Law Firm

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 26

การเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่วิชาชีพกฎหมาย

คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง
19 มิถุนายน 2566
1 จบนิติศาสตร์แล้วทาอะไรต่อ?
จบนิติศาสตร์แล้วทาอะไรต่อ?

• ศึกษาต่อปริญญาโท / ปริญญาเอก
• สอบเนติบัณฑิต
• สอบใบอนุญาตว่าความ
• ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม
• คอร์สเรียนภาษา
• คอร์สอบรมต่าง ๆ
• ทางาน
3
Resume / CV
• ประวัติส่วนตัว
• ประวัติการศึกษา (เรียงลาดับจากสูงสุด)
• Career Objective
• ประวัติการทางาน / กิจกรรม (Extracurricular)
• เกียรติประวัติ / รางวัลที่เคยได้รับ
• ความสามารถพิเศษ (Skill)
• ทักษะภาษาและอื่น ๆ (optional)
4
ทางเลือกในวิชาชีพนักกฎหมาย
นิติกรในหน่วยงาน
ผู้พิพากษา อัยการ
ราชการ

เจ้าหน้าที่ฝ่าย
ทนายความ อาจารย์มหาวิทยาลัย กฎหมายใน
บริษัทเอกชน

เจ้าพนักงานฝ่าย ตารวจ
อื่น ๆ
ปกครอง พนักงานสอบสวน
2 วิชาชีพทนายความ
วิชาชีพทนายความ
ทนายความสานักงานในประเทศ (Local Firm) ทนายความในระบบ International Law Firm
• เป็นพนักงานประจาของสานักงาน / หรือมีสานักงานเป็นต้น • เป็นพนักงานประจาของสานักงาน
สังกัด • มีผู้ว่าจ้างคือสานักงานเท่านั้น
• มีผู้ว่าจ้าง คือ สานักงาน และ/หรือลูกความ • การเรียกค่าทนายความเป็นรายชั่วโมง โดยสานักงาน
• ติดต่อลูกความโดยตรงหรือในนามสานักงาน • ทาคดีให้ลูกความของสานักงานเท่านั้น
• ค่าทนายความอาจเรียกโดยสานักงานหรือตัวทนายความเอง • งานที่ให้คาปรึกษาทางกฎหมายส่วนใหญ่ที่มีความซับซ้อน
• รับงานให้คาปรึกษากฎหมายหรืองานคดีที่มีขนาดปานกลาง งานคดีมีขนาดใหญ่ และเกี่ยวข้องกับกฎหมายในหลาย
ถึงขนาดใหญ่ ประเทศ
• มี Career Path ที่สามารถก้าวไปถึงการเป็นทนายความ
หุ้นส่วนได้
7
Law Firm คืออะไร?
Law Firm คือ สานักงานกฎหมายที่ให้
คาปรึกษาหรือให้บริการทางกฎหมายแก่ลูกค้า
หรือลูกความในงานด้านกฎหมายต่าง ๆ ทั้งใน
ประเทศและต่างประเทศ เช่น คดีความ องค์กร
ธุ ร กิ จ อาญา การเงิ น การธนาคาร ตลาดทุ น
ภาษี อ ากร ศุ ล กากร ประกั น ภั ย แรงงาน
ล้มละลาย ฟื้นฟูกิจการ การค้าระหว่างประเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ และทรัพย์สินทางปัญญา
หรืองานจดทะเบียนต่าง ๆ
8
Legal practice areas
Investigations,
Antitrust & Banking & Finance Capital Markets Compliance &
Competition Ethics
Dispute Employment & Environment & Family Business
Resolution Compensation Climate Change Governance

Information Intellectual
Fintech Insurance Property
Technology

International Mergers & Private Equity &


Commercial Projects
Acquisitions Investment Funds
& Trade
Real Estate, Hotel, Restructuring Tax &
Resort & Property Sustainability Transfer Pricing
& Insolvency
Development

9
ประเภทของงานที่ทาใน Law Firm

งานที่ปรึกษากฎหมายและงานด้านธุรกรรม
Corporate & Transactional Works
• ตลาดทุนและการควบรวมกิจการ
• การเงินการธนาคาร
• องค์กรธุรกิจ
• อสังหาริมทรัพย์และที่ดิน
• ทรัพย์สินทางปัญญาและเทคโนโลยีสารสนเทศ
• การค้าระหว่างประเทศ
• แรงงาน
• ภาษีอากร ศุลกากร
• ฯลฯ
10
ประเภทของงานที่ทาใน Law Firm
งานด้านคดีความและอนุญาโตตุลาการ
Dispute Resolution Works
• คดีแพ่งและพาณิชย์
• คดีอาญา
• คดีปกครองและรัฐธรรมนูญ
• อนุญาโตตุลาการ
• คดีล้มละลายและฟื้นฟูกิจการ
• คดีแรงงาน
• คดีทรัพย์สินทางปัญญา
• คดีภาษีอากร ศุลกากร
• ฯลฯ
11
ชีวิตการทางานใน Law Firm
• Flexible Working hours
• ต้องมีความรับผิดชอบสูง เนื่องจากเนื้องานที่ได้รับ
มอบหมายมีส่วนได้เสียสูง
• ต้องวางแผนการทางาน แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้
• คิ ด นอกกรอบไม่ ยึ ด ติ ด อยู่ กั บ เพี ย งตั ว บทของ
กฎหมาย
• มี ค วามกระตื อ รื อ ร้ น และพั ฒ นาตั ว เองอย่ า ง
สม่าเสมอ

12
Career Path ของทนายความในระบบ International Law Firm

รับ ผิด ชอบงานบริ หาร ก ากั บดู แลนโยบาย หาลู ก ความให้ ค วามรู้แ ละฝึก ฝนทนายความ ในที่นี้ อาจแบ่ งเป็ น
Partner Principal (Senior Partner) และ Local Partner
รับผิดชอบติดต่อประสานงานลูกความ วิเคราะห์ประเด็นข้อกฎหมายและธุรกิจ จัดทาและตรวจเอกสาร
Senior Associate ทางกฎหมาย ให้ความรู้และฝึกฝนงานทนายความรุ่นน้อง
15-20 ปี
จัดทาความเห็นทางกฎหมาย เอกสาร ช่วยวางแผน เตรียมคดี ว่าความในศาล วิเคราะห์
Mid-level Associate ประเด็นกฎหมาย ติดต่อประสานงานลูกความ ให้ความรู้และฝึกฝนงานทนายความรุ่นน้อง

ค้นคว้าข้อกฎหมาย คาพิพากษาของศาล วิทยานิพนธ์ บทความต่าง ๆ ช่วย


Junior Associate เตรียมคดี และขึ้นร่างเอกสารต่าง ๆ จดบันทึกการประชุม

เสมียนทนาย (Legal Assistant) สนับสนุนการทางานของทนายความ ช่วย


จัดเตรียมเอกสาร ร่างเอกสารต่าง ๆ ที่ไม่ซับซ้อน ไปยื่นหรือรับเอกสารจาก ที่ปรึกษา เช่น อดีตผู้พิพากษา อัยการ หรืออาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ
หน่วยงานต่าง ๆ
13
สานักงานกฎหมายในประเทศที่ใช้ระบบ สานักงานกฎหมายจากต่างประเทศ
International Law Firm ที่ดาเนินกิจการในประเทศไทย

14
Law firm offices in Thailand
15
สิ่งที่สานักงานกฎหมายใช้ในการพิจารณาหาผู้ร่วมงาน

• ความรู้ทางกฎหมาย
• ความสามารถทางภาษา
• กิจกรรม / ประสบการณ์
• ทัศนคติ
• บุคลิกภาพ
• ความสามารถอื่น ๆ
16
3 เทคนิคในการเป็นทนายความที่ปรึกษาทางธุรกิจ
เทคนิคในการเป็นทนายความที่ปรึกษาทางธุรกิจ
เทคนิคด้านกฎหมาย

• ต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญเฉพาะทางสาขาใดสาขาหนึ่ง

• ต้องมั่นใจ ให้คาแนะนาได้แม่นยา และนาไปใช้ปฏิบัติได้จริง ไม่ใช่แต่เพียงตอบกฎหมายเท่านั้น

• มีความคิดสร้างสรรค์ในการปรับใช้กฎหมายให้เข้ากับข้อเท็จจริง – ปัญหาของลูกความได้ คิดนอกกรอบไม่ยึด


ติดแต่เพียงตัวบทกฎหมาย

• มีคาพิพากษาศาลหรือคาวินิจฉัยของหน่วยงานที่มีอานาจ สนับสนุนการให้ความเห็นทางกฎหมาย
18
18
เทคนิคในการเป็นทนายความที่ปรึกษาทางธุรกิจ
เทคนิคด้านอื่น ๆ
• มีความรู้ความเข้าใจในธุรกิจของลูกความ และวงการอุตสาหกรรมนั้น ๆ – ถามรายละเอียด
เพิ่มเติมกรณีที่ธุรกิจและวงการอุตสาหกรรมนั้น ๆ มีความซับซ้อน
• ลักษณะทั่วไปของกิจการ
• Technical Term ต่าง ๆ
• เข้าใจความต้องการของลูกความว่าต้องการสิ่งใด หรือต้องการอะไรจากการขอคาปรึกษา - อ่าน
และศึกษาข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องก่อนพบลูกความ
• ต้อง Responsive และกระตือรือร้นในการให้ความช่วยเหลือลูกความ
• มีบุคลิกภาพที่ดี แต่งตัวเหมาะสมกับสถานการณ์ เช่น แต่งตัวแบบ Suit & Tie, Casual เป็นต้น
• ชื่ออีเมล์
• รูปโปรไฟล์ / ไอดีไลน์ 19
19
เทคนิคในการเป็นทนายความที่ปรึกษาทางธุรกิจ
เทคนิคด้านอื่น ๆ
• ต้องสร้างความเชื่อมั่นให้ลูกความ ว่าสามารถช่วยเหลือ – แก้ปัญหา
ของลูกความได้ (สร้าง Trust)

• ในกรณีที่ต้องติดต่อกับหน่วยงานหรือฝ่ายอื่น ๆ นอกจากลูกความ
ต้องไม่ทาเหมือนตั้งตนเป็นฝั่งตรงข้ามกับหน่วยงาน

• ตรงต่อเวลา มีแผนการดาเนินงานที่ชัดเจน

• คาดการณ์สถานการณ์ล่วงหน้า และพิจารณาถึงปัญหาที่อาจเกิดขึ้น
ในอนาคต
20
20
4 มรรยาทในการเป็นทนายความที่ปรึกษาทางธุรกิจ
มรรยาทในการเป็นทนายความที่ปรึกษาทางธุรกิจ
มรรยาทต่อตัวความ
• ทา Conflict Check ก่อนรับเป็นที่ปรึกษา / ทนายความ
• Ethical Conflict – ไม่สามารถทางานให้ได้เนื่องจากเคยเป็นที่ปรึกษากฎหมายให้อีกฝ่ายหนึ่งมาก่อน
• Business Conflict – ไม่สามารถทางานให้ได้เนื่องจากมีความสัมพันธ์อันดีกับอีกฝ่ายหนึ่ง

• ไม่เปิดเผยความลับของลูกความ ไม่ว่าในอดีตหรือปัจจุบัน และไม่ว่าเรื่องนั้นจะเกี่ยวข้องกับข้อพิพาทที่รับเป็นที่


ปรึกษา / ทนายความหรือไม่

• ให้คาแนะนาพยานบนพื้นฐานของข้อเท็จจริงและข้อกฎหมาย

• ไม่ยุยงให้คนเป็นความกัน ไม่แนะนาให้บิดเบือนหรือดัดแปลงข้อเท็จจริง หรือกระทาการใด ๆ ที่ขัดต่อกฎหมาย


22
22
มรรยาทในการเป็นทนายความที่ปรึกษาทางธุรกิจ
มรรยาทต่อตัวความ

• มี Commitment กับงานที่ได้รับมอบหมาย ไม่ทอดทิ้งคดี

• ไม่ยืนยันว่าจะชนะคดี เพื่อให้ลูกความมอบหมายงานให้ทา

• ต้องไม่โอ้อวดว่าตนเองดีกว่าทนายคนอื่นอย่างไร

• รักษาผลประโยชน์ของลูกความ

23
23
มรรยาทในการเป็นทนายความที่ปรึกษาทางธุรกิจ
มรรยาทด้านอื่น ๆ
• ไม่แย่งลูกความของทนายคนอื่น ๆ

• ไม่โอ้อวด ชื่อ คุณวุฒิ ตาแหน่ง ต่าง ๆ ในเชิงชักชวนให้ลูกความจ้างงาน

• ไม่กระทาการใด ๆ ที่เป็นการผิดกฎหมาย

• ไม่ให้คาปรึกษาด้วยอคติ

• ศึกษาวัฒนธรรมทางธุรกิจหรือวัฒนธรรมของลูกความ เช่น การยื่นนามบัตร มารยาทบนโต๊ะอาหาร มารยาท


ในการพบปะ – แยกย้ายกับลูกความ เป็นต้น
24
24
“The future belongs to those who

believe in the beauty of their dream.”


Eleanor Roosevelt,
U.S. first lady
25
Questions?
bakermckenzie.com

Baker & McKenzie Ltd. is a member firm of Baker & McKenzie International, a global law firm with member law firms around the world. In accordance with the common
terminology used in professional service organizations, reference to a "partner" means a person who is a partner, or equivalent, in such a law firm. Similarly, reference to an
"office" means an office of any such law firm. This may qualify as “Attorney Advertising” requiring notice in some jurisdictions. Prior results do not guarantee a similar
outcome.
© 2021 Baker & McKenzie Ltd.

You might also like