใดตอไปนี้ไมตองปรับปรุงบัญชีตามเกณฑคงคาง ณ วันสิ้นปงบประมาณ


ก. เงินรับฝากอื่น
ข. รายไดคางรับ
ค. รายไดแผนดินรอนำสงคลัง
ง. คาใชจายจายลวงหนา
25

(ตอบขอ ก.) (หนังสือ ตร. ที่ 0010.32/2743 ลง 16 ก.ย.64 เรื่องการปรับปรุงรายการทางบัญชี การปด


บัญชี และการจัดทำรายงานการเงิน ประจำปงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ ตร. แนวทางปฏิบัติในการปรับปรุงรายการ
บัญชี การปดบัญชี และการจัดทำรายงานการเงิน หนา 1

97. ขอใดตอไปนี้ไมถูกตองเกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของกับงบประมาณ
ก. ระเบียบ ก.ต.ช. วาดวยหลักเกณฑการปฏิบัติราชการของผูบัญชาการในฐานะอธิบดีฯ
ข. พ.ร.บ.ตำรวจแหงชาติ พ.ศ.2547
ค. กฎ ก.ตร. วาดวยการอุทธรณและการพิจารณาอุทธรณ พ.ศ.2547
ง. พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561
(ตอบขอ ค. (กฎ ก.ตร. วาดวยการอุทธรณและการพิจารณาอุทธรณ พ.ศ.2547 เปนกฎวาดวยการ
อุทธรณ และการพิจารณาอุทธรณคำสั่งลงโทษทางวินัย และคำสั่งใหออกจากราชการ

98. กรณีหนวยรับงบประมาณตองการโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณระหวางงบรายจาย/ผลผลิต/โครงการ
ภายใตแผนงานเดียวกัน ทำไดภายในอำนาจของใคร
ก. คณะรัฐมนตรี
ข. สำนักงบประมาณ
ค. หัวหนาสวนราชการ
ง. หัวหนาหนวยงาน
(ตอบขอ ค. (หลักเกณฑ วาดวยการใชงบประมาณรายจาย การโอนเงินจัดสรรหรือการเปลี่ยนแปลงเงิน
จัดสรร พ.ศ.2562 ขอ 8

99. ขอใดกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับการขอกันเงินไวเบิกเหลื่อมปและการขยายเวลาขอเบิกเงินของหนวยงาน
ก. การขอกั น เงิ น งบประมาณไว เ บิ ก เหลื ่ อ มป จะสร า งเอกสารสำรองเงิน เพื ่ อ จองเงิ น งบประมาณ
ปปจจุบันที่ไมสามารถเบิกจายไดทันภายในวันสิ้นปงบประมาณ โดยตรวจสอบเงินงบประมาณคงเหลือจาก
รายงานแสดงยอดงบประมาณตามหนวยรับงบประมาณ (ZFMA55 แลวสรางเอกสารสำรองเงิน เพื่อขอกัน
เงินงบประมาณปปจจุบัน รวมถึงการกอหนี้ผูกพันที่เขาเงื่อนไขไมตองสราง ใบสั่งซื้อสั่งจาง (PO) ในระบบ
GFMIS และจำเปนตองขอขยายเวลาเบิกจายเงินในปงบประมาณถัดไป ตองดำเนินการใหเสร็จสิ้นภายในวันทำ
การสุดทายของเดือน ก.ย.
ข. กรณีหนวยไดขอกันเงินงบประมาณไวเบิกเหลื่อมป สามารถเบิกจายงบประมาณไดถึงวันทำการสุดทาย
ของเดือน มี.ค. หากไมสามารถเบิกจายใหแลวเสร็จ แตยังมีความจำเปนตองใชจายงบประมาณตอไป ใหขอ
ขยายเวลาการเบิกจายงบประมาณไดถึงวันทำการสุดทายของเดือน ก.ย.
ค. กรณีหนวยไดขอกันเงินงบประมาณไวเบิกเหลื่อมป ตอมาไดยกเลิกสัญญาแตไมสามารถกอหนี้ผูกพัน
และทำสัญญาใหมไดทันภายในวันทำการสุดทายของเดือน มี.ค. จะถือวา ณ วันสิ้นเดือน มี.ค. รายการ
นั้นไมมีหนี้ผูกพัน ซึ่งสงผลใหเงินงบประมาณพับไป หรือกรณีหนวยยกเลิกสัญญาและสามารถกอหนี้ผูกพันได
ทันภายในวันทำการสุดทายของเดือน มี.ค. หนวยจะตองเรงรัดการเบิกจายเงินใหเสร็จสิ้นภายในวันทำการ
สุดทายของเดือน ก.ย.
ง. กอนสิ้นปงบประมาณ หากหนวยไมสามารถเบิกจายเงินงบประมาณไดแลวเสร็จภายในระยะเวลา
ที่กำหนด แตมีความจำเปนตองใชจายงบประมาณ และไมไดกอหนี้ผูกพันไว หนวยสามารถขอกันเงินได
26

(ตอบขอ ง. (ตาม พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 มาตรา 43 กรณีที่หนวยไมสามารถ


เบิกเงินจากคลังไดแลวเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด ใหขอขยายเวลาเบิกเงินจากคลังได เฉพาะในกรณีที่
หนวยไดกอหนี้ผูกพันไวกอนสิ้นปงบประมาณ กรณีที่หนวยไมไดกอหนี้ผูกพันไวกอนสิ้นปงบประมาณ ไม
สามารถขอกันเงินงบประมาณไวเบิกเหลื่อมปได

100. ใครทำหนาที่เปนเลขานุการคณะกรรมการกองทุนสวัสดิการ ตร.


ก. ผูบังคับการกองสวัสดิการ
ข. ผูบังคับการกองการเงิน
ค. เลขานุการตำรวจแหงชาติ
ง. ผูบังคับการกองกฎหมาย
(ตอบขอ ก.) (ตามระเบียบสวัสดิการภายในสำนักงานตำรวจแหงชาติ พ.ศ.2548 ขอ 10

You might also like